SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
ปัจจัยที่มีความ
สัมพันธ์กับความภักดี
ของลูกค้าที่เข้ารับ
บริการร้านสะปาบุรี
ความเป็นมาและความสำาคัญ
ของการศึกษาวิจัย
ธุรกิจสปาไทยมีอัตราการเติบโตอย่างต่อ
เนื่องในทุกๆ ปี โดยเฉลี่ยอยู่ที่ปีละ 5-6% สร้าง
รายได้เฉลี่ยประมาณ 15,000-16,000 ล้าน
บาทต่อปี กลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่ที่ใช้บริการเป็น
นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 80% โดยเฉพาะใน
พื้นที่กรุงเทพฯ เป็นนักท่องเที่ยวชาวสิงคโปร์
ฮ่องกง อเมริกา พื้นที่ภาคเหนือเช่น เชียงใหม่
เป็นนักท่องเที่ยวชาวสแกนดิเนเวีย ยุโรป ส่วน
นักท่องเที่ยวในตลาดอาเซียนทั้ง อินเดีย เกาหลี
จีน ปัจจุบันได้ใช้บริการสปาไทยเพิ่มมากขึ้น
และส่วนที่เหลือ อีก 20% เป็นนักท่องเที่ยวชาว
ไทยซึ่งในเวลานี้ทางอุตสาหกรรมสปาได้
ปี 2553 ขนาดตลาดสปาของไทยมีมูลค่า
8,300 ล้านบาท จากข้อมูลของIntelligent
SPAS อัตราเติบโตเฉลี่ย 15 % ต่อปี แยกเป็น
ตลาดนวดเพื่อสุขภาพ 1,200ล้านบาท ที่เหลือ
เป็นตลาดสปาเพื่อสุขภาพและเสริมความงาม 7,
100 ล้านบาท ศูนย์ธุรกิจอุตสากรรม (BOC),(2
552).
จำานวนผู้ใช้บริการสปา ในปี 2553 มีจำา
นวน 4,614,601 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 34 ขอ
งกำาลังผลิตทั้งหมด โดยมีผู้ใช้ Day Spa หรือ
บริการสปาภายในรอบ 1 วัน (เฉลี่ย 2-4
ชั่วโมง) มากที่สุด ร้อยละ 68.8 หรือ 3.1 ล้าน
ครัว ตามด้วยใช้บริการแบบ Hotel/Resort
Spa หรือ ใช้สปาในโรงแรมหรือ Resort ร้อย
ละ 28.53 หรือ 1.3 ล้านครั้ง และใช้บริการส
ปาแบบ Destination Spa โดยมาเข้าพักและ
ร่วมกิจกรรมภายใต้โปรแกรมเฉพาะตัว เพื่อ
ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม มีจำานวน 9,230 ครั้ง
และผู้ใช้บริการสปาเพื่อการบำาบัดทางการ
แพทย์ หรือ Medical Spa ร้อยละ 2.44 หรือ
ร้านสะปาบุรีจึงเล็งเห็นธุรกิจสปาเพื่อ
สุขภาพ จึงมีการดำาเนินการจัดการในปี 2548
ซึ่งมีความเป็นมาตรฐานในรูปแบบการจัดการ
การให้บริการแก่ลูกค้า โดยมีการฝึกพนักงาน
ด้านบุคลิกภาพ ด้านการปฎิบัติต่อลูกค้า มารยาท
และเทคนิคการนวดสไตล์รูปแบบร้านสะปาบุรี
การตกแต่งร้าน
รูปแบบการให้บริการของทางร้าน สะปาบุรี
จะเน้นรูปแบบสปาแบบแผนไทยมากกว่ารูปแบบ
สปาตะวันตก ที่ทางร้านสะปาบุรีเน้นการนวด
แผนไทยนั้น เพราะ การนวดแผนไทยนั้นจะ
ช่วยรักษาในด้าน อาการไหลเวียนของเลือดลม
ดีขึ้น ช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น ผังผืด
ช่วยกระตุ้นระบบประสาทให้เกิดการตื่นตัว ตอบ
สอนอง ต่อสภาพแวดล้อมดีขึ้น และยังเป็นการ
ป้องกันและบรรเทาอาการเคล็ดขัดยอกกล้าม
เนื้อและข้อต่อต่างๆ เช่น ปวดหลัง ปวดไหล่
ปวดศีรษะ หลังตึง ข้อแพลง โรค อัมพฤตและอื่น
ๆ ทำาให้รู้สึกสดชื่น แจ่มใส ผ่อนคลายจิตใจ
และการนวดในรูปแบบแผนไทยนั้นยังถือได้ว่า
เป็นการนวดแบบภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่ใช้วิธี
ด้วยเหตุนี้ผู้ทำาวิจัยจึงขอความอนุเคราะห์
จากกรรมการและผู้จัดการ บริษัท สะปาบุรีใน
การศึกษาความพึงพอใจและความจงรักภักดีต่อ
ร้านสะปาบุรี ซึ่งร้านเปิดบริการมาแล้ว ยังมิได้
ทำาการศึกษาวิจัยในด้านที่กล่าวมา ผลจากการ
ศึกษาวิจัยในครั้งนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหาร
สะปาบุรี ในการนำาผลการวิจัยไปใช่ในการ
วางแผนกลยุทธ์ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการ
ของลูกค้ามากขึ้น
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของลักษณะ
ประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อความจงรักภักดีของ
ลูกค้าที่มาใช้บริการสะปาบุรี
2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพึง
พอใจด้านส่วนประสมทางการตลาดและความ
จงรักภักดีของลูกค้าที่ใช้บริการสะปาบุรี
ขอบเขตการศึกษาวิจัย
1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ลูกค้าที่ใช้
บริการสะปาบุรีโดยสุ่มจากผู้เข้ารับบริการร้าน
สะปาบุรี
2. กลุ่มตัวอย่างคือ ลูกค้าที่ใช้บริการสะปา
บุรี จำานวน 400 คน โดยแบ่งออกเป็นผู้ตอบ
แบบสอบถามแบบออนไลน์จำานวน 200 คน
และผู้ตอบแบบสอบถามแบบ walk in จำานวน
200 คน
3. ตัวแปรในการวิจัย มี 2 ประเภท
3.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variables)
3.1.1 ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ
ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และ
รายได้
3.1.2 ความพึงพอใจเกี่ยวกับปัจจัยด้าน
ส่วนประสมทางด้านการตลาด
3.2 ตัวแปรตาม (dependent Variables)คือ
ความจงรักภักดีของลูกค้า แบ่งเป็นการใช้
บริการซำ้า การไม่อ่อนไหวต่อราคา ความ
สัมพันธ์ระยะยาว
กรอบความคิดในการวิจัย
สมมติฐานในการวิจัย
1. ลักษณะด้านประชากรศาสตร์ได้แก่ เพศ
อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และราย
ได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกันมีความสัมพันธ์ต่อ
ความจงรักภักดีของลูกค้าแตกต่างกัน
2. ความพึงพอใจในด้านส่วนประสมทางการ
ตลาด ประกอบด้วย การบริการ ราคา สถานที่
ตั้ง การส่งเสริมการตลาดการบริการของ
พนักงาน ลักษณะทางกายภาพ และ
กระบวนการในการให้บริการ มีความสัมพันธ์ต่อ
ความจงรักภักดีของลูกค้า
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงแผนการ
ตลาดในอนาคต ให้สามารถกำาหนดกลยุทธ์
ทางการตลาด การจัดทำา sale promotion เพื่อ
ให้ตรงกับความต้องการของลูกค้ามากที่สุด
2. เพื่อทางร้านสะปาบุรี จะได้นำาข้อเสนอ
แนะจากลูกค้าไปปรับปรุงให้เกิดคุณภาพและ
ประสิทธิภาพในการบริการมากขึ้น
3. เพื่อทางร้านสะปาบุรี จะได้นำาผลวิจัยไป
พัฒนาแผนและกลยุทธ์ต่างๆเพื่อรักษาฐานลูกค้า
ในระยะยาวต่อไป
นิยามคำาศัพท์ในการศึกษาวิจัย
นี้
ประชากรศาสตร์ หมายถึง ลักษณะลูกค้า
ของร้านสะปาบุรี ประกอบด้วย เพศ อายุ
สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ย
ต่อเดือน
พฤติกรรมการใช้บริการ หมายถึง การ
แสดงออกหรือการกระทำาของลูกค้าแต่ละคนต่อ
การมาใช้บริการสะปาบุรี
ความพึงพอใจด้านส่วนประสมทางการตลาด
หมายถึง ระดับความรู้สึกดี ความพึงพอใจ
ความประทับใจ ของลูกค้าที่ได้รับการตอบ
สนองตามความต้องการหรือคาดหวังที่มีต่อการ
มาใช้บริการสะปาบุรี
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่
เกี่ยวข้อง
ความหมายของส่วนประสมทางการตลาด
คอทเลอร์ และอาร์มสตรอง
(Kotler&Armstrong. 1996: 6) กล่าวว่า ส่วน
ประสมทาง การตลาด (Marketing Mix) คือ กลุ่ม
ของเครื่องมือทางการตลาดที่สามารถทำางานร่วม
กันให้เกิดผล ในตลาดเป้าหมาย
Kotler(1997 : 92) กล่าวว่า ส่วนประสม
ทางการตลาด (Marketing Mix) หมายถึง กลุ่ม
ของเครื่องมือการตลาดซึ่งธุรกิจใช้ร่วมกันในการ
วางกลยุทธ์ เพื่อให้บรรลุวตถุประสงค์ทางการตลาด
คือ การตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคเครื่อง
มือการตลาด 8 ประการ ประกอบด้วย ผลิตกัณฑ์
(Product) ราคา (Price) การจัดจำาหน่าย (Place
or Distribution) การส่งเสริม การตลาด
ความหมายของความพึงพอใจ
Hill and Alexander (2000) ได้อธิบายว่า ความ
พึงพอใจของลูกค้าเป็นการวัดว่า ผลิตภัณฑ์ทั้งหมดของ
บริษัทสามารถตองสนองความต้องการของลูกค้าอยู่ใน
ระดับใด โดยความพึง พอใจจะเกิดขึ้น เมื่อมนุษย์
สามารถสนองความต้องการไดำโดยการลดความตึงเครียด
ลง และเป็นสิ่งที่ เกิดขึ้นของคนที่ตั้งอยู่บนความต้องการ
พื้นฐาน มีความเกี่ยวพันกับผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น
นพรัตน์ ศรีส'วัสดิ้ (2547: 36-37) เพอร์ลัน
(Person. 1993:14) ไดให้ความหมายความ พึงพอใจ
ในงานบริการว่า คือ การที่สินค้าหรือบริการสามารถเป็น
ไปตามความคาดหวังของลูกค้าทำา ให้ลูกค้าเกิดความพึง
พอใจ และเมื่อนั้นการซื้อหรือการใช้บริการที่เพิ่มมากขึ้น
และบ่อยครั้งขึ้น โดย จะบอกไปยังบุคคลใกล้ชิดต่อไป
ความพึงพอใจของผู้บริโภค จะอยู่ในขั้นสุดท้าย คือ ขั้น
ของการ ประเมินผลหลังการซื้อ (Evaluation stage)
ระเบียบวิธีวิจัย
ประชากรกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ทุกเพศทุก
วัยที่ใช้สปาบุรี ในกรุงเทพเทพมหานคร กำาหนด
ขนาดกลุ่มตัวอย่างกรณีไม่ทราบจำานวน
ประชากรที่แน่นอน จึงใช้ตารางสำาเร็จรูป
กำาหนดขนาดของทาโร ยามาเน (Taro
Yamane.1973:125) กลุ่มตัวอย่าง ที่ระดับ
ความเชื่อมั่น 95% ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
จำานวน 385 ตัวอย่าง สำารองตัวอย่างไว้ 15
ตัวอย่าง เพื่อป้องกันความผิดพลาดของ
ผู้ศึกษาใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ
เจาะจง (Purposive sampling) ทุกเพศทุกวัย
เพื่อทำาการแจกแบบสอบถามด้วยวิธีสุ่มตัวอย่าง
ตามสะดวก (Convenience Sampling) ไม่
จำากัดเวลา ไม่จำากัดสถานที่ (กัลยา วานิชย์
บัญชร 2545 : 26)
ผู้ศึกษาใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจงประชากรที่
เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยกลุ่มทุกเพศทุกวัย ในเขต
กรุงเทพมหานคร จำานวน 400 ตัวอย่าง โดย
แบ่งออกเป็นผู้ตอบแบบสอบถามแบบออนไลน์
จำานวน 200 คน และผู้ตอบแบบสอบถามแบบ
walk in จำานวน 200 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ
ในการวิจัยครั้งนี้คือ ใช้แบบสอบถาม
(Questionnaire) โดยมีองค์ประกอบ 3 ส่วน
ดังนี้
ข้อมูลด้านประชากร ได้แก่ อายุ, เพศ,
สถานภาพ , อาชีพ, ระดับการศึกษา และ ราย
ได้เฉลี่ยต่อเดือน
ความพึงพอใจด้านส่วนประสมทางการตลาด
ได้แก่ ด้านบริการ ด้านราคา ด้านสถานที่ตั้ง
ความจงรักภักดีของลูกค้าที่เข้าใช้บริการสะ
มาตราวัดที่ใช้
ส่วนที่1 เป็นการสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล
ของผู้ตอบแบบสอบ เพื่อวัดตัวแปรที่เกี่ยวกับ
คุณลักษณะของผู้บริโภค มีคำาถามปลายปิด
จำานวน 6 ข้อ ดังนี้
เพศ ใช้มาตราวัด นาม
บัญญัติ
อายุ “ เรียง
ลำาดับ
สถานภาพ “ นาม
บัญญัติ
อาชีพ “ นามบัญญัติ
ระดับการศึกษา “ เรียง
ส่วนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความพึง
พอใจด้านส่วนประสมทางการตลาด ได้แก่ ด้าน
บริการ ด้านราคา ด้าน สถานที่ตั้ง ซึ่งจะใช้
มาตราวัดข้อมูลประเภท อัตรภาค(Interval
scale) มี 5 ระดับ ดังนี้
ส่วนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับความจงรัก
ภักดีของลูกค้าที่มาใช้บริการบริการสะปาบุรี
ซึ่งจะใช้มาตราวัดข้อมูลประเภทมาตรอัตร
ภาค(Interval scale) มี 5 ระดับดังนี้
5 หมายถึง พึงพอใจมากที่สุด
4 หมายถึง พึงพอใจมาก
3 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง
2 หมายถึง ไม่พึงพอใจ
1 หมายถึง ไม่พึงพอใจอย่างมาก
การประเมินคุณภาพเครื่องมือวัด
การประเมินคุณภาพเครื่องมือวัดจะมีสอง
ลักษณะ คือ ความตรง(Validity) และ ความ
เที่ยงหรือความเชื่อมั่น (Reliability) โดยมีขั้น
ตอนดังนี้
การประเมินด้านความตรง จะวัดความตรง
เชิงเนื้อหา แบบสอบถามจะต้องมีความถูกต้อง
ทางด้านเนื้อหาและภาษา เป็นการตรวจสอบว่า
คำาถามต่างๆ นั้นวัดได้ตรงตามตัวแปรที่ต้องการ
วัด ซึ่งการตรวจสอบชนิดนี้ขอให้อาจารย์หรือผู้
เชี่ยวชาญพิจารณา
การประเมินคุณภาพด้านความเที่ยงหรือ
ความเชื่อมั่นใช้วิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์ความ
เชื่อมั่นอัลฟาของครอนบัค (Cronbach’s
Alpha) ซึ่งวิธีนี้จะถูกนำามาใช้ประเมินความ
เที่ยงอย่างกว้างขว้าง โดยในการวิจัยครั้งนี้ใช้
การตรวจสอบความเที่ยงโดยทดสอบสุ่มตัวอย่าง
20 ตัวอย่างที่ทำาการทดสอบการเก็บข้อมูล โดย
ใช้โปรแกรมสำาเร็จรูปทางสถิติ ในการวัดความ
เชื่อมั่นของแบบสอบถามนั้น ค่า เท่ากับ 0.80
ซึ่งเท่ากับ 0.826 จึงจะสรุปได้ว่าแบบสอบถามมี
ความน่าเชื่อถือสูงโดย ในการวัดความเชื่อมั่น
ของแบบสอบถามนั้น ค่า ตามสูตรในการ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ความพึงพอใจต่อส่วน
ผสมทางการตลาดของ
สะปาบุรี
S.D
.
ระดับ
ด้านบริการ 3.6
0
1.0
0
มาก
ด้านราคา 3.6
5
1.0
3
มาก
ด้านสถานที่ตั้ง 3.7
5
0.9
9
มาก
ด้านการส่งเสริมการตลาด 3.6
3
1.0
4
มาก
x
ความภักดีต่อการใช้บริการสะปาบุรี S.D. ระดับ
ท่านเลือกใช้บริการสะปาบุรีอยู่เสมอ
3.33
1.09
1
มาก
มื่อท่านต้องการความพักผ่อนหรือต้องการความ ผ่อน
คลายท่านจะใช้เลือกใช้บริการสะปาบุรีเป็นอันดับแรก
3.76 .820
มาก
ท่านจะแนะนำาร้านสะปาบุรีให้บุคคลอื่นใช้บริการ 3.79 .936 มาก
ท่านคิดว่าจะเลือกใช้บริการสะปาบุรี แม้ว่าราคาจะไม่
แตกต่างจากร้านอื่นๆ
3.71 .779
มาก
ท่านคิดว่าสะปาบุรีตรงตามความต้องการของท่านมาก
ที่สุด 3.68 .811
มาก
ท่านคิดว่าจะเลือกใช้บริการสะปาบุรีต่อไปในอนาคต 3.70 .804 มาก
ท่านคิดว่าการเข้าใช้บริการสะปาบุรี เป็นทางเลือกที่ท่าน
ชอบใช้บริการ 3.44 .862
มาก
หากผู้ใช้บริการรายอื่นเสนอโปรโมชั่นให้ท่าน ท่านยังคง
เลือกใช้บริการร้านสะปาบุรีเหมือนเดิม
3.18 .981
ปาน
กลาง
หากร้านสะปาบุรีมีการเปลี่ยนแปลงราคาเพิ่มขึ้น ท่านยัง
คงเลือกใช้บริการเหมือนเดิม 3.40 .918
มาก
รวม 3.55 0.88 ปาน
x
ส่วนที่ 5 ความสัมพันธ์ของลักษณะ
ประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อความจงรัก
ภักดีของลูกค้าที่มาใช้บริการสะปาบุรี
ความ
จงรัก
ภักดีของ
ลูกค้า
ที่มาใช้
บริการสะ
ปาบุรี
เพศ
จำานว
น
S.D.
t-
Val
ue
P-
Val
ue
รวมด้าน ชาย 125 3.84
37
.
612
77 -
3.3
34
.
00
1หญิง 275 4.05 .
การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างความ
พึงพอใจด้านส่วนประสมทางการตลาดและ
ความจงรักภักดีของลูกค้าที่ใช้บริการสะปา
บุรี
ความพึงพอใจ
ด้านส่วนประสม
ทางการตลาด
ความจงรักภักดี
ของลูกค้าที่ใช้
บริการสะปาบุรี
สัมประสิท
ธิ์สห
สัมพันธ์ (r)
ระดับ
การอภิปรายผล
1. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของลักษณะ
ประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อความจงรักภักดีของ
ลูกค้าที่มาใช้บริการสะปาบุรี พบว่า ลักษณะ
ประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อความจงรักภักดีของ
ลูกค้าที่มาใช้บริการสะปาบุรีไม่แตกต่างกันอย่าง
มีนัยสำาคัญทางสถิติที่ ซึ่งสอดคล้องกับ
สิปปศิณี บาเรย (2555) พบว่า เพศที่ต่างกันมี
ผลต่อพฤติกรรมในการเลือกใช้บริการสปาที่
ต่างกัน ทั้งในด้านสถานที่ ประเภทของการ
บริการ เหตุจูงใจ การเลือกช่วงเวลา ระยะเวลา
ของการบริการ ผู้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพึง
พอใจด้านส่วนประสมทางการตลาดและความ
จงรักภักดีของลูกค้าที่ใช้บริการสะปาบุรี พบว่า
ความพึงพอใจด้านส่วนประสมทางการตลาดมี
ความสัมพันธ์กับความจงรักภักดีของลูกค้าที่ใช้
บริการสะปาบุรีอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่
0.05 ซึ่งสอดคล้องกับ ศุภนิษฐ์ เหมะวรรณ (25
45) ได้ศึกษาค้นคว้าแบบอิสระเรื่อง ปัจจัยส่วน
ประสมการตลาด ที่มีอิทธิพลต่อนักท่องเที่ยว
ชาวญี่ป่นในการเลือกใช้บริการนวดแผน
โบราณในอำาเภอเมืองจังหวด ผลการศึกษาพบ
ว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง
มีอายุอยู่ในช่วง 21 - 30 ปี และมีอาชีพเป็น
นักศึกษา ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพล
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะสำาหรับการนำาผลการวิจัยไปใช้
• ปัจจัยด้านส่วนประสมการตลาดมีความสัมพันธ์กับ
ความภักดีของลูกค้าที่เข้ารับบริการร้านสะปาบุรี
ควรจะมีการเพิ่มแนวทางในการส่งเสริมการตลาด
ให้มีแนวทางที่แพร่หลายและเข้าถึงได้ง่าย เพื่อ
เป็นการเพิ่มยอดขาย ด้วยเหตุนี้เองจึงทำาให้ควรมี
การส่งเสริมการตลาดให้เป็นที่รู้จักและแพร่หลาย
มากขึ้น เนื่องจากในปัจจุบันคนในกรุงเทพมหานคร
เริ่มมีการเลือกใช้บริการร้านสะปาบุรีเพิ่มมากขึ้น
• ควรจะมีการสนับสนุนหรือสร้างแรงบันดาลในการ
เลือกใช้บริการร้านสะปาบุรีให้แก่คนวัยทำางานเพิ่ม
มากขึ้น ตลอดจนควรมีการประชาสัมพันธ์หรือมี
ข้อเสนอแนะในการทำาวิจัยครั้งต่อไป
• ควรมีการศึกษาประสิทธิภาพในปัจจัยทางด้าน
การตลาด และ การสื่อสารเชิงบูรณาการ ที่มี
อิทธิพลในการเลือกใช้บริการบริการร้านสะปา
บุรี
• ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจใน
การเลือกใช้บริการบริการร้านสะปาบุรีเพื่อ
ศึกษาแนวทางการจัดจำาหน่ายและนำาสร้างข้อ
ได้เปรียบทางการตลาดต่อไป
• ในการศึกษาครั้งนี้จำากัดเฉพาะ ใน
กรุงเทพมหานครเท่านั้น ดังนั้นควรมีการกระจา
ยกลุ่มตัวอย่างไปยังจังหวัดใกล้เคียงด้วยเพื่อให้
ได้ข้อมูลที่แตกต่างและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
• ควรใช้วิธีเก็บข้อมูลด้วยวิธีอื่นประกอบด้วย เช่น

More Related Content

Similar to Spa edit

เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรWichien Juthamongkol
 
Present การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017
Present   การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017Present   การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017
Present การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017Ratchakrit Klongpayabal
 
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"Zabitan
 
(Vision.mission,goal,strategy sales team)
(Vision.mission,goal,strategy sales team)(Vision.mission,goal,strategy sales team)
(Vision.mission,goal,strategy sales team)Nipat Supatkosit
 
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจการท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจa
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาดpronprom11
 
Strategy to write a business plan_ISMED
Strategy to write a business plan_ISMEDStrategy to write a business plan_ISMED
Strategy to write a business plan_ISMEDwalaiphorn
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกarm_smiley
 
ธุรกิจบริการสุขภาพ
ธุรกิจบริการสุขภาพธุรกิจบริการสุขภาพ
ธุรกิจบริการสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาดAIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาดBussakornHiranchai
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์tra thailand
 

Similar to Spa edit (20)

เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
 
Present การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017
Present   การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017Present   การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017
Present การตลาดสำหรับ smart enterprise - 23 feb2017
 
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"
รายงานวิจัย บทสรุปผู้บริหาร "การศึกษาตลาดท่องเที่ยวกลุ่มอาเซียน"
 
Aesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery finalAesthetic plastic surgery final
Aesthetic plastic surgery final
 
01
0101
01
 
Media IMC
Media IMCMedia IMC
Media IMC
 
(Vision.mission,goal,strategy sales team)
(Vision.mission,goal,strategy sales team)(Vision.mission,goal,strategy sales team)
(Vision.mission,goal,strategy sales team)
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจการท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาด
 
Strategy to write a business plan_ISMED
Strategy to write a business plan_ISMEDStrategy to write a business plan_ISMED
Strategy to write a business plan_ISMED
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
ธุรกิจบริการสุขภาพ
ธุรกิจบริการสุขภาพธุรกิจบริการสุขภาพ
ธุรกิจบริการสุขภาพ
 
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาดAIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
 
Market
MarketMarket
Market
 
marketing for non marketeer
marketing for non marketeermarketing for non marketeer
marketing for non marketeer
 

Spa edit