SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
การจัดการเรียนการสอน แบบ BBL (Brain Based
Learning)
Brain Based Learning คือ
การใช้ความรู ้ความเข ้าใจที่เกี่ยวข ้องกับสมองเป็ นเครื่องมือในการออกแบบกระบวนการเรียนรู ้และกระบวน
การอื่นๆ
ที่เกี่ยวข ้องเพื่อสร้างศักยภาพสูงสุดในการเรียนรู ้ของมนุษย์ โดยเชื่อว่าโอกาสทองของการเรียนรู ้อยู่ระหว่
างแรกเกิด – 10 ปี Regate และ Geoffrey Caine
นักวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู ้โดยใช้ความรู ้เกี่ยวกับสมองเป็ นหลัก ได ้เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการเรียนกา
รสอนที่มีความสัมพันธ์กับสมองไว้ดังนี้
1.
สมองเป็ นกระบวนการคู่ขนานสมองเป็ นอวัยวะที่มีความสาคัญที่สุดในร่างกายของคนเรา เพราะการที่มนุษ
ย์สามารถเรียนรู ้สิ่งต่าง ๆ ได ้นั้นจะต ้องอาศัยสมองและระบบประสาทเป็นพื้นฐานของ
การรับรู้ รับความรู้สึกจากประสาทสัมผัส ได ้แก่ ตาทาให ้เห็น หูทาให ้ได ้ยิน จมูกทาให ้ได ้กลิ่น ลิ้นทา
ให ้ได ้รับรส และผิวกายทาให ้เกิดการสัมผัส
2. สมองกับการเรียนรู ้สมองไม่ได ้มีหน ้าที่เฉพาะรับรู ้แต่เพียงอย่างเดียว แต่จะเป็ นอวัยวะที่สาคัญต่อการ
พัฒนาของอวัยวะทั้งหมดของร่างกาย ซึ่งจะรวมถึงการคิด การเรียนรู ้ การจา และพฤติกรรมของมนุษย์
มีความจาเป็ นอย่างยิ่งที่ครูผู ้สอนควรจะมีความรู ้เรื่องที่เกี่ยวกับการทางานและการพัฒนาของสมอง เพื่อจ
ะได ้วางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ในลักษณะที่กระตุ ้นให ้สมองคิดและทางานแบบท้าทาย ยั่วยุมากที่สุด
ผู ้เรียนได ้คิดและแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ในทุกด ้าน ซึ่งจะทาให ้ผู ้เรียนได ้พัฒนากระบวนการคิดและเรีย
นรู ้เต็มตามศักยภาพ เป็ นรากฐานไปสู่การเป็ นคนดี คนเก่งและมีความสุขในการดารงชีวิตและเมื่อเติบโต
ขึ้นจะได ้เป็ นเยาวชนพลเมืองที่ดีของสังคมต่อไป
3. การเรียนรู ้มีมาแต่กาเนิด ในการเรียนรู ้ของบุคคลเรานั้นจะเกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มมีชีวิต และเป็ นที่
รู ้กันโดยทั่วไปว่าการเรียนรู ้ที่ดีที่สุดนั้นจะต ้องลงมือปฏิบัติด ้วยตนเองหรือเป็ นการเรียนรู ้โดยประสบการณ์ต
รง
4. รูปแบบการเรียนรู ้ของบุคคล ผู ้เรียนในห ้องเรียนหนึ่ง ๆ
มักจะมีผู ้ถนัดการเรียนรู ้ตามรูปแบบของตน ครูจึงจาเป็ นต ้องจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ให ้เหมาะสมกับผู ้เรียนทุ
กรูปแบบอย่างเสมอภาคกัน เพื่อให ้ผู ้เรียนมีความสนุกสนานและเกิดความสุขในการเรียนรู ้ตามรู ปแบบที่ต
นถนัด รวมทั้งยังมีโอกาสพัฒนาความสามารถด ้านอื่น ๆ ที่ตนไม่ถนัดอีกด ้วย
5. ความสนใจมีความสาคัญต่อการเรียนรู ้
ความสามารถพิเศษของมนุษย์ แบ่งออกเป็ น 8 ด ้านด ้วยกัน มนุษย์ย่อมมีความแตกต่างระหว่างบุคคล
แต่ละคนมักจะมีความเก่งไม่เหมือนกัน ควรเปิดโอกาสให ้ผู ้เรียนเป็ นผู ้วางแผนในการพัฒนาตนเอง โดยเ
ริ่มจากรู ้จักตนเอง รู ้จุดเด่น จุดด ้อย ค ้นหาวิธีการพัฒนาความเก่งให ้แก่ตนเองที่จะนาไปสู่การปฏิบัติอย่า
งมีความสุขและเกิดการเรียนรู ้อย่างมีความหมาย
6. สมองมีหน ้าที่สร้างกระบวนการเรียนรู ้
สมองของคนเราแบ่งออกเป็ น 2 ซีก คือซีกซ ้ายกับซีกขวา สมองทั้งสองด ้านมีความสัมพันธ์กัน สมอง
มีหน ้าที่ ควบคุมการรับรู ้ การคิด การเรียนรู ้และการจา ควบคุมการทางานของอวัยวะต่าง ๆ
ของร่างกาย และควบคุมความรู ้สึกและพฤติกรรม
7. การเรียนรู ้ในสิ่งที่สนใจสามารถรับรู ้ได ้อย่างมีประสิทธิภาพสมองจะซึมซับข ้อมูลที่บุคคลมีความสนในเ
รื่องนั้นอยู่แล ้ว เชื่อมโยงกับข ้อมูลความรู ้ใหม่ ประสานข ้อมูลความรู ้เข ้าด ้วยกัน ซึ่งหมายความว่า การเรี
ยนรู ้ของมนุษย์จะมีประสิทธิภาพสูงขึ้น เมื่อมีการเชื่อมโยงระหว่างประสบการณ์เดิมของผู ้เรียนกับการจัดป
ระสบการณ์ในการเรียนรู ้ในแต่ละครั้ง
8.การเรียนรู ้เกิดขึ้นได ้เกี่ยวข ้องกับกระบวนการทั้งในแบบที่มีจุดมุ่งหมายและไม่ได ้ตั้งใจ
การเรียนรู ้ของคนส่วนใหญ่มักเกิดการเรียนรู ้ขึ้นได ้จากสิ่งที่ไม่ได ้ตั้งใจ สามารถเรียนรู ้ได ้จากประสบการณ์
ในสถานการณ์จริง เช่น ในการแก ้ปัญหาเฉพาะหน ้าที่เผชิญอยู่ โดยไม่ได ้คิดในการแก ้ปัญหาที่เกิดขึ้นมา
ก่อน โดยอาศัยประสบการณ์เดิมของแต่ละบุคคลในการเรียนรู ้ที่จะแก ้ปัญหาได ้อย่างเหมาะสม
9. การเรียนรู ้ที่เกิดจากกระบวนการสร้างความเข ้าใจ
การเรียนรู ้ที่ดีเกิดจากกระบวนการที่สร้างความเข ้าใจ และให ้ความหมายกับสิ่งที่รับรู ้มา มีการเชื่อมโยงระ
หว่างสิ่งที่เรียนกับชีวิตจริง สอน/แนะนาบนพื้นฐานความรู ้ ประสบการณ์และทักษะที่มีอยู่เดิมของผู ้เรียน
10. การเรียนรู ้เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับผู ้อื่น ภาษาแรกของมนุษย์เราถูกเรียนรู ้จากประสบการณ์ที่มีปฏิ
สัมพันธ์กันอย่างหลากหลาย ด ้วยคาศัพท์และไวยกรณ์ ถูกเรียนรู ้โดยกระบวนการเรียนรู ้ภายในของบุคค
ลที่เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสังคมและสิ่งแวดล ้อมภายนอก การเรียนรู ้คือการส่งเสริมให ้ผู ้เรียนเผชิญกั
บสถานการณ์สิ่งแวดล ้อมที่กระตุ ้นการเรียนรู ้เซลล์สมองจะเกิดมีการเชื่อมต่ออย่างสูงสุด เมื่อถูกกระตุ ้นให ้
เผชิญกับสถานการณ์ที่ท้าทายให ้ผู ้เรียนอยากเรียนรู ้ โดยผ่านกระบวนการเล่นอย่างสนุกสนาน และมีควา
มสุข ปราศจากความเครียด เพราะความเครียดเป็ นสิ่งที่บั่นทอนการเรียนรู ้ของผู ้เรียนได ้สมองของบุคคล
มีความเท่าเทียมกันมนุษย์ทุกคนมีระบบสมองที่เหมือนกัน ถึงแม ้ว่าทุกคนจะมีศักยภาพแตกต่างกันในด ้า
นความรู ้ความถนัดที่มีอยู่เดิม ตามสภาพแวดล ้อมของแต่ละคน แต่เราสามารถเรียนรู ้ได ้เต็มตามศักยภาพ
ได ้อย่างเท่าเทียมกัน
วิธีการเตรียมความพร้อมทางสมอง
1. การดื่มน้า ควรดื่มน้าบริสุทธิ์ วันละ 6 –
8 แก ้ว เพราะถ ้าร่างกายได ้รับน้าอย่างเพียงพอจะทาให ้เซลล์สมองทาหน ้าที่ได ้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. การรับประทานอาหาร ควรรับประทานอาหารให ้ครบ 5 หมู่ ซึ่งถูกต ้องตามหลักโภชนา
การ เพราะอาหารจะทาให ้เซลล์ประสาท /
เซลล์สมองเจริญเติบโต ส่งผลให ้ความจาดีและเกิดการเรียนรู ้ที่มีประสิทธิภาพ
3. การหายใจ ควรฝึกหายใจให ้ลึก ๆ ซ้า
ๆ และมีจังหวะที่แน่นอน เพราะสมองต ้องการอ๊อกซิเจน และอ๊อกซิเจนช่วยให ้กระบวนการคิดดี ซึ่งถ ้ามี
การหายใจที่ถูกต ้องจะช่วยให ้เกิดสมาธิ สมองปลอดโปร่ง ลดสภาพการหลง ๆ ลืม
ๆ และสามารถป้องกันโรคสมองเสื่อมได ้
4. การฟังเพลง / ดนตรี ควรหาโอกาสฟังเพลง /
ดนตรี จะกระตุ ้นให ้เกิดการรับรู ้และกระตุ ้นการทางานของสมองทั้งสองซีกให ้สอดคล ้องกันทั้งระบบ การ
ฟังเพลงที่มีคุณภาพทาให ้สมองผลิต Alpha Waves และ Theta Waves ทาให ้เกิดการเรียนรู ้อย่างรว
ดเร็วและเกิดความคิดสร้างสรรค์ชั้นสูง
5. การคลายความเครียด ความเครียดเป็ นอุปสรรค์ต่อการเรียนรู ้ ดังนั้น ควรหาเวลาพักผ่อ
น ออกกาลังกาย จัดลาดับความสาคัญของงาน การหัวเราะ /
ยิ้ม ทาให ้จิตใจเบิกบาน ไม่เครียดและไม่คิดว่าตัวเองเป็ นคนไร้ค่าการบริหารสมอง การบริหารสมองเป็ น
ระบบการเคลื่อนไหวร่างกาย ที่จะเร้าให ้สมองทางานอย่างดี เป็ นการเชื่อมโยงระหว่างการเคลื่อนไหวร่าง
กายกับการทางานของสมอง
แนวทางการจ ัดการเรียนการสอนตามหลัก BBL
1.
การจัดการเพื่อให ้เกิดการเรียนรู ้ที่แท้จริงและถาวรนั้น จะต ้องจัดให ้ครบองค์ประกอบทั้ง 3 ส่วน ได ้แก่
การรับรู ้ การบูรณาการความรู ้ และการประยุกต์ใช้ เพื่อเป็ นการเชื่อมโยงความรู ้สู่การปฏิบัติจริงในวิถีชีวิต
2.
ครูผู ้สอนจะต ้องมีข ้อมูล และรู ้จักนักเรียนเป็ นรายบุคคล คิดและจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความถนัด/ความส
ามารถหรือความเก่งให ้เก่งมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการพัฒนาด ้านอื่น ๆ อีกให ้มีความเก่งหลาย ๆ
ด ้าน เปิดโอกาสให ้ผู ้เรียนได ้แสดงออกถึงความสามารถหรือความเก่งสู่สาธารณชน โดยอาจจัดเวทีให ้แ
สดงอย่างอิสระ
3.การจัดการเรียนการสอนที่ดี ครูต ้องมีความเข ้าใจทักษะที่เกี่ยวโยงกับความสามารถพิเศษ
ของสมองแต่ละซีก สมองซีกซ ้ายสั่งการทางานเกี่ยวกับ คา ภาษา ตรรก ตัวเลข/จานวน ลาดับ ระบ
บ การคิดวิเคราะห์ และการแสดงออกเป็ นต ้น สมองซีกขวาจะสั่งการเกี่ยวกับ จังหวะ ดนตรี ศิลปะ จิ
นตนาการ การสร้างภาพ การรับรู ้ การเห็นภาพรวม ความจา ความคิดสร้างสรรค์ เป็ นต ้น
4.ควรจัดเนื้อหาที่มีความหลากหลายครอบคลุมทุกมิติของชีวิตมนุษย์ กระบวนการเรียนรู ้มีลั
กษณะหลากหลายร่วมกันในลักษณะ ผู ้เรียนเป็ นศูนย์กลาง แหล่งการเรียนรู ้หลากหลาย เช่น เรียนรู ้จา
กสื่อธรรมชาติ จากคาบอกเล่าของผู ้เฒ่าผู ้แก่ จากแหล่งงานอาชีพของชุมชน จากการค ้นคว้าทางเทคโ
นโลยี ฯลฯ
5.
ในกระบวนการเรียนรู ้นั้น ขณะที่ผู ้เรียนเรียนรู ้นั้นอาจเป็ นแค่การรับรู ้ แต่ยังไม่เข ้าใจ ความเข ้าใจอาจเกิด
ขึ้นภายหลังจากที่ผู ้เรียนสามารถมองเห็นถึงความหมายและความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันถึงสิ่งต่าง
ๆ ที่ตนเองรับรู ้จากแหล่งความรู ้ที่หลากหลาย ในระดับที่สามารถอธิบายเชิงเหตุผลได ้ ซึ่งบางครั้งการส
อนในชั้นเรียนเมื่อจบลงบางบทเรียนไม่สามารถทาให ้ผู ้เรียนเกิดการเรียนรู ้ได ้ เนื่องจากการสอนนั้นไม่สอ
ดคล ้องกับประสบการณ์เดิมของผู ้เรียน
6.
บางครั้งการจาเป็ นสิ่งสาคัญและมีประโยชน์ แต่การสอนที่เน ้นการจาไม่ก่อให ้เกิดความเชื่อมโยงให ้เกิดก
ารเรียนรู ้และบางครั้งเป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนาความเข ้าใจ ถ ้าครูไม่ได ้ศึกษาลีลารูปแบบการเรียนรู ้ของผู ้
เรียนแต่ละประเภท ว่ามีความชื่นชอบ ความถนัด วิธีการเรียนรู ้ หลักการเรียนรู ้ที่มีประสิทธิภาพ และจั
ดกิจกรรมการสอนให ้สอดคล ้องกับผู ้เรียนแต่ละประเภท
จะส่งผลต่อการเรียนรู ้ที่มีประสิทธิภาพเช่นเดียวกัน
7.ครูจาเป็ นต ้องใช้กิจกรรมที่เป็ นสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน ประกอบด ้วย การสาธิต การ
ทาโครงงาน ทัศนศึกษา การรับรู ้ประสบการณ์ด ้วยการมองเห็นของจริง การเล่าเรื่อง ละคร และการมีป
ฏิสัมพันธ์ต่อคนหลาย ๆ
ประเภท การเรียนแบบมุ่งประสบการณ์ทางภาษาสามารถเรียนรู ้ได ้ในกระบวนการโดยผ่านเรื่องหรือการเขี
ยน
8.ควรสร้างสถานการณ์และสิ่งแวดล ้อมให ้ปลอดภัยเพื่อ การเรียนรู ้ โดยผ่านการเล่นแบบท้า
ทาย การเสี่ยง ความสนุกสนาน เป็ นสิ่งจาเป็ นที่ทาให ้เกิดการเรียนรู ้ การถูกทาโทษอันเนื่องมาจากควา
มผิดพลาดจะทาให ้เป็ นอุปสรรคต่อการเรียนรู ้ ครูจึงไม่ควรลงโทษผู ้เรียน
ในการเข ้าร่วมกิจกรรมที่ให ้ผู ้เรียนเผชิญกับสถานการณ์แวดล ้อมที่กระตุ ้นการเรียนรู ้
9.ผู ้เรียนมีความแตกต่างกันเกี่ยวกับความสามารถทางสติปัญญา ความสามารถความเก่งของ
มนุษย์ คือ ทฤษฎีพหุปัญญา ความเป็ นคนเก่งคืออะไร มีคาตอบมากมายหลายรูปแบบ แต่สรุปรวมได ้ว่
า คนเก่งคือผู ้มีความสามารถด ้านใดด ้านหนึ่งเฉพาะด ้าน หรือหลาย ๆ
ด ้าน ที่แสดงออกถึงความสามารถได ้อย่างเป็ นที่ประจักษ์
แนวทางการเขียนแผนการสอน BBL
1. อ่าน และศึกษาหลักสูตร ศึกษาหลักสูตรการเรียนรู ้แบบ Brain-based Learning ระดับประถมศึกษา
และหลักสูตรรายวิชาภาษาไทย
2. ทาความเข ้าใจหลักสูตร ในประเด็นต่อไปนี้
2.1 สมองของเด็กวัยนี้ เรียนรู ้อย่างไร
2.2 สมองของเด็กวัยนี้ เรียนรู ้วิชานั้น ๆ อย่างไร
2.3 สาระหลัก ๆ ของวิชานั้น ในแต่ละระดับคืออะไร
2.4 ทาความเข ้าใจ ถึงกุญแจแห่งความสาเร็จในการเรียนรู ้วิชานั้น ๆ
2.5 Road map การจัดการเรียนรู ้วิชาภาษาไทย
2.6 ทาความเข ้าในลาดับขั้น ความก ้าวหน ้าของการเรียนรู ้วิชานั้น ๆ
3. กาหนดขอบเขตและเนื้อหาของการสอนวิชานั้น ๆ โดยใช้สาระหลัก ๆ ของวิชานั้นเป็ นตัวตั้ง
ซึ่งในหลักการจะอยู่บนพื้นฐานของหลักสูตรการศึกษาพื้นฐาน พ.ศ. 2544
4. อ่านหนังสือที่ใช้สอนในวิชานั้น ๆ ได ้แก่ ชุดหนังสืออ่านทุกเล่ม แบบเรียนภาษาพาเพลิน
ระดับชั้นประถมศึกษา 1 และถ ้าเป็ นไปได ้ ควรอ่านเล่มที่ใช้ในระดับประถมศึกษา 2 และ 3 ด ้วย
เพื่อช่วยให ้เข ้าใจถึงความเชื่อมโยง ของทั้งช่วงชั้น
5. ศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสืออื่น ๆ ร่วมด ้วย
6. กาหนดแผนการเรียน โดยแจกแจงหัวข ้อที่สอนและกาหนดจานวนคาบที่จะสอน ทั้งเทอม/ปี
เพื่อให ้เห็นภาพรวมของการเรียนวิชานั้น ๆ ตลอดเทอม/ปี
7. เริ่มเขียนแผนการสอน โดยใช้แบบฟอร์มที่กาหนด
การประยุกต์ใช้เทคนิคการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล ้องกับหลักการทางานของสมองนั้นเ
ป็ นสิ่งจาเป็ นและสาคัญมากที่ครูผู ้สอนจะต ้องดาเนินการเพราะการเรียนรู ้กับสมองเป็ นการบูรณาการอย่างอ
งค์รวมที่ไม่สามารถจะแยกส่วนของจากการได ้
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย นาง จุติมา พรหมศร
..... อ่านต่อได ้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/427696

More Related Content

Similar to Pdf

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3benty2443
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nattawad147
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149gam030
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3wanneemayss
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3kanwan0429
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3kanwan0429
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการcomputer1437
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02Mai Amino
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยArm Watcharin
 

Similar to Pdf (20)

3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการ
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 

Pdf

  • 1. การจัดการเรียนการสอน แบบ BBL (Brain Based Learning) Brain Based Learning คือ การใช้ความรู ้ความเข ้าใจที่เกี่ยวข ้องกับสมองเป็ นเครื่องมือในการออกแบบกระบวนการเรียนรู ้และกระบวน การอื่นๆ ที่เกี่ยวข ้องเพื่อสร้างศักยภาพสูงสุดในการเรียนรู ้ของมนุษย์ โดยเชื่อว่าโอกาสทองของการเรียนรู ้อยู่ระหว่ างแรกเกิด – 10 ปี Regate และ Geoffrey Caine นักวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู ้โดยใช้ความรู ้เกี่ยวกับสมองเป็ นหลัก ได ้เสนอทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดการเรียนกา รสอนที่มีความสัมพันธ์กับสมองไว้ดังนี้ 1. สมองเป็ นกระบวนการคู่ขนานสมองเป็ นอวัยวะที่มีความสาคัญที่สุดในร่างกายของคนเรา เพราะการที่มนุษ ย์สามารถเรียนรู ้สิ่งต่าง ๆ ได ้นั้นจะต ้องอาศัยสมองและระบบประสาทเป็นพื้นฐานของ การรับรู้ รับความรู้สึกจากประสาทสัมผัส ได ้แก่ ตาทาให ้เห็น หูทาให ้ได ้ยิน จมูกทาให ้ได ้กลิ่น ลิ้นทา ให ้ได ้รับรส และผิวกายทาให ้เกิดการสัมผัส 2. สมองกับการเรียนรู ้สมองไม่ได ้มีหน ้าที่เฉพาะรับรู ้แต่เพียงอย่างเดียว แต่จะเป็ นอวัยวะที่สาคัญต่อการ พัฒนาของอวัยวะทั้งหมดของร่างกาย ซึ่งจะรวมถึงการคิด การเรียนรู ้ การจา และพฤติกรรมของมนุษย์ มีความจาเป็ นอย่างยิ่งที่ครูผู ้สอนควรจะมีความรู ้เรื่องที่เกี่ยวกับการทางานและการพัฒนาของสมอง เพื่อจ ะได ้วางแผนจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ในลักษณะที่กระตุ ้นให ้สมองคิดและทางานแบบท้าทาย ยั่วยุมากที่สุด ผู ้เรียนได ้คิดและแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ในทุกด ้าน ซึ่งจะทาให ้ผู ้เรียนได ้พัฒนากระบวนการคิดและเรีย นรู ้เต็มตามศักยภาพ เป็ นรากฐานไปสู่การเป็ นคนดี คนเก่งและมีความสุขในการดารงชีวิตและเมื่อเติบโต ขึ้นจะได ้เป็ นเยาวชนพลเมืองที่ดีของสังคมต่อไป 3. การเรียนรู ้มีมาแต่กาเนิด ในการเรียนรู ้ของบุคคลเรานั้นจะเกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มมีชีวิต และเป็ นที่ รู ้กันโดยทั่วไปว่าการเรียนรู ้ที่ดีที่สุดนั้นจะต ้องลงมือปฏิบัติด ้วยตนเองหรือเป็ นการเรียนรู ้โดยประสบการณ์ต รง 4. รูปแบบการเรียนรู ้ของบุคคล ผู ้เรียนในห ้องเรียนหนึ่ง ๆ มักจะมีผู ้ถนัดการเรียนรู ้ตามรูปแบบของตน ครูจึงจาเป็ นต ้องจัดกิจกรรมการเรียนรู ้ให ้เหมาะสมกับผู ้เรียนทุ กรูปแบบอย่างเสมอภาคกัน เพื่อให ้ผู ้เรียนมีความสนุกสนานและเกิดความสุขในการเรียนรู ้ตามรู ปแบบที่ต นถนัด รวมทั้งยังมีโอกาสพัฒนาความสามารถด ้านอื่น ๆ ที่ตนไม่ถนัดอีกด ้วย 5. ความสนใจมีความสาคัญต่อการเรียนรู ้ ความสามารถพิเศษของมนุษย์ แบ่งออกเป็ น 8 ด ้านด ้วยกัน มนุษย์ย่อมมีความแตกต่างระหว่างบุคคล แต่ละคนมักจะมีความเก่งไม่เหมือนกัน ควรเปิดโอกาสให ้ผู ้เรียนเป็ นผู ้วางแผนในการพัฒนาตนเอง โดยเ ริ่มจากรู ้จักตนเอง รู ้จุดเด่น จุดด ้อย ค ้นหาวิธีการพัฒนาความเก่งให ้แก่ตนเองที่จะนาไปสู่การปฏิบัติอย่า งมีความสุขและเกิดการเรียนรู ้อย่างมีความหมาย 6. สมองมีหน ้าที่สร้างกระบวนการเรียนรู ้ สมองของคนเราแบ่งออกเป็ น 2 ซีก คือซีกซ ้ายกับซีกขวา สมองทั้งสองด ้านมีความสัมพันธ์กัน สมอง มีหน ้าที่ ควบคุมการรับรู ้ การคิด การเรียนรู ้และการจา ควบคุมการทางานของอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย และควบคุมความรู ้สึกและพฤติกรรม
  • 2. 7. การเรียนรู ้ในสิ่งที่สนใจสามารถรับรู ้ได ้อย่างมีประสิทธิภาพสมองจะซึมซับข ้อมูลที่บุคคลมีความสนในเ รื่องนั้นอยู่แล ้ว เชื่อมโยงกับข ้อมูลความรู ้ใหม่ ประสานข ้อมูลความรู ้เข ้าด ้วยกัน ซึ่งหมายความว่า การเรี ยนรู ้ของมนุษย์จะมีประสิทธิภาพสูงขึ้น เมื่อมีการเชื่อมโยงระหว่างประสบการณ์เดิมของผู ้เรียนกับการจัดป ระสบการณ์ในการเรียนรู ้ในแต่ละครั้ง 8.การเรียนรู ้เกิดขึ้นได ้เกี่ยวข ้องกับกระบวนการทั้งในแบบที่มีจุดมุ่งหมายและไม่ได ้ตั้งใจ การเรียนรู ้ของคนส่วนใหญ่มักเกิดการเรียนรู ้ขึ้นได ้จากสิ่งที่ไม่ได ้ตั้งใจ สามารถเรียนรู ้ได ้จากประสบการณ์ ในสถานการณ์จริง เช่น ในการแก ้ปัญหาเฉพาะหน ้าที่เผชิญอยู่ โดยไม่ได ้คิดในการแก ้ปัญหาที่เกิดขึ้นมา ก่อน โดยอาศัยประสบการณ์เดิมของแต่ละบุคคลในการเรียนรู ้ที่จะแก ้ปัญหาได ้อย่างเหมาะสม 9. การเรียนรู ้ที่เกิดจากกระบวนการสร้างความเข ้าใจ การเรียนรู ้ที่ดีเกิดจากกระบวนการที่สร้างความเข ้าใจ และให ้ความหมายกับสิ่งที่รับรู ้มา มีการเชื่อมโยงระ หว่างสิ่งที่เรียนกับชีวิตจริง สอน/แนะนาบนพื้นฐานความรู ้ ประสบการณ์และทักษะที่มีอยู่เดิมของผู ้เรียน 10. การเรียนรู ้เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับผู ้อื่น ภาษาแรกของมนุษย์เราถูกเรียนรู ้จากประสบการณ์ที่มีปฏิ สัมพันธ์กันอย่างหลากหลาย ด ้วยคาศัพท์และไวยกรณ์ ถูกเรียนรู ้โดยกระบวนการเรียนรู ้ภายในของบุคค ลที่เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสังคมและสิ่งแวดล ้อมภายนอก การเรียนรู ้คือการส่งเสริมให ้ผู ้เรียนเผชิญกั บสถานการณ์สิ่งแวดล ้อมที่กระตุ ้นการเรียนรู ้เซลล์สมองจะเกิดมีการเชื่อมต่ออย่างสูงสุด เมื่อถูกกระตุ ้นให ้ เผชิญกับสถานการณ์ที่ท้าทายให ้ผู ้เรียนอยากเรียนรู ้ โดยผ่านกระบวนการเล่นอย่างสนุกสนาน และมีควา มสุข ปราศจากความเครียด เพราะความเครียดเป็ นสิ่งที่บั่นทอนการเรียนรู ้ของผู ้เรียนได ้สมองของบุคคล มีความเท่าเทียมกันมนุษย์ทุกคนมีระบบสมองที่เหมือนกัน ถึงแม ้ว่าทุกคนจะมีศักยภาพแตกต่างกันในด ้า นความรู ้ความถนัดที่มีอยู่เดิม ตามสภาพแวดล ้อมของแต่ละคน แต่เราสามารถเรียนรู ้ได ้เต็มตามศักยภาพ ได ้อย่างเท่าเทียมกัน วิธีการเตรียมความพร้อมทางสมอง 1. การดื่มน้า ควรดื่มน้าบริสุทธิ์ วันละ 6 – 8 แก ้ว เพราะถ ้าร่างกายได ้รับน้าอย่างเพียงพอจะทาให ้เซลล์สมองทาหน ้าที่ได ้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. การรับประทานอาหาร ควรรับประทานอาหารให ้ครบ 5 หมู่ ซึ่งถูกต ้องตามหลักโภชนา การ เพราะอาหารจะทาให ้เซลล์ประสาท / เซลล์สมองเจริญเติบโต ส่งผลให ้ความจาดีและเกิดการเรียนรู ้ที่มีประสิทธิภาพ 3. การหายใจ ควรฝึกหายใจให ้ลึก ๆ ซ้า ๆ และมีจังหวะที่แน่นอน เพราะสมองต ้องการอ๊อกซิเจน และอ๊อกซิเจนช่วยให ้กระบวนการคิดดี ซึ่งถ ้ามี การหายใจที่ถูกต ้องจะช่วยให ้เกิดสมาธิ สมองปลอดโปร่ง ลดสภาพการหลง ๆ ลืม ๆ และสามารถป้องกันโรคสมองเสื่อมได ้ 4. การฟังเพลง / ดนตรี ควรหาโอกาสฟังเพลง / ดนตรี จะกระตุ ้นให ้เกิดการรับรู ้และกระตุ ้นการทางานของสมองทั้งสองซีกให ้สอดคล ้องกันทั้งระบบ การ ฟังเพลงที่มีคุณภาพทาให ้สมองผลิต Alpha Waves และ Theta Waves ทาให ้เกิดการเรียนรู ้อย่างรว ดเร็วและเกิดความคิดสร้างสรรค์ชั้นสูง 5. การคลายความเครียด ความเครียดเป็ นอุปสรรค์ต่อการเรียนรู ้ ดังนั้น ควรหาเวลาพักผ่อ น ออกกาลังกาย จัดลาดับความสาคัญของงาน การหัวเราะ / ยิ้ม ทาให ้จิตใจเบิกบาน ไม่เครียดและไม่คิดว่าตัวเองเป็ นคนไร้ค่าการบริหารสมอง การบริหารสมองเป็ น ระบบการเคลื่อนไหวร่างกาย ที่จะเร้าให ้สมองทางานอย่างดี เป็ นการเชื่อมโยงระหว่างการเคลื่อนไหวร่าง กายกับการทางานของสมอง แนวทางการจ ัดการเรียนการสอนตามหลัก BBL
  • 3. 1. การจัดการเพื่อให ้เกิดการเรียนรู ้ที่แท้จริงและถาวรนั้น จะต ้องจัดให ้ครบองค์ประกอบทั้ง 3 ส่วน ได ้แก่ การรับรู ้ การบูรณาการความรู ้ และการประยุกต์ใช้ เพื่อเป็ นการเชื่อมโยงความรู ้สู่การปฏิบัติจริงในวิถีชีวิต 2. ครูผู ้สอนจะต ้องมีข ้อมูล และรู ้จักนักเรียนเป็ นรายบุคคล คิดและจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความถนัด/ความส ามารถหรือความเก่งให ้เก่งมากยิ่งขึ้น รวมทั้งการพัฒนาด ้านอื่น ๆ อีกให ้มีความเก่งหลาย ๆ ด ้าน เปิดโอกาสให ้ผู ้เรียนได ้แสดงออกถึงความสามารถหรือความเก่งสู่สาธารณชน โดยอาจจัดเวทีให ้แ สดงอย่างอิสระ 3.การจัดการเรียนการสอนที่ดี ครูต ้องมีความเข ้าใจทักษะที่เกี่ยวโยงกับความสามารถพิเศษ ของสมองแต่ละซีก สมองซีกซ ้ายสั่งการทางานเกี่ยวกับ คา ภาษา ตรรก ตัวเลข/จานวน ลาดับ ระบ บ การคิดวิเคราะห์ และการแสดงออกเป็ นต ้น สมองซีกขวาจะสั่งการเกี่ยวกับ จังหวะ ดนตรี ศิลปะ จิ นตนาการ การสร้างภาพ การรับรู ้ การเห็นภาพรวม ความจา ความคิดสร้างสรรค์ เป็ นต ้น 4.ควรจัดเนื้อหาที่มีความหลากหลายครอบคลุมทุกมิติของชีวิตมนุษย์ กระบวนการเรียนรู ้มีลั กษณะหลากหลายร่วมกันในลักษณะ ผู ้เรียนเป็ นศูนย์กลาง แหล่งการเรียนรู ้หลากหลาย เช่น เรียนรู ้จา กสื่อธรรมชาติ จากคาบอกเล่าของผู ้เฒ่าผู ้แก่ จากแหล่งงานอาชีพของชุมชน จากการค ้นคว้าทางเทคโ นโลยี ฯลฯ 5. ในกระบวนการเรียนรู ้นั้น ขณะที่ผู ้เรียนเรียนรู ้นั้นอาจเป็ นแค่การรับรู ้ แต่ยังไม่เข ้าใจ ความเข ้าใจอาจเกิด ขึ้นภายหลังจากที่ผู ้เรียนสามารถมองเห็นถึงความหมายและความเชื่อมโยงสัมพันธ์กันถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ตนเองรับรู ้จากแหล่งความรู ้ที่หลากหลาย ในระดับที่สามารถอธิบายเชิงเหตุผลได ้ ซึ่งบางครั้งการส อนในชั้นเรียนเมื่อจบลงบางบทเรียนไม่สามารถทาให ้ผู ้เรียนเกิดการเรียนรู ้ได ้ เนื่องจากการสอนนั้นไม่สอ ดคล ้องกับประสบการณ์เดิมของผู ้เรียน 6. บางครั้งการจาเป็ นสิ่งสาคัญและมีประโยชน์ แต่การสอนที่เน ้นการจาไม่ก่อให ้เกิดความเชื่อมโยงให ้เกิดก ารเรียนรู ้และบางครั้งเป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนาความเข ้าใจ ถ ้าครูไม่ได ้ศึกษาลีลารูปแบบการเรียนรู ้ของผู ้ เรียนแต่ละประเภท ว่ามีความชื่นชอบ ความถนัด วิธีการเรียนรู ้ หลักการเรียนรู ้ที่มีประสิทธิภาพ และจั ดกิจกรรมการสอนให ้สอดคล ้องกับผู ้เรียนแต่ละประเภท จะส่งผลต่อการเรียนรู ้ที่มีประสิทธิภาพเช่นเดียวกัน 7.ครูจาเป็ นต ้องใช้กิจกรรมที่เป็ นสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน ประกอบด ้วย การสาธิต การ ทาโครงงาน ทัศนศึกษา การรับรู ้ประสบการณ์ด ้วยการมองเห็นของจริง การเล่าเรื่อง ละคร และการมีป ฏิสัมพันธ์ต่อคนหลาย ๆ ประเภท การเรียนแบบมุ่งประสบการณ์ทางภาษาสามารถเรียนรู ้ได ้ในกระบวนการโดยผ่านเรื่องหรือการเขี ยน 8.ควรสร้างสถานการณ์และสิ่งแวดล ้อมให ้ปลอดภัยเพื่อ การเรียนรู ้ โดยผ่านการเล่นแบบท้า ทาย การเสี่ยง ความสนุกสนาน เป็ นสิ่งจาเป็ นที่ทาให ้เกิดการเรียนรู ้ การถูกทาโทษอันเนื่องมาจากควา มผิดพลาดจะทาให ้เป็ นอุปสรรคต่อการเรียนรู ้ ครูจึงไม่ควรลงโทษผู ้เรียน ในการเข ้าร่วมกิจกรรมที่ให ้ผู ้เรียนเผชิญกับสถานการณ์แวดล ้อมที่กระตุ ้นการเรียนรู ้ 9.ผู ้เรียนมีความแตกต่างกันเกี่ยวกับความสามารถทางสติปัญญา ความสามารถความเก่งของ มนุษย์ คือ ทฤษฎีพหุปัญญา ความเป็ นคนเก่งคืออะไร มีคาตอบมากมายหลายรูปแบบ แต่สรุปรวมได ้ว่ า คนเก่งคือผู ้มีความสามารถด ้านใดด ้านหนึ่งเฉพาะด ้าน หรือหลาย ๆ ด ้าน ที่แสดงออกถึงความสามารถได ้อย่างเป็ นที่ประจักษ์
  • 4. แนวทางการเขียนแผนการสอน BBL 1. อ่าน และศึกษาหลักสูตร ศึกษาหลักสูตรการเรียนรู ้แบบ Brain-based Learning ระดับประถมศึกษา และหลักสูตรรายวิชาภาษาไทย 2. ทาความเข ้าใจหลักสูตร ในประเด็นต่อไปนี้ 2.1 สมองของเด็กวัยนี้ เรียนรู ้อย่างไร 2.2 สมองของเด็กวัยนี้ เรียนรู ้วิชานั้น ๆ อย่างไร 2.3 สาระหลัก ๆ ของวิชานั้น ในแต่ละระดับคืออะไร 2.4 ทาความเข ้าใจ ถึงกุญแจแห่งความสาเร็จในการเรียนรู ้วิชานั้น ๆ 2.5 Road map การจัดการเรียนรู ้วิชาภาษาไทย 2.6 ทาความเข ้าในลาดับขั้น ความก ้าวหน ้าของการเรียนรู ้วิชานั้น ๆ 3. กาหนดขอบเขตและเนื้อหาของการสอนวิชานั้น ๆ โดยใช้สาระหลัก ๆ ของวิชานั้นเป็ นตัวตั้ง ซึ่งในหลักการจะอยู่บนพื้นฐานของหลักสูตรการศึกษาพื้นฐาน พ.ศ. 2544 4. อ่านหนังสือที่ใช้สอนในวิชานั้น ๆ ได ้แก่ ชุดหนังสืออ่านทุกเล่ม แบบเรียนภาษาพาเพลิน ระดับชั้นประถมศึกษา 1 และถ ้าเป็ นไปได ้ ควรอ่านเล่มที่ใช้ในระดับประถมศึกษา 2 และ 3 ด ้วย เพื่อช่วยให ้เข ้าใจถึงความเชื่อมโยง ของทั้งช่วงชั้น 5. ศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสืออื่น ๆ ร่วมด ้วย 6. กาหนดแผนการเรียน โดยแจกแจงหัวข ้อที่สอนและกาหนดจานวนคาบที่จะสอน ทั้งเทอม/ปี เพื่อให ้เห็นภาพรวมของการเรียนวิชานั้น ๆ ตลอดเทอม/ปี 7. เริ่มเขียนแผนการสอน โดยใช้แบบฟอร์มที่กาหนด การประยุกต์ใช้เทคนิคการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล ้องกับหลักการทางานของสมองนั้นเ ป็ นสิ่งจาเป็ นและสาคัญมากที่ครูผู ้สอนจะต ้องดาเนินการเพราะการเรียนรู ้กับสมองเป็ นการบูรณาการอย่างอ งค์รวมที่ไม่สามารถจะแยกส่วนของจากการได ้ บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย นาง จุติมา พรหมศร ..... อ่านต่อได ้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/427696