SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
การเขียนโครงงาน โครงงานหมายถึง กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตาม ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการอื่นใดไป ใช้ในการศึกษาหาคาตอบในเรื่องนั้นๆ โดยมีครูผู้สอนคอยกระตุ้นแนะนาและให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่าง ใกล้ชิด ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า ดาเนินการ วางแผน กาหนดขั้นตอนการดาเนินงาน โดย ทั่วๆ ไป การทาโครงงานสามารถทาได้ทุกระดับการศึกษา ซึ่งอาจทาเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงาน อาจเป็นโครงงานเล็กๆ ที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนหรือเป็นโครงงานใหญ่ที่มีความ ยากและซับซ้อนขึ้นก็ได้ 
๑. ประเภทของโครงงาน โครงงานสามารถแบ่งตามลักษณะของกิจกรรมได้ ๔ ประเภท ดังนี้ ๑.๑ โครงงานประเภทสารวจ โครงงานประเภทสารวจ เป็นโครงงานประเภทเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อหาสาเหตุของปัญหา หรือสารวจความคิดเห็น ข้อมูลที่รวบรวมได้บางอย่างอาจเป็นปัญหาที่นาไปสู่การทดลองหรือค้นพบสาเหตุของ ปัญหาที่ต้องหาวิธีแก้ไขปรับปรุงร่วมกัน เช่น โครงงานการสารวจคาที่มักเขียนผิด โครงงานสารวจการใช้คา คะนองในหนังสือพิมพ์ เป็นต้น ๑.๒ โครงงานประเภทการทดลอง โครงงานประเภทการทดลอง เป็นโครงงานที่ต้องออกแบบทดลอง เพื่อการศึกษาผลการ ทดลองว่าเป็นไปตามที่ตั้งสมมติฐานไว้หรือไม่ โครงงานประเภทนี้ต้องสรุปความรู้หรือผลการทดลองเป็น หลักการหรือแนวทางการปฏิบัติไว้ เช่น โครงงานการทดลองยากันยุงจากพืชสมุนไพร โครงงานการทดลอง ปลูกพืชสวนครัวโดยใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ เป็นต้น ๑.๓ โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ 
ใบงานที่ 2 
เรื่อง ความหมายและความสาคัญของโครงงาน
โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็นโครงงานที่ประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์เข้าสู่ กระบวนการปฏิบัติ โดยอาศัยเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อประดิษฐ์ชิ้นงานใหม่ อาจเป็นของใช้ เครื่องประดับจากวัสดุเหลือใช้ หรือนาวัสดุท้องถิ่นที่มีมากมายมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น โครงงานการ ประดิษฐ์เครื่องจักสานจากผักตบชวา โครงงานการประดิษฐ์เครื่องช่วยสอนวิชาภาษาอังกฤษ เป็นต้น ๑.๔ โครงงานประเภททฤษฎี โครงงานประเภททฤษฎี เป็นโครงงานที่มีลักษณะเป็นการหาความรู้ใหม่ โดยการ รวบรวมข้อมูลและนามาวิเคราะห์จากสถิติแล้วอภิปราย หรือเป็นโครงงานที่ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกิดจากข้อ สงสัย อาจเป็นการนาบทเรียนมาขยายเพื่อศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมให้ได้ความรู้ในแง่มุมที่กว้างและลึกกว่าเดิม เช่น โครงงานการศึกษาคาซ้อนในวรรณคดีร้อยแก้ว โครงงานการศึกษาข้อคิดจากเรื่องพระมโหสถชาดก เป็น ต้น 
๒. ขั้นตอนการทาโครงงาน การทาโครงงานมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้ ๒.๑ การคิดและการเลือกหัวเรื่อง ผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วย ตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทาไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คาถามหรือ ความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้วควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานนี้ทาจากอะไร การกาหนดหัวเรื่องของโครงงานนั้นมี แหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและความสนใจหลายแหล่งด้วยกัน เช่น จากการอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการหรืองานประกวด โครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคคลต่างๆ หรือจาการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ ควรคานึงถึงประเด็นต่อไปนี้ - ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน - วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ - งบประมาณ - ระยะเวลา - ความปลอดภัย - แหล่งความรู้
๒.๒ การวางแผน การวางแผนการทาโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่งต้องมีการ วางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนาเสนอต่อผู้สอน หรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดาเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทาโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ ๑) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้ตรง ๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน ๓) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน ๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทา โครงงานเรื่องนี้ มีความสาคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทาเป็นเรื่องใหม่หรือมี ผู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทาได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่น ทาไว้อย่างไร หรือเป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล ๕) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของงานที่จะทาได้ชัดเจนขึ้น ๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคาตอบหรือคาอธิบาย ที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่สาคัญ คือ เป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางในการดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย ๗) วิธีดาเนินงานและขั้นตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะออกแบบการ ทดลองอะไรอย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้างรวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง ๘) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการ ดาเนินงานในแต่ละขั้นตอน ๙) ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑๐) เอกสารอ้างอิง ๒.๓ การดาเนินงาน เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็นขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุ
อุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คานึงถึงความประหยัดและปลอดภัยในการ ทางาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทาอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน ๒.๔ การเขียนรายงาน การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้ เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการดาเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวกับโครงงานนั้น การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมดของ โครงงาน ๒.๕ การนาเสนอผลงาน การนาเสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงานและเข้าใจถึงผลงาน นั้น การนาเสนอผลงานอาจทาได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์จาลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึ่งอาจมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือการรายงานปากเปล่า การบรรยาย สิ่งสาคัญคือ พยายามทาให้การแสดงผลงานนั้นดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจ ง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา 
๓. การเขียนรายงานโครงงาน การเขียนรายงานโครงงานเป็นรูปแบบหนึ่งของการนาเสนอผลงานของโครงงานที่ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าตั้งแต่ต้นจนจบ การกาหนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกันทุกโครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับประเภทของโครงงานและระดับชั้นของผู้เรียน องค์ประกอบ ของการเขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. ส่วนปกและส่วนต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย ๑) ชื่อโครงงาน ๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชั้น โรงเรียน และวันเดือนปีที่จัดทา ๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ๔) คานา
๕) สารบัญ ๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี) ๗) บทคัดย่อสั้นๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา ระยะเวลา และสรุปผล ๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงานที่ให้ความ ช่วยเหลือหรือมีส่วนเกี่ยวข้อง ๒. ส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย ๑) บทนา บอกความเป็นมา ความสาคัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูง ใจในการเลือกหัวข้อโครงงาน ๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน ๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า ๔) การดาเนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปตามหัวข้อเรื่อง ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน และพิสูจน์คาตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่กาหนด ดังตัวอย่างการ เขียนแผนผังโครงงานต่อไปนี้ ในแผนผังโครงงานทาให้เห็นระบบการทางานอย่างมีเป้าหมาย มีการวางแผนการ ทางาน จะเห็นได้ว่าสิ่งที่ต้องการทราบ คือ หัวข้อย่อย หรือคาถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็ จะเรียงลาดับทีละหัวข้อ พร้อมทั้งบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้าตามแผนผังให้ครบทุก ข้อ สิ่งที่ต้องการทราบ สมมติฐาน วิธีการศึกษา แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจากหัวข้อเรื่องของ โครงงานที่ต้องการหาคาตอบ การตอบคาถามล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู- ฟัง จากสื่อชนิดต่างๆ - เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล ๕) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคาตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ตาม หัวข้อย่อยที่ต้องการทราบ ว่าเป็นไปตามสมมติฐานหรือไม่ ๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานที่ได้ และบอกข้อจากัด หรือปัญหา อุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะใกล้เคียงกัน
๓. ส่วนท้าย ส่วนท้าย ประกอบด้วย ๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ ตารา บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น หนังสือ ชื่อ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์ บทความในวารสาร ชื่อผู้เขียน "ชื่อบทความ," ชื่อวารสาร. ปีที่หรือเล่มที่ : หน้า ;วัน เดือน ปี.คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ์ชื่อผู้เขียน "ชื่อคอลัมน์ : ชื่อเรื่องในคอลัมน์" ชื่อ หนังสือพิมพ์.วัน เดือน ปี. หน้า. ๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าของทุก ๆ สังคมในโลกปัจจุบันนี้ เทคโนโลยีด้านนี้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงเป็นเรื่องยากที่ประชาชนจะคอยติดตามความก้าวหน้าอยู่ ตลอดเวลาและเป็นสิ่งที่ไม่เกิดประโยชน์คุ้มค่าอีกด้วย ดังนั้นการศึกษาเทคโนโลีของคอมพิวเตอร์จึงต้องศึกษา หลักการและเนื้อหาพื้นฐานเป็นสาคัญ การศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นสิ่งจาเป็นเสมือนกับการศึกษาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ คอมพิวเตอร์ได้ เปลี่ยนแปลงโลกของเราในด้านต่าง ๆ มากมายได้แก่ - สังคมโดยส่วนใหญ่เปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมเป็นสังคมสารสนเทศ - การตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ มักขึ้นอยู่กับข้อมูลซึ่งได้จากระบบคอมพิวเตอร์ - คอมพิวเตอร์กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญแทนเครื่องมืออื่น ๆ ในอดีต เช่น เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิดเลข เป็นต้น - คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการออกแบบสถานการณ์หรือปัญหาที่ซับซ้อนต่าง ๆ - คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารของโลกปัจจุบัน นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาเรียนวิทยาศาสตร์ธรรมชาติเพื่อความเข้าใจความเป็นไปของ ธรรมชาติในโลก ในทานองเดียวกันนักเรียนต้องเรียนวิชาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์เพื่อความเข้าใจในสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของสังคมต่าง ๆ ในยุคสารสนเทศ เนื้อหาวิชาทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน โรงเรียนระดับมัธยมศึกษามีเป้าหมายที่จะพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจในวิทยาการของคอมพิวเตอร์ และมีความสามารถในการพัฒนาโปรแกรมได้ ดังนั้นการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์จะเป็นสิ่งที่ทาให้นักเรียน สามารถบรรลุเป้าหมายได้อย่างสมบูรณ์
จุดมุ่งหมายที่สาคัญประการหนึ่งของการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ในโรงเรียน คือการที่นักเรียนได้มีโอกาส ฝึกความสามารถในการนาความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหา ความรู้ต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง ซึ่งวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากวิธีหนึ่งคือการที่นักเรียนได้มีโอกาสทาโครงงาน คอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นงานวิจัยในระดับนักเรียน เป็นการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีอยู่ใน การศึกษา ทดลอง แก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อนาผลที่ได้มาประยุกต์ใช้งานจริง หรือใช้เพื่อช่วยสร้างสื่อเพื่อเสริม การเรียนให้ได้ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โครงงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่ช่วยให้นักเรียน ได้เรียนรู้และฝึกฝนการใช้ทักษะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ พร้อมทั้งเครื่องมือต่าง ๆ ในการ แก้ปัญหา รวมทั้งการพัฒนาการสร้างผลงานจริงอีกด้วย โครงงานคอมพิวเตอร์ที่จะทาในระดับมัธยมศึกษาควรเป็นประเด็นหรือปัญหาที่นักเรียนสนใจ ใคร่รู้ และสามารถใช้ความรู้ ทักษะ ตลอดจนประสบการณ์ในระดับของนักเรียน เพื่อคิดแนวทางในการ แก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม เพื่อให้โครงงานคอมพิวเตอร์นั้นมีคุณค่ายิ่ง อย่างไรก็ตาม เรื่องที่นักเรียน สนใจและคิดที่จะทาโครงงานอาจมีผู้สนใจทามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและ พัฒนามาแล้ว แต่นักเรียนก็ยังสามารถทาโครงงานดังกล่าวได้ เพียงแต่คิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ กิจกรรมที่จัดว่าเป็นโครงานคอมพิวเตอร์ควรมีองค์ประกอบหลักดังต่อไปนี้ - เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับซอต์ฟแวร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ - นักเรียนเป็นผู้ริเริ่มและเลือกเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้า พัฒนาด้วยตนเองตามความสนใจและระดับ ความรู้ความสามารถ - นักเรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษา ค้นคว้า ตลอดจนการพัฒนาเก็บรวบรวมข้อมูลหรือประดิษฐ์ คิดค้น รวมทั้งการสรุปผล และการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีครูอาจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นผู้ให้คาปรึกษา การทาโครงงานคอมพิวเตอร์มีของเขตกว้างขวางมาก ตั้งแต่เรื่องที่ง่าย ๆ ไปจนถึงเรื่องที่ยุ่งยากซับซ้อน โครงงานคอมพิวเตอร์บางเรื่องอาจใช้เวลาสั้นในการพัฒนา จนถึงเรื่องที่ใช้เวลาเป็นภาคเรียนหรือปีการศึกษา โครงงานคอมพิวเตอร์บางเรื่องเสียค่าใช้จ่ายเพียงเล็กน้อยจนถึงนับพันบาท นักเรียนจึงควรศึกษารายละเอียด และงบประมาณต่างๆ ของโครงงานก่อน จึงค่อยเลือกทาโครงงานที่เหมาะสมกับระดับความรู้ ความสามารถ และความสนใจของนักเรียน โดยทั่ว ๆ ไป การทาโครงงานคอมพิวเตอร์จัดเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการ
สอนรายวิชาคอมพิวเตอร์ทุกระดับการศึกษา โดยอาจจะทาเป็นกลุ่มหรอทาเป็นรายบุคคล ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ สนใจของนักเรียนแต่ละคนแต่ละกลุ่มเป็นสาคัญ จุดมุ่งหมายสาคัญของการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ไม่ได้อยู่ที่การส่งเข้าประกวดเพื่อรับรางวัล แต่เป็นโอกาสที่ นักเรียนจะได้ประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ ต่าง ๆ ตลอดจนการแสดงผลงานของตนเองเพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและผู้ที่สนใจในชุมชนเมื่อมีการจัด กิจกรรมของโรงเรียนหรืองานอื่น การทาโครงงานคอมพิวเตอร์และการจัดงานแสดงโครงงานจะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้นักเรียนมีความรู้ ความชานาญ และมีความมั่นใจในการนาระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้า หาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเองและยังมีคุณค่าอื่น ๆ อีกดังต่อไปนี้ 1. สร้างความสานึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง 2. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง 3. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการ เรียนในห้องตามปกติ 4. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน 5. กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาคอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบ อาชีพทางด้านนี้ 6. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ 7. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิว เตอร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น 8. เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทาผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นโครงงานเพื่อนาเสนอต่อชุมชน การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์นั้น นักเรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เหตุผลที่ใช้ในการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และการแทนข้อมูลใน คอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะเริ่มทาโครงงาน และใช้ความรู้ดังกล่าวเป็นพื้นฐานในการสร้างความรู้ใหม่ในโครงงาน คอมพิวเตอร์ โดยในการทาโครงงานนักเรียนอาจจะมีโอกาสได้ทาความรู้จักกับความรู้ใหม่เพิ่มเติมอีกด้วย เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ฐานข้อมูล (Database) และการสืบค้นข้อมูล (Information Retrieval) เป็นต้น ซึ่งจะขึ้นอยู่กับหัวข้อที่นักเรียนเลือกทาโครงงาน
ความหมายของการเรียนรู้แบบโครงงาน การเรียนรู้แบบโครงงาน คือ การจัดให้นักศึกษารวมกลุ่มกันทากิจกรรมร่วมกัน โดยมีจุดมุ่งหมายใน การศึกษาหาความรู้ หรือทากิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งตามความสนใจของนักศึกษา การเรียนรู้แบบโครงงานนี้ จึงมุ่งตอบสนองความสนใจ ความกระตือรือร้น และความใฝ่เรียนรู้ของผู้เรียนเอง ในการแสวงหาข้อมูล ความรู้ต่างๆ เพื่อทาโครงงานร่วมกันให้ประสบความสาเร็จตามจุดมุ่งหมายของโครงงาน การเรียนรู้โดยใช้ โครงงานเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้(Project Centered Learning) ซึ่งหมายถึง การกระทากิจกรรมร่วมกัน ช่วยเหลือกันในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในกลุ่ม ด้วยวิธีการปฏิบัติจริง เพื่อการเรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา อัน นาไปสู่ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แสวงหาข้อมูลและแนวทางในการแก้ปัญหาเหล่านั้น การเรียนรู้แบบ โครงงาน อาจมีชื่อเรียกอื่นที่มีความหมายเดียวกัน ได้แก่ การเรียนรู้โดยใช้โครงงาน การเรียนรู้แบบโครงการ การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ใน เรื่องความหมาย ได้มีผู้กล่าวถึงไว้หลายคน เช่นจากิซ และโรบิน (Jaques, 1984; Robbins, 1997) ได้ ให้ความหมายของวิธีการเรียนรู้แบบโครงงาน (Group Project) ว่าหมายถึง การรวมกลุ่มกันของบุคคล มากกว่า 2 คนขึ้นไปมี ปฏิสัมพันธ์กัน ร่วมกันกระทากิจกรรมอันนาไปสู่จุดมุ่งหมายบางประการ นอกจากนั้นแล้วโครงงานเป็นการจัดสถานการณ์ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ทางานร่วมกัน แลกเปลี่ยนข้อมูล ซึ่งกันและกันและสนับสนุนกันในการเรียนรู้ (Fascilitate Learning) สุชาติ วงศ์ สุวรรณ (2542) กล่าวถึงความหมายของ การเรียนรู้โดยใช้โครงงานว่าหมายถึง การจัดการเรียนรู้อีกรูปแบบ หนึ่งที่เป็นการให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงในลักษณะของการศึกษา สารวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์ คิดค้น โดยมีครูเป็นผู้กระตุ้น แนะนา และให้คาปรึกษาอย่างใกล้ชิด • สรุปได้ว่า การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นการเสริมสร้างศักยภาพการเรียนรู้ของแต่ละคนให้ได้รับ การพัฒนาได้เต็มขีดความสามารถที่มีอยู่อย่างแท้จริง ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้เรียนวิธีการ เรียนรู้ สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง รวมทั้งปลูกฝังนิสัยรักการเรียนรู้ อันจะนาไปสู่การเป็นบุคคล แห่งการเรียนรู้ได้ในที่สุด
การเรียนรู้แบบโครงงาน 
โครงงาน ( project ) จึงเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างผู้เรียน กับห้องเรียน และโลกภายนอก ซึ่งผู้เรียนสามารถจะนาความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ได้ในชีวิตจริงของผู้เรียน ทั้งนี้เพราะว่า ผู้เรียนต้องนาเอา ความรู้ที่ได้จากชั้นเรียนมาบูรณาการเข้ากับกิจกรรมที่จะกระทา เพื่อนาไปสู่ความรู้ใหม่ ๆ ด้วยการสร้าง ความหมาย การแก้ปัญหา และการค้นพบด้วยตนเอง ผู้เรียนต้องสร้างและกาหนดความรู้ จากความคิดและ แนวคิดที่มีอยู่กับความคิดและแนวคิดที่เกิดขึ้นใหม่ ทาให้เกิดการปรับเปลี่ยนความรู้ให้เป็นเครื่องมือในการ เรียนรู้สิ่งใหม่ ความสาคัญของการเรียนรู้แบบโครงงานw การที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านโครงงาน ทาให้มองเห็น ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดกับข้อเท็จจริง ซึ่งจะถูกเชื่อมโยงเข้าเป็นเรื่องเดียวกัน ในลักษณะของ ความสัมพันธ์ และการเชื่อมโยง อันจะสามารถนาไปใช้ในสถานการณ์อื่นได้อย่างหลากหลาย สามารถบูรณา การความรู้มาช่วยกันทาโครงงาน เรียนรู้จักการทางานร่วมกับผู้อื่น รู้จักการหาข้อมูล ความรู้ต่างๆด้วยตนเอง ฝึกทักษะการสื่อสาร รู้จักการ การคิด แก้ไขปัญหาในส่วนของผู้เรียน การเรียนรู้จากโครงงาน ถือได้ว่าเป็น การเรียนรู้ร่วมกันภายในกลุ่ม เพราะทุกคนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการค้นหาคาตอบ หาความหมาย ตลอดจน แนวทางแก้ไขปัญหา ร่วมคิด ร่วมทางาน ส่งผลให้เกิดกระบวนการค้นพบกระบวนการเรียนรู้สิ่งต่างๆได้ด้วย ตนเองสามารถนาความรู้ที่ได้รับมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และแลกเปลี่ยนพื้นฐานความรู้ระหว่างผู้เรียน ด้วยกัน เป็นลักษณะของการเรียนรู้ร่วมกัน (Collaboration learning) ความรู้และสามารถด้านต่าง ๆ ที่มี อยู่ในตัวของผู้เรียน จะถูกกระตุ้นให้ได้แสดงออกมาอย่างเต็มที่ ขณะที่ปฏิบัติกิจกรรม เช่นเดียวกับ ทักษะ ต่าง ๆ ที่จาเป็นสาหรับชีวิต เช่น ทักษะการทางาน ทักษะการอยู่ร่วมกัน ทักษะการจัดการ ฯลฯ ก็จะถูก นาเอามาใช้อย่างเต็มตามศักยภาพ ในขณะที่ร่วมกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการทาโครงงาน การเรียนรู้แบบ โครงงานยังช่วยส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมทั้งหลายก็จะถูกปลูกฝัง และสั่งสมในตัวผู้เรียนใน ขณะที่ทุกคนร่วมกันทางาน รวมทั้งเป็นการปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตย ฝึกหัดการรู้จักรับฟังความคิดเห็น ของผู้อื่นเนื่องจากว่าแนวคิดหลักของการเรียนรู้แบบโครงงาน จะใช้หลักการเรียนรู้ร่วมกัน (Team learning) อันจะนาไปสู่การเรียนรู้ด้วยการนาตนเอง ซึ่งมีผลโดยตรงต่อการเพิ่มโอกาสในการเจริญก้าวหน้า ของบุคคลในการเรียนรู้และพัฒนาความรู้ ความสามารถของตนเอง ความสามารถในการมีปฏิสัมพันธ์และ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดีและมีประสิทธิภาพ ไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นเองได้ หากแต่เป็นสิ่งที่ต้องเกิดจากการเรียนรู้ เพื่อจะทาให้ทักษะดังกล่าวเกิดขึ้นในตัวของบุคคล การเรียนรู้เพื่อให้เกิดความสามารถและทักษะดังกล่าว
สามารถทาให้เกิดได้โดยใช้ นาหลักการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนรวมกลุ่มกัน มีโอกาสร่วมกันในการเรียนรู้และ ทางานร่วมกัน โดยใช้วิธี “group assignments in their courses”ซึ่งมีครูเป็นผู้อานวยความสะดวก ให้แก่ผู้เรียน และช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ทักษะดังกล่าวจากประสบการณ์ในการการทาโครงงานร่วนกัน ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานจึงต้องเน้น และให้ความสาคัญที่ตัวผู้เรียน โดยมุ่งให้ผู้เรียน ได้พัฒนาขีดความสามารถของตนเองอย่างเต็มตามศักยภาพ มีความสมดุลทั้งด้านจิตใจ ร่างกาย ปัญญา และ สังคม เป็นผู้รู้จักคิด วิเคราะห์ รักการเรียนรู้ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีเจตคติที่ดี มีวินัย มีความรับผิดชอบ และมีทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิต รวมทั้งทักษะทางอาชีพ สามารถพึ่งตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นอย่าง สร้างสรรค์ การเรียนรู้แบบโคงงานต้องมุ่งพัฒนาความสามารถทางอารมณ์ได้แก่ ความสามารถในการมีสติรู้ตัวและ ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคม ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยสาคัญที่จะทาให้คนเราประสบความสาเร็จในชีวิต เช่นเดียวกับความสามารถทางปัญญา ความสามารถหรือความฉลาดทางอารมณ์ที่จะต้องปลูกฝังให้ผู้เรียน ได้แก่ การรู้จักตนเอง การเข้าใจตนเอง ความสามารถในการควบคุมตนเอง ความเข้าใจและเห็นอกเห็นใจ ผู้อื่น มีความเชื่อมั่นและเห็นคุณค่าในตัวเอง ความสามารถในการแก้ไขข้อขัดแย้งทางอารมณ์ 
ประโยชน์ของการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน แคทซ์และชาร์ด (Katz and Chard , 1994) กล่าวถึงการสอนแบบโครงการว่า วิธีการสอนนี้มี จุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาเด็กทั้งชีวิตและจิตใจ (Mind) ซึ่งชีวิตจิตใจในที่นี้หมายรวมถึง ความรู้ ทักษะ อารมณ์ จริยธรรม และความรู้สึกถึงสุนทรียศาสตร์ แคทซ์และชาร์ด ได้เสนอว่า ในการจัดการเรียนการสอน ระดับปฐมวัยโดยใช้การสอนแบบโครงการควรมีเป้าหมายหลัก 5 ประการ คือ 
ประโยชน์ของการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน 1.เป้าหมายทางสติปัญญาและเป้าหมายทางจิตใจของเด็ก (Intellectual Goals and the Life of the Mind) คือการจัดการเรียนการสอนแบบเตรียมความพร้อม มุ่งให้เด็กมี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม อย่างหลากหลาย และการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เด็กควรจะได้เข้าใจประสบการณ์และ สิ่งแวดล้อมรอบตัวอย่างลึกซึ้ง ดังนั้นเป้าหมายหลักของการเรียนระดับนี้จึงเป็นการมุ่งให้เด็กพัฒนาความรู้ความ เข้าใจโลกที่อยู่รอบ ๆ ตัวเขา และปลูกฝังคุณลักษณะการอยากรู้อยากเรียนให้กับผู้เรียน
2. ความสมดุลของกิจกรรม (Balance of Activities) การสอนแบบโครงการจะทาให้ผู้เรียน ได้ ปฏิบัติกิจกรรมทั้งที่เป็นกิจกรรมทางวิชาการ ใช้กิจกรรมเป็นสื่อทาให้เกิดการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ ทากิจกรรม ค้นหาความรู้ เป็นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมต่าง ๆที่อยู่รอบตัว 3. โรงเรียนคือส่วนหนึ่งของชีวิต (School as Life) การเรียนการสอนในโรงเรียนต้องเป็นส่วน หนึ่งในชีวิตของเด็ก ไม่ใช่แยกออกจากชีวิตประจาวันโดยทั่วไป กิจกรรมในโรงเรียนจึงควรเป็นกิจกรรมที่ เกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตปกติ การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและผู้คนรอบๆ ตัวเด็ก 4. ห้องเรียนเป็นชุมชนหนึ่งของเด็ก ๆ (Community Ethos in the Class) เด็ก ๆ ทุกคนมี ลักษณะเฉพาะตัว การสอนแบบโครงการเปิดโอกาสให้เด็กแต่ละคนได้แสดงออกถึงคุณลักษณะ ความรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อของเขา ในการสอนแบบนี้จึงเกิดการแลกเปลี่ยนการมี ปฏิสัมพันธ์กันอย่างลึกซึ้ง เด็ก เรียนรู้ความแตกต่างของตนกับเพื่อน ๆ 5.การเรียนการสอนเป็นสิ่งที่ท้าทายครู (Teaching as a Challenge) ในการสอนแบบโครงการ ครูไม่ใช่ผู้ถ่ายทอดความรู้ให้กับเด็ก แต่เป็นผู้คอยกระตุ้น ชี้แนะ และให้ความสะดวกในการเรียนรู้ของผู้เรียน 
โครงงานบางโครงงานครูเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กับเด็ก ครูร่วมกันกับเด็กคิดหาวิธีแก้ปัญหา ลงมือ ปฏิบัติไปด้วยกัน ถือเป็นการเรียนรู้ร่วมกัน การเรียนรู้โดยใช้โครงงาน สามารถช่วยให้ผู้เรียนได้สามารถฝึกทักษะสาคัญ ๆ ดังนี้ 1. สัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal skill) 2. การแก้ปัญหาและความขัดแย้ง (Conflict resolution) 3. ความสามารถในการถกเถียง เจรจา เพื่อนาไปสู่การตัดสินใจ (Consensus on decision) 4. เทคนิคการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลที่มีประสิทธิภาพ (Effective interpersonal Communication Techniques) 5. การจัดการและการบริหารเวลา 6. เตรียมผู้เรียนเพื่อจะออกไปทางานร่วมกับผู้อื่น 6.1 ทักษะในแง่ความรู้เกี่ยวกับความสามารถในการควบคุมจิตใจและควบคุม ตนเอง (discipline knowledge) 6.2 ทักษะเกี่ยวกับกระบวนการกลุ่ม (group-process skill)
7. ช่วยให้ผู้เรียนได้มีความรู้มากขึ้น มีมุมมองหลากหลาย (multi perspective) อันจะนาไปสู่ความสามารถ ทางสติปัญญา การรับรู้ ความเข้าใจ ความจดจา และความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดียิ่งขึ้น 8. เพิ่มความสามารถในการเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ได้ดีขึ้น อันนาไปสู่ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และทักษะ การสื่อสาร (critical thinking and communication skill) (Freeman, 1995) 9. ช่วยสนับสนุนการพัฒนาทักษะการทางานเป็นทีมจากการเรียนรู้ จากการเรียนรู้จาก ประสบการณ์ (Experiential learning) (Kolb, 1984) 10. การเรียนแบบโครงงานช่วยให้เกิดการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน (Cooperative learning) ในกลุ่มของ ผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนแต่ละคนจะแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกันในการเรียน โดยอาศัยกระบวนการ กลุ่ม (group dynamic) การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นการเรียนรู้ที่ให้ความสาคัญต่อผู้เรียน ในการเลือกเรียนสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง ทั้งเนื้อหา วิธีการ โดยมีครูเป็นผู้คอยให้ความช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้ ประสบความสาเร็จในการเรียน ทั้งในแง่ของความรู้ด้านวิชาการและความรู้ที่ใช้ในการดาเนินชีวิตและการ ทางานในอนาคต เป็นผู้มีความสมดุลทั้งด้านจิตใจ ร่างกาย ปัญญา อารมณ์ สังคม 
ประเภทของโครงงาน โครงงานที่ผู้เรียนจะปฏิบัติในแต่ละระดับ อาจจัดแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 4 ประเภท ตาม ลักษณะของการปฏิบัติได้ดังนี้ (สุชาติ วงศ์สุวรรณ, 2542) 1.โครงงานที่เป็นการสารวจ รวบรวมข้อมูล 2.โครงงานที่เป็นการค้นคว้า ทดลอง 3.โครงงานที่เป็นการศึกษา ความรู้ ทฤษฎี หลักการ หรือ แนวคิดใหม่ 4.โครงงานที่เป็นการประดิษฐ์ คิดค้น 
โครงงานที่เป็นการสารวจ รวบรวมข้อมูล โครงงานประเภทนี้ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่อง หนึ่ง แล้วนข้อมูลที่ได้จากการสารวจนั้นมาจาแนกเป็นหมวดหมู่ และนาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ อย่างมีระบบ เพื่อให้เห็นถึงลักษณะหรือความสัมพันธ์ของเรื่องดังกล่าวได้ชัดเจนยิ่งขึ้น การปฏิบัติตามโครงงานนี้ ผู้เรียน จะต้องไปศึกษา รวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น สอบถาม สัมภาษณ์ สารวจ โดยใช้เครื่องมือ เช่น
แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก ฯลฯ ในการรวบรวมข้อมูลที่ต้องการศึกษา ตัวอย่างโครงงานที่ เป็นการสารวจ รวบรวมข้อมูล เช่น การสารวจประชากร พืช สัตว์ การสารวจความต้องการเกี่ยวกับอาชีพ 
โครงงานที่เป็นการค้นคว้า ทดลอง โดยการออกแบบโครงงานในรูปของการทดลองเพื่อศึกษาว่า ตัวแปรหนึ่งจะมีผลต่อตัวแปรที่ต้องการ ศึกษาอย่างไรบ้าง ด้วยการควบคุมตัวแปรอื่น ๆ ซึ่งอาจมีผลต่อตัวแปรที่ต้องการศึกษาไว้ การทาโครงงาน ประเภทนี้ จะมีขั้นตอนการดาเนินงานประกอบด้วย การกาหนดปัญหา การตั้งวัตถุประสงค์ หรือสมมุติฐาน การออกแบบทดลอง การรวบรวมข้อมูล การดาเนินการทดลอง การแปรผล และสรุปผลการทดลอง ตัวอย่างโครงงานที่เป็นการค้นคว้า ทดลอง เช่น วิธีการประหยัดน้าประปาภายในบ้าน โครงงานที่เป็นการศึกษาความรู้ ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม่ โครงงานประเภทนี้ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอความรู้ ทฤษฎี หลักการ แนวคิดใหม่ ๆ เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ที่ยังไม่มีใครคิดมาก่อน หรือขัดแย้ง หรือขยายจากของเดิมที่มีอยู่ซึ่งความรู้ ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดที่เสนอต้องผ่านการพิสูจน์อย่างมีหลักการหรือวิธีการที่น่าเชื่อถือตามกติกา/ข้อตกลงที่ กาหนดขึ้นมาเอง หรืออาจใช้กติกาหรือข้อตกลงเดิมมาอธิบายข้อความรู้ ทฤษฎี หลักการ แนวคิดใหม่ ก็ได้ โครงงานที่เป็นการประดิษฐ์คิดค้น โครงงานประเภทนี้ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ คือ การนาเอาความรู้ ทฤษฎี หลักการ หรือ แนวคิดมาประยุกต์ใช้ โดยการประดิษฐ์เป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียน การ ทางาน หรือการใช้สอยอื่น ๆ การประดิษฐ์คิดค้นตามโครงงานนี้ อาจเป็นการประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ โดยที่ยังไม่มีใครทา หรืออาจเป็น การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ 
ขั้นตอนการเรียนรู้แบบโครงการ การจัดการเรียนแบบโครงการแบ่งขั้นตอนการดาเนินกิจกรรมในโครงการออกได้ 5 ระยะ ที่สาคัญ ดังนี้ –1. ระยะเตรียมการวางแผนเข้าสู่โครงการ (Preliminary Planning) –2. ระยะเริ่มต้นโครงการ (Getting Project Start) –3. ระยะดาเนินโครงการ (Project in Progress)
–4. ระยะสรุปและอภิปรายผลโครงการ (Consolidating Project) –5.ระยะการนาเสนอโครงงาน ( Present Project ) 
การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องทาโครงงาน – การดาเนินงานตามขั้นตอนนี้เป็นการคิดหาหัวข้อเรื่องที่จะทาโครงงาน โดย ผู้เรียนต้องตั้งต้นด้วยคาถาม ที่ว่า – - จะศึกษาอะไร – - ทาไมต้องศึกษาเรื่องดังกล่าว – สิ่งที่จะนามากาหนดเป็นหัวข้อเรื่องโครงงาน จะได้มาจาก ปัญหา คาถาม หรือความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องต่าง ๆ ของผู้เรียนเอง ซึ่งเป็นผลจากการที่ ผู้เรียนได้อ่านจากหนังสือ เอกสาร บทความ ยอมฟังความคิดเห็น ฟังการบรรยาย การสนทนา หรือจากการ ที่ได้ไปดูงาน ทัศนศึกษา การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องทาโครงงาน– หัวเรื่องของโครงงาน ต้องเป็นเรื่องที่เฉพาะเจาะจง และ ชัดเจนว่า โครงงานนี้ทาอะไร และควรเน้นเรื่องที่อยู่ใกล้ตัว หรือมีความคุ้นเคยกับเรื่องดังกล่าว เป็นเรื่องที่ นักศึกษามีความสนใจ อยากจะศึกษา ซึ่งนักศึกษาจะต้องใช้เวลาในการศึกษา พอสมควรที่จะทาให้ได้มาซึ่ง คาตอบ การศึกษาเอกสารและข้อมูล– การดาเนินงานตามขั้นตอนนี้จะทาให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในรายละเอียดต่าง ๆ ของเนื้อหาข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งทาให้เห็นถึงขอบข่ายของภาระงานที่จะดาเนินการ ของโครงงานที่จะทาผลที่ได้จากการดาเนินงานขั้นตอนนี้ จะช่วยทาให้ได้แนวคิดในการกาหนดขอบข่ายหรือเค้า โครงของเรื่องที่จะศึกษาชัดเจนว่า จะทาอะไร ทาไมต้องทาต้องการให้เกิดอะไร ทาอย่างไร ใช้ทรัพยากร อะไร ทากับใคร จะเสนอผลอย่างไร ฯลฯ และเป็นการเตรียมความรู้ ความเข้าใจในการทาโครงงานให้มาก ยิ่งขึ้น การเขียนเค้าโครงของโครงงาน –การดาเนินงานตามขั้นตอนนี้ เป็นการสร้างแผนที่ความคิด เป็น –การนาเอาภาพของงาน และภาพ ความสาเร็จของโครงงานที่ –วิเคราะห์ไว้มาจัดทารายละเอียด เพื่อแสดงแนวคิด แผน และขั้น –ตอนการทา โครงงาน w การดาเนินงานในขั้นนี้อาจใช้การระดมสมอง ถ้าเป็นการทางานเป็นกลุ่ม เพื่อให้ผู้ร่วมงานและ ผู้เกี่ยวข้องทุกคนได้มองเห็นภาระงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้น รวมทั้งได้ทราบถึงบทบาทและระยะเวลาใน การดาเนินงาน เมื่อเกิดความชัดเจนแล้วจึงนาเอามากาหนดเขียนเป็นเค้าโครงของโครงงาน เค้าโครงของโครงงานจะประกอบด้วยหัวข้อตังนี้– หัวข้อ/รายการ รายละเอียดที่ต้องระบุ
1. ชื่อโครงงาน ทาอะไร กับใคร เพื่ออะไร 2. ชื่อผู้ทาโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้ 3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน ครู-อาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีในท้องถิ่น ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา ควบคุมการทา โครงงานของผู้เรียน 4. หลักการและเหตุผล สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการ และความคาดหวังที่จะเกิดผล 5. จุดหมาย/วัตถุประสงค์ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงาน ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ 6. ระยะเวลาดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้น 7. สมมุติฐานของการศึกษา (ในกรณีที่เป็นโครงงาน การทดลอง) ข้อตกลง/ข้อกาหนด/เงื่อนไข เพื่อเป็น แนวทางในการพิสูจน์ ให้เป็นไปตามที่กาหนด 8. ขั้นตอนการดาเนินงาน กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ สถานที่ 9. ปฏิบัติโครงงาน วัน เวลา และกิจกรรมดาเนินการต่าง ๆ ตามที่ระบุไว้ตั้งแต่เริ่มต้นจนแล้วเสร็จ 10. ผลที่คาดว่าจะได้รับสภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้งที่เป็นผลผลิตกระบวนการ และ ผลกระทบ 11. เอกสารอ้างอิง / บรรณานุกรม ชื่อเอกสาร ข้อมูล ที่ได้จากแหล่งต่าง ๆ ที่นามาใช้ในการดาเนินงาน การปฏิบัติโครงงาน – การดาเนินงานตามขั้นตอนนี้ เป็นการดาเนินงาน หลังจากที่โครงงานได้รับความเห็นชอบจากครู-อาจารย์ที่ ปรึกษา และได้รับการอนุมัติจากสถานศึกษาแล้ว ผู้เรียนต้องลงมือปฏิบัติงานตามแผนงานที่กาหนดไว้ในเค้า โครงของโครงงาน และระหว่างการปฏิบัติงาน ผู้เรียนต้องปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบ คานึงถึงความ ประหยัด และความปลอดภัยในการทางาน ตลอดจนคานึงถึงสภาพแวดล้อมด้วย การปฏิบัติโครงงาน– ในระหว่างการปฏิบัติงานตามโครงงาน ต้องมีการจดบันทึก –ข้อมูลต่าง ๆ ไว้อย่าง ละเอียดว่า ทาอะไร ได้ผลอย่างไร ปัญหา –อุปสรรค และแนวทางการแก้ไขอย่างไร การบันทึกข้อมูลดัง– กล่าวนี้ ต้องจัดทาอย่างเป็นระบบ ระเบียบ เพื่อจะได้ใช้เป็นข้อ –มูล สาหรับการปรับปรุงการดาเนินงานใน โอกาสต่อไปด้วย การปฏิบัติกิจกรรมตามที่ระบุไว้ในขั้นตอนการดาเนินงานในโครงงาน ถือว่าเป็นการเรียนรู้เนื้อหา ฝึกทักษะ ต่าง ๆ ตามที่ระบุไว้ในจุดประสงค์การเรียนรู้
การเขียนรายงาน – การดาเนินงานตามขั้นตอนนี้ เป็นการสรุปรายงาน –ผล การดาเนินงานโครงงาน เพื่อให้ผู้อื่นได้ ทราบถึงแนวคิด วิธี –ดาเนินงาน ผลที่ได้รับ ตลอดจนข้อสรุป ข้อเสนอแนะต่าง ๆ –เกี่ยวกับ โครงงาน w การเขียนรายงาน ควรใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย กระชับ ชัดเจน และครอบคลุมประเด็นสาคัญ ๆ ของโครงงานที่ปฏิบัติไปแล้ว โดยอาจเขียนในรูปของ สรุป รายงานผล ซึ่งอาจประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้ บทคัดย่อ บทนา เอกสารที่เกี่ยวข้อง วิธีการดาเนินงาน ผลการศึกษา สรุปและอภิปรายผล ข้อเสนอแนะ และเอกสารอื่นๆเกี่ยวข้องจัดไว้ในภาคผนวก การแสดงผลงาน – การดาเนินงานตามขั้นตอนนี้ เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงาน เป็นการนาเสนอผลการ ดาเนินงานโครงงานทั้งหมดมาเสนอให้ผู้อื่นได้ทราบ ซึ่งผลผลิตที่ได้จากการดาเนินโครงงานประเภทต่าง ๆ มี ลักษณะเป็นเอกสาร รายงาน ชิ้นงาน แบบจาลอง ฯลฯ ตามประเภทของโครงงานที่ปฏิบัติ – การแสดงผล งาน ซึ่งเป็นการนาเอาผลการดาเนินงานมาเสนอนี้ สามารถจัดได้หลายรูปแบบ เช่น การจัดนิทรรศการ หรือ ทาเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ การจัดทาเป็นสื่อมัลติมีเดีย และอาจนาเสนอในรูปแบบ ของการแสดงผลงาน การนาเสนอ ด้วยวาจา รายงาน บรรยาย ฯลฯ 
ความหมายและคุณค่าของการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาเป็นกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการ เลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ ซึ่งอาจเป็นปัญหาที่ต้องใช้ความรู้ กระบวนการทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่อง คอมพิวเตอร์และวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน โครงงานบางเรื่องอาจต้องการวัสดุ อุปกรณ์นอกเหนือจากที่มีอยู่ ซึ่งนักเรียนจะต้องคิดออกแบบสร้างขึ้น หรือดัดแปลงเพื่อใช้งานได้ตรงกับความ ต้องการ โดยในการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์จะอยู่ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษาของครูในสาขาวิชา คอมพิวเตอร์หรือต่างสาาวิชารวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่าง ๆ ด้วย
ที่มา : http://www.lks.ac.th/kuanjit/s4.htm http://sunyala.tripod.com/w002.htm http://www.banprak-nfe.com/webboard/index.php?topic=24.0

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611Tanawan Janrasa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Suppawit Sangpetch
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานfarains
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานdgnjamez
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานdgnjamez
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2powe1234
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Fernimagine
 
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงานเล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงานAusa Suradech
 

What's hot (16)

ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611
 
K3
K3K3
K3
 
K3
K3K3
K3
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงานเล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to ใบงาน2

ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานannny002
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทmcf_cnx1
 
โโครงงานคอมพิวเตอร์
โโครงงานคอมพิวเตอร์โโครงงานคอมพิวเตอร์
โโครงงานคอมพิวเตอร์Sapol Odton
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Nattaporn Bunmak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Assumption Rayong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Frong16034
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Frong16034
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Frongacr Rayong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Frongacr Rayong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sapol Odton
 
แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1ohmzariffer
 
คอม pdf
คอม pdfคอม pdf
คอม pdfaliceauto
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Nattaporn Bunmak
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Mintra Han-kla
 
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์Thanatchaporn Yawichai
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม natjira
 
โครงงานคอมพิวเตอร์6.5
โครงงานคอมพิวเตอร์6.5โครงงานคอมพิวเตอร์6.5
โครงงานคอมพิวเตอร์6.5Woraphan Penjan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์nareudol niramarn
 

Similar to ใบงาน2 (20)

ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภทประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
ประเภทของโครงงาน แบ่งได้เป็น 5 ประเภท
 
โโครงงานคอมพิวเตอร์
โโครงงานคอมพิวเตอร์โโครงงานคอมพิวเตอร์
โโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1
 
คอม pdf
คอม pdfคอม pdf
คอม pdf
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Com 2-8
Com 2-8Com 2-8
Com 2-8
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอม โครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์6.5
โครงงานคอมพิวเตอร์6.5โครงงานคอมพิวเตอร์6.5
โครงงานคอมพิวเตอร์6.5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from Kubgife Yrc

More from Kubgife Yrc (15)

ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงาน8
ใบงาน8ใบงาน8
ใบงาน8
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงาน6
ใบงาน6ใบงาน6
ใบงาน6
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
 
K2
K2K2
K2
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
K5
K5K5
K5
 
ใบงาน8
ใบงาน8ใบงาน8
ใบงาน8
 
ใบงาน6
ใบงาน6ใบงาน6
ใบงาน6
 
ใบงาน8
ใบงาน8ใบงาน8
ใบงาน8
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
 

ใบงาน2

  • 1. การเขียนโครงงาน โครงงานหมายถึง กิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตาม ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือกระบวนการอื่นใดไป ใช้ในการศึกษาหาคาตอบในเรื่องนั้นๆ โดยมีครูผู้สอนคอยกระตุ้นแนะนาและให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่าง ใกล้ชิด ตั้งแต่การเลือกหัวข้อที่จะศึกษา ค้นคว้า ดาเนินการ วางแผน กาหนดขั้นตอนการดาเนินงาน โดย ทั่วๆ ไป การทาโครงงานสามารถทาได้ทุกระดับการศึกษา ซึ่งอาจทาเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับลักษณะของโครงงาน อาจเป็นโครงงานเล็กๆ ที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อนหรือเป็นโครงงานใหญ่ที่มีความ ยากและซับซ้อนขึ้นก็ได้ ๑. ประเภทของโครงงาน โครงงานสามารถแบ่งตามลักษณะของกิจกรรมได้ ๔ ประเภท ดังนี้ ๑.๑ โครงงานประเภทสารวจ โครงงานประเภทสารวจ เป็นโครงงานประเภทเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อหาสาเหตุของปัญหา หรือสารวจความคิดเห็น ข้อมูลที่รวบรวมได้บางอย่างอาจเป็นปัญหาที่นาไปสู่การทดลองหรือค้นพบสาเหตุของ ปัญหาที่ต้องหาวิธีแก้ไขปรับปรุงร่วมกัน เช่น โครงงานการสารวจคาที่มักเขียนผิด โครงงานสารวจการใช้คา คะนองในหนังสือพิมพ์ เป็นต้น ๑.๒ โครงงานประเภทการทดลอง โครงงานประเภทการทดลอง เป็นโครงงานที่ต้องออกแบบทดลอง เพื่อการศึกษาผลการ ทดลองว่าเป็นไปตามที่ตั้งสมมติฐานไว้หรือไม่ โครงงานประเภทนี้ต้องสรุปความรู้หรือผลการทดลองเป็น หลักการหรือแนวทางการปฏิบัติไว้ เช่น โครงงานการทดลองยากันยุงจากพืชสมุนไพร โครงงานการทดลอง ปลูกพืชสวนครัวโดยใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ เป็นต้น ๑.๓ โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสาคัญของโครงงาน
  • 2. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ เป็นโครงงานที่ประยุกต์หลักการทางวิทยาศาสตร์เข้าสู่ กระบวนการปฏิบัติ โดยอาศัยเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ เพื่อประดิษฐ์ชิ้นงานใหม่ อาจเป็นของใช้ เครื่องประดับจากวัสดุเหลือใช้ หรือนาวัสดุท้องถิ่นที่มีมากมายมาใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น โครงงานการ ประดิษฐ์เครื่องจักสานจากผักตบชวา โครงงานการประดิษฐ์เครื่องช่วยสอนวิชาภาษาอังกฤษ เป็นต้น ๑.๔ โครงงานประเภททฤษฎี โครงงานประเภททฤษฎี เป็นโครงงานที่มีลักษณะเป็นการหาความรู้ใหม่ โดยการ รวบรวมข้อมูลและนามาวิเคราะห์จากสถิติแล้วอภิปราย หรือเป็นโครงงานที่ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกิดจากข้อ สงสัย อาจเป็นการนาบทเรียนมาขยายเพื่อศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมให้ได้ความรู้ในแง่มุมที่กว้างและลึกกว่าเดิม เช่น โครงงานการศึกษาคาซ้อนในวรรณคดีร้อยแก้ว โครงงานการศึกษาข้อคิดจากเรื่องพระมโหสถชาดก เป็น ต้น ๒. ขั้นตอนการทาโครงงาน การทาโครงงานมีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้ ๒.๑ การคิดและการเลือกหัวเรื่อง ผู้เรียนจะต้องคิด และเลือกหัวเรื่องของโครงงานด้วย ตนเองว่าอยากจะศึกษาอะไร ทาไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คาถามหรือ ความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเรื่องของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เมื่อใครได้อ่านชื่อเรื่องแล้วควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานนี้ทาจากอะไร การกาหนดหัวเรื่องของโครงงานนั้นมี แหล่งที่จะช่วยกระตุ้นให้เกิดความคิดและความสนใจหลายแหล่งด้วยกัน เช่น จากการอ่านหนังสือ เอกสาร บทความ การเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ การฟังบรรยายทางวิชาการ การเข้าชมนิทรรศการหรืองานประกวด โครงงานทางวิทยาศาสตร์ การสนทนากับบุคคลต่างๆ หรือจาการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ รอบตัว เป็นต้น นอกจากนี้ ควรคานึงถึงประเด็นต่อไปนี้ - ความเหมาะสมของระดับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน - วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ - งบประมาณ - ระยะเวลา - ความปลอดภัย - แหล่งความรู้
  • 3. ๒.๒ การวางแผน การวางแผนการทาโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่งต้องมีการ วางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดาเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนาเสนอต่อผู้สอน หรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดาเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทาโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ ๑) ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้ตรง ๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน ๓) ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน ๔) หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทา โครงงานเรื่องนี้ มีความสาคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทาเป็นเรื่องใหม่หรือมี ผู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทาได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่น ทาไว้อย่างไร หรือเป็นการทาซ้าเพื่อตรวจสอบผล ๕) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของงานที่จะทาได้ชัดเจนขึ้น ๖) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคาตอบหรือคาอธิบาย ที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่สาคัญ คือ เป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางในการดาเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย ๗) วิธีดาเนินงานและขั้นตอนการดาเนินงาน จะต้องอธิบายว่า จะออกแบบการ ทดลองอะไรอย่างไร จะเก็บข้อมูลอะไรบ้างรวมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ มีอะไรบ้าง ๘) แผนปฏิบัติงาน อธิบายเกี่ยวกับกาหนดเวลาตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้นการ ดาเนินงานในแต่ละขั้นตอน ๙) ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑๐) เอกสารอ้างอิง ๒.๓ การดาเนินงาน เมื่อที่ปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็นขั้นลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ระบุไว้ ผู้เรียนต้องพยายามทาตามแผนงานที่วางไว้ เตรียมวัสดุ
  • 4. อุปกรณ์และสถานที่ให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คานึงถึงความประหยัดและปลอดภัยในการ ทางาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทาอะไรไปบ้าง ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร พยายามบันทึกให้เป็นระเบียบและครบถ้วน ๒.๔ การเขียนรายงาน การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งที่จะให้ผู้อื่นได้ เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการดาเนินงาน ผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เกี่ยวกับโครงงานนั้น การเขียนโครงงานควรใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ชัดเจนและครอบคลุมประเด็นสาคัญๆ ทั้งหมดของ โครงงาน ๒.๕ การนาเสนอผลงาน การนาเสนอผลงาน เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงานและเข้าใจถึงผลงาน นั้น การนาเสนอผลงานอาจทาได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์จาลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซึ่งอาจมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายด้วยคาพูด หรือการรายงานปากเปล่า การบรรยาย สิ่งสาคัญคือ พยายามทาให้การแสดงผลงานนั้นดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจ ง่าย และมีความถูกต้องของเนื้อหา ๓. การเขียนรายงานโครงงาน การเขียนรายงานโครงงานเป็นรูปแบบหนึ่งของการนาเสนอผลงานของโครงงานที่ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้าตั้งแต่ต้นจนจบ การกาหนดหัวข้อในการเขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกันทุกโครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้องเหมาะสมกับประเภทของโครงงานและระดับชั้นของผู้เรียน องค์ประกอบ ของการเขียนรายงานโครงงาน แบ่งกว้างๆ เป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑. ส่วนปกและส่วนต้น ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย ๑) ชื่อโครงงาน ๒) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชั้น โรงเรียน และวันเดือนปีที่จัดทา ๓) ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ๔) คานา
  • 5. ๕) สารบัญ ๖) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถ้ามี) ๗) บทคัดย่อสั้นๆ ที่บอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึ่งประกอบด้วย เรื่อง วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา ระยะเวลา และสรุปผล ๘) กิตติกรรมประกาศ เพื่อแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงานที่ให้ความ ช่วยเหลือหรือมีส่วนเกี่ยวข้อง ๒. ส่วนเนื้อเรื่อง ส่วนเนื้อเรื่อง ประกอบด้วย ๑) บทนา บอกความเป็นมา ความสาคัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูง ใจในการเลือกหัวข้อโครงงาน ๒) วัตถุประสงค์ของโครงงาน ๓) สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า ๔) การดาเนินงาน อาจเขียนเป็นตาราง แผนผังโครงงานเพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปตามหัวข้อเรื่อง ตรงตามวัตถุประสงค์ของโครงงาน และพิสูจน์คาตอบ (สมมติฐาน) ตามประเด็นที่กาหนด ดังตัวอย่างการ เขียนแผนผังโครงงานต่อไปนี้ ในแผนผังโครงงานทาให้เห็นระบบการทางานอย่างมีเป้าหมาย มีการวางแผนการ ทางาน จะเห็นได้ว่าสิ่งที่ต้องการทราบ คือ หัวข้อย่อย หรือคาถามย่อยของหัวข้อโครงงาน ถ้ามีมาก ๑ ข้อ ก็ จะเรียงลาดับทีละหัวข้อ พร้อมทั้งบอกสมมติฐาน วิธีศึกษา และแหล่งศึกษาค้นคว้าตามแผนผังให้ครบทุก ข้อ สิ่งที่ต้องการทราบ สมมติฐาน วิธีการศึกษา แหล่งศึกษา/แหล่งข้อมูล หัวข้อย่อยจากหัวข้อเรื่องของ โครงงานที่ต้องการหาคาตอบ การตอบคาถามล่วงหน้า ค้นคว้า สอบถาม สัมภาษณ์ สังเกต ศึกษาโดยการดู- ฟัง จากสื่อชนิดต่างๆ - เอกสาร หนังสือ - สถานที่ บุคคล ๕) สรุปผลการศึกษา เป็นการอธิบายคาตอบที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ตาม หัวข้อย่อยที่ต้องการทราบ ว่าเป็นไปตามสมมติฐานหรือไม่ ๖) อภิปรายผล บอกประโยชน์ หรือคุณค่าของผลงานที่ได้ และบอกข้อจากัด หรือปัญหา อุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมทั้งบอกข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้า โครงงานลักษณะใกล้เคียงกัน
  • 6. ๓. ส่วนท้าย ส่วนท้าย ประกอบด้วย ๑) บรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง หรือเอกสารที่ใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ ตารา บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น หนังสือ ชื่อ นามสกุล. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์, ปีที่พิมพ์ บทความในวารสาร ชื่อผู้เขียน "ชื่อบทความ," ชื่อวารสาร. ปีที่หรือเล่มที่ : หน้า ;วัน เดือน ปี.คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ์ชื่อผู้เขียน "ชื่อคอลัมน์ : ชื่อเรื่องในคอลัมน์" ชื่อ หนังสือพิมพ์.วัน เดือน ปี. หน้า. ๒) ภาคผนวก เช่น โครงร่างโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสัมภาษณ์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าของทุก ๆ สังคมในโลกปัจจุบันนี้ เทคโนโลยีด้านนี้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงเป็นเรื่องยากที่ประชาชนจะคอยติดตามความก้าวหน้าอยู่ ตลอดเวลาและเป็นสิ่งที่ไม่เกิดประโยชน์คุ้มค่าอีกด้วย ดังนั้นการศึกษาเทคโนโลีของคอมพิวเตอร์จึงต้องศึกษา หลักการและเนื้อหาพื้นฐานเป็นสาคัญ การศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นสิ่งจาเป็นเสมือนกับการศึกษาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ คอมพิวเตอร์ได้ เปลี่ยนแปลงโลกของเราในด้านต่าง ๆ มากมายได้แก่ - สังคมโดยส่วนใหญ่เปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมเป็นสังคมสารสนเทศ - การตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ มักขึ้นอยู่กับข้อมูลซึ่งได้จากระบบคอมพิวเตอร์ - คอมพิวเตอร์กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญแทนเครื่องมืออื่น ๆ ในอดีต เช่น เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิดเลข เป็นต้น - คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการออกแบบสถานการณ์หรือปัญหาที่ซับซ้อนต่าง ๆ - คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารของโลกปัจจุบัน นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาเรียนวิทยาศาสตร์ธรรมชาติเพื่อความเข้าใจความเป็นไปของ ธรรมชาติในโลก ในทานองเดียวกันนักเรียนต้องเรียนวิชาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์เพื่อความเข้าใจในสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของสังคมต่าง ๆ ในยุคสารสนเทศ เนื้อหาวิชาทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน โรงเรียนระดับมัธยมศึกษามีเป้าหมายที่จะพัฒนานักเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจในวิทยาการของคอมพิวเตอร์ และมีความสามารถในการพัฒนาโปรแกรมได้ ดังนั้นการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์จะเป็นสิ่งที่ทาให้นักเรียน สามารถบรรลุเป้าหมายได้อย่างสมบูรณ์
  • 7. จุดมุ่งหมายที่สาคัญประการหนึ่งของการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ในโรงเรียน คือการที่นักเรียนได้มีโอกาส ฝึกความสามารถในการนาความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหา ความรู้ต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง ซึ่งวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากวิธีหนึ่งคือการที่นักเรียนได้มีโอกาสทาโครงงาน คอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นงานวิจัยในระดับนักเรียน เป็นการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีอยู่ใน การศึกษา ทดลอง แก้ปัญหาต่าง ๆ เพื่อนาผลที่ได้มาประยุกต์ใช้งานจริง หรือใช้เพื่อช่วยสร้างสื่อเพื่อเสริม การเรียนให้ได้ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โครงงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ที่ช่วยให้นักเรียน ได้เรียนรู้และฝึกฝนการใช้ทักษะการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ พร้อมทั้งเครื่องมือต่าง ๆ ในการ แก้ปัญหา รวมทั้งการพัฒนาการสร้างผลงานจริงอีกด้วย โครงงานคอมพิวเตอร์ที่จะทาในระดับมัธยมศึกษาควรเป็นประเด็นหรือปัญหาที่นักเรียนสนใจ ใคร่รู้ และสามารถใช้ความรู้ ทักษะ ตลอดจนประสบการณ์ในระดับของนักเรียน เพื่อคิดแนวทางในการ แก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม เพื่อให้โครงงานคอมพิวเตอร์นั้นมีคุณค่ายิ่ง อย่างไรก็ตาม เรื่องที่นักเรียน สนใจและคิดที่จะทาโครงงานอาจมีผู้สนใจทามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้าและ พัฒนามาแล้ว แต่นักเรียนก็ยังสามารถทาโครงงานดังกล่าวได้ เพียงแต่คิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ กิจกรรมที่จัดว่าเป็นโครงานคอมพิวเตอร์ควรมีองค์ประกอบหลักดังต่อไปนี้ - เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับซอต์ฟแวร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ - นักเรียนเป็นผู้ริเริ่มและเลือกเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้า พัฒนาด้วยตนเองตามความสนใจและระดับ ความรู้ความสามารถ - นักเรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษา ค้นคว้า ตลอดจนการพัฒนาเก็บรวบรวมข้อมูลหรือประดิษฐ์ คิดค้น รวมทั้งการสรุปผล และการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีครูอาจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นผู้ให้คาปรึกษา การทาโครงงานคอมพิวเตอร์มีของเขตกว้างขวางมาก ตั้งแต่เรื่องที่ง่าย ๆ ไปจนถึงเรื่องที่ยุ่งยากซับซ้อน โครงงานคอมพิวเตอร์บางเรื่องอาจใช้เวลาสั้นในการพัฒนา จนถึงเรื่องที่ใช้เวลาเป็นภาคเรียนหรือปีการศึกษา โครงงานคอมพิวเตอร์บางเรื่องเสียค่าใช้จ่ายเพียงเล็กน้อยจนถึงนับพันบาท นักเรียนจึงควรศึกษารายละเอียด และงบประมาณต่างๆ ของโครงงานก่อน จึงค่อยเลือกทาโครงงานที่เหมาะสมกับระดับความรู้ ความสามารถ และความสนใจของนักเรียน โดยทั่ว ๆ ไป การทาโครงงานคอมพิวเตอร์จัดเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการ
  • 8. สอนรายวิชาคอมพิวเตอร์ทุกระดับการศึกษา โดยอาจจะทาเป็นกลุ่มหรอทาเป็นรายบุคคล ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความ สนใจของนักเรียนแต่ละคนแต่ละกลุ่มเป็นสาคัญ จุดมุ่งหมายสาคัญของการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ไม่ได้อยู่ที่การส่งเข้าประกวดเพื่อรับรางวัล แต่เป็นโอกาสที่ นักเรียนจะได้ประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ ต่าง ๆ ตลอดจนการแสดงผลงานของตนเองเพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองและผู้ที่สนใจในชุมชนเมื่อมีการจัด กิจกรรมของโรงเรียนหรืองานอื่น การทาโครงงานคอมพิวเตอร์และการจัดงานแสดงโครงงานจะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้นักเรียนมีความรู้ ความชานาญ และมีความมั่นใจในการนาระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้า หาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเองและยังมีคุณค่าอื่น ๆ อีกดังต่อไปนี้ 1. สร้างความสานึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง 2. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง 3. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการ เรียนในห้องตามปกติ 4. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน 5. กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาคอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบ อาชีพทางด้านนี้ 6. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ 7. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิว เตอร์ และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น 8. เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทาผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นโครงงานเพื่อนาเสนอต่อชุมชน การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์นั้น นักเรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เหตุผลที่ใช้ในการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และการแทนข้อมูลใน คอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะเริ่มทาโครงงาน และใช้ความรู้ดังกล่าวเป็นพื้นฐานในการสร้างความรู้ใหม่ในโครงงาน คอมพิวเตอร์ โดยในการทาโครงงานนักเรียนอาจจะมีโอกาสได้ทาความรู้จักกับความรู้ใหม่เพิ่มเติมอีกด้วย เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ฐานข้อมูล (Database) และการสืบค้นข้อมูล (Information Retrieval) เป็นต้น ซึ่งจะขึ้นอยู่กับหัวข้อที่นักเรียนเลือกทาโครงงาน
  • 9. ความหมายของการเรียนรู้แบบโครงงาน การเรียนรู้แบบโครงงาน คือ การจัดให้นักศึกษารวมกลุ่มกันทากิจกรรมร่วมกัน โดยมีจุดมุ่งหมายใน การศึกษาหาความรู้ หรือทากิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งตามความสนใจของนักศึกษา การเรียนรู้แบบโครงงานนี้ จึงมุ่งตอบสนองความสนใจ ความกระตือรือร้น และความใฝ่เรียนรู้ของผู้เรียนเอง ในการแสวงหาข้อมูล ความรู้ต่างๆ เพื่อทาโครงงานร่วมกันให้ประสบความสาเร็จตามจุดมุ่งหมายของโครงงาน การเรียนรู้โดยใช้ โครงงานเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้(Project Centered Learning) ซึ่งหมายถึง การกระทากิจกรรมร่วมกัน ช่วยเหลือกันในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในกลุ่ม ด้วยวิธีการปฏิบัติจริง เพื่อการเรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา อัน นาไปสู่ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ แสวงหาข้อมูลและแนวทางในการแก้ปัญหาเหล่านั้น การเรียนรู้แบบ โครงงาน อาจมีชื่อเรียกอื่นที่มีความหมายเดียวกัน ได้แก่ การเรียนรู้โดยใช้โครงงาน การเรียนรู้แบบโครงการ การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ใน เรื่องความหมาย ได้มีผู้กล่าวถึงไว้หลายคน เช่นจากิซ และโรบิน (Jaques, 1984; Robbins, 1997) ได้ ให้ความหมายของวิธีการเรียนรู้แบบโครงงาน (Group Project) ว่าหมายถึง การรวมกลุ่มกันของบุคคล มากกว่า 2 คนขึ้นไปมี ปฏิสัมพันธ์กัน ร่วมกันกระทากิจกรรมอันนาไปสู่จุดมุ่งหมายบางประการ นอกจากนั้นแล้วโครงงานเป็นการจัดสถานการณ์ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ทางานร่วมกัน แลกเปลี่ยนข้อมูล ซึ่งกันและกันและสนับสนุนกันในการเรียนรู้ (Fascilitate Learning) สุชาติ วงศ์ สุวรรณ (2542) กล่าวถึงความหมายของ การเรียนรู้โดยใช้โครงงานว่าหมายถึง การจัดการเรียนรู้อีกรูปแบบ หนึ่งที่เป็นการให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงในลักษณะของการศึกษา สารวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์ คิดค้น โดยมีครูเป็นผู้กระตุ้น แนะนา และให้คาปรึกษาอย่างใกล้ชิด • สรุปได้ว่า การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นการเสริมสร้างศักยภาพการเรียนรู้ของแต่ละคนให้ได้รับ การพัฒนาได้เต็มขีดความสามารถที่มีอยู่อย่างแท้จริง ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้เรียนวิธีการ เรียนรู้ สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง รวมทั้งปลูกฝังนิสัยรักการเรียนรู้ อันจะนาไปสู่การเป็นบุคคล แห่งการเรียนรู้ได้ในที่สุด
  • 10. การเรียนรู้แบบโครงงาน โครงงาน ( project ) จึงเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างผู้เรียน กับห้องเรียน และโลกภายนอก ซึ่งผู้เรียนสามารถจะนาความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ได้ในชีวิตจริงของผู้เรียน ทั้งนี้เพราะว่า ผู้เรียนต้องนาเอา ความรู้ที่ได้จากชั้นเรียนมาบูรณาการเข้ากับกิจกรรมที่จะกระทา เพื่อนาไปสู่ความรู้ใหม่ ๆ ด้วยการสร้าง ความหมาย การแก้ปัญหา และการค้นพบด้วยตนเอง ผู้เรียนต้องสร้างและกาหนดความรู้ จากความคิดและ แนวคิดที่มีอยู่กับความคิดและแนวคิดที่เกิดขึ้นใหม่ ทาให้เกิดการปรับเปลี่ยนความรู้ให้เป็นเครื่องมือในการ เรียนรู้สิ่งใหม่ ความสาคัญของการเรียนรู้แบบโครงงานw การที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านโครงงาน ทาให้มองเห็น ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดกับข้อเท็จจริง ซึ่งจะถูกเชื่อมโยงเข้าเป็นเรื่องเดียวกัน ในลักษณะของ ความสัมพันธ์ และการเชื่อมโยง อันจะสามารถนาไปใช้ในสถานการณ์อื่นได้อย่างหลากหลาย สามารถบูรณา การความรู้มาช่วยกันทาโครงงาน เรียนรู้จักการทางานร่วมกับผู้อื่น รู้จักการหาข้อมูล ความรู้ต่างๆด้วยตนเอง ฝึกทักษะการสื่อสาร รู้จักการ การคิด แก้ไขปัญหาในส่วนของผู้เรียน การเรียนรู้จากโครงงาน ถือได้ว่าเป็น การเรียนรู้ร่วมกันภายในกลุ่ม เพราะทุกคนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการค้นหาคาตอบ หาความหมาย ตลอดจน แนวทางแก้ไขปัญหา ร่วมคิด ร่วมทางาน ส่งผลให้เกิดกระบวนการค้นพบกระบวนการเรียนรู้สิ่งต่างๆได้ด้วย ตนเองสามารถนาความรู้ที่ได้รับมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และแลกเปลี่ยนพื้นฐานความรู้ระหว่างผู้เรียน ด้วยกัน เป็นลักษณะของการเรียนรู้ร่วมกัน (Collaboration learning) ความรู้และสามารถด้านต่าง ๆ ที่มี อยู่ในตัวของผู้เรียน จะถูกกระตุ้นให้ได้แสดงออกมาอย่างเต็มที่ ขณะที่ปฏิบัติกิจกรรม เช่นเดียวกับ ทักษะ ต่าง ๆ ที่จาเป็นสาหรับชีวิต เช่น ทักษะการทางาน ทักษะการอยู่ร่วมกัน ทักษะการจัดการ ฯลฯ ก็จะถูก นาเอามาใช้อย่างเต็มตามศักยภาพ ในขณะที่ร่วมกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างการทาโครงงาน การเรียนรู้แบบ โครงงานยังช่วยส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมทั้งหลายก็จะถูกปลูกฝัง และสั่งสมในตัวผู้เรียนใน ขณะที่ทุกคนร่วมกันทางาน รวมทั้งเป็นการปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตย ฝึกหัดการรู้จักรับฟังความคิดเห็น ของผู้อื่นเนื่องจากว่าแนวคิดหลักของการเรียนรู้แบบโครงงาน จะใช้หลักการเรียนรู้ร่วมกัน (Team learning) อันจะนาไปสู่การเรียนรู้ด้วยการนาตนเอง ซึ่งมีผลโดยตรงต่อการเพิ่มโอกาสในการเจริญก้าวหน้า ของบุคคลในการเรียนรู้และพัฒนาความรู้ ความสามารถของตนเอง ความสามารถในการมีปฏิสัมพันธ์และ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดีและมีประสิทธิภาพ ไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นเองได้ หากแต่เป็นสิ่งที่ต้องเกิดจากการเรียนรู้ เพื่อจะทาให้ทักษะดังกล่าวเกิดขึ้นในตัวของบุคคล การเรียนรู้เพื่อให้เกิดความสามารถและทักษะดังกล่าว
  • 11. สามารถทาให้เกิดได้โดยใช้ นาหลักการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนรวมกลุ่มกัน มีโอกาสร่วมกันในการเรียนรู้และ ทางานร่วมกัน โดยใช้วิธี “group assignments in their courses”ซึ่งมีครูเป็นผู้อานวยความสะดวก ให้แก่ผู้เรียน และช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ทักษะดังกล่าวจากประสบการณ์ในการการทาโครงงานร่วนกัน ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานจึงต้องเน้น และให้ความสาคัญที่ตัวผู้เรียน โดยมุ่งให้ผู้เรียน ได้พัฒนาขีดความสามารถของตนเองอย่างเต็มตามศักยภาพ มีความสมดุลทั้งด้านจิตใจ ร่างกาย ปัญญา และ สังคม เป็นผู้รู้จักคิด วิเคราะห์ รักการเรียนรู้ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีเจตคติที่ดี มีวินัย มีความรับผิดชอบ และมีทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิต รวมทั้งทักษะทางอาชีพ สามารถพึ่งตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นอย่าง สร้างสรรค์ การเรียนรู้แบบโคงงานต้องมุ่งพัฒนาความสามารถทางอารมณ์ได้แก่ ความสามารถในการมีสติรู้ตัวและ ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคม ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยสาคัญที่จะทาให้คนเราประสบความสาเร็จในชีวิต เช่นเดียวกับความสามารถทางปัญญา ความสามารถหรือความฉลาดทางอารมณ์ที่จะต้องปลูกฝังให้ผู้เรียน ได้แก่ การรู้จักตนเอง การเข้าใจตนเอง ความสามารถในการควบคุมตนเอง ความเข้าใจและเห็นอกเห็นใจ ผู้อื่น มีความเชื่อมั่นและเห็นคุณค่าในตัวเอง ความสามารถในการแก้ไขข้อขัดแย้งทางอารมณ์ ประโยชน์ของการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน แคทซ์และชาร์ด (Katz and Chard , 1994) กล่าวถึงการสอนแบบโครงการว่า วิธีการสอนนี้มี จุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาเด็กทั้งชีวิตและจิตใจ (Mind) ซึ่งชีวิตจิตใจในที่นี้หมายรวมถึง ความรู้ ทักษะ อารมณ์ จริยธรรม และความรู้สึกถึงสุนทรียศาสตร์ แคทซ์และชาร์ด ได้เสนอว่า ในการจัดการเรียนการสอน ระดับปฐมวัยโดยใช้การสอนแบบโครงการควรมีเป้าหมายหลัก 5 ประการ คือ ประโยชน์ของการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน 1.เป้าหมายทางสติปัญญาและเป้าหมายทางจิตใจของเด็ก (Intellectual Goals and the Life of the Mind) คือการจัดการเรียนการสอนแบบเตรียมความพร้อม มุ่งให้เด็กมี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม อย่างหลากหลาย และการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เด็กควรจะได้เข้าใจประสบการณ์และ สิ่งแวดล้อมรอบตัวอย่างลึกซึ้ง ดังนั้นเป้าหมายหลักของการเรียนระดับนี้จึงเป็นการมุ่งให้เด็กพัฒนาความรู้ความ เข้าใจโลกที่อยู่รอบ ๆ ตัวเขา และปลูกฝังคุณลักษณะการอยากรู้อยากเรียนให้กับผู้เรียน
  • 12. 2. ความสมดุลของกิจกรรม (Balance of Activities) การสอนแบบโครงการจะทาให้ผู้เรียน ได้ ปฏิบัติกิจกรรมทั้งที่เป็นกิจกรรมทางวิชาการ ใช้กิจกรรมเป็นสื่อทาให้เกิดการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ ทากิจกรรม ค้นหาความรู้ เป็นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมต่าง ๆที่อยู่รอบตัว 3. โรงเรียนคือส่วนหนึ่งของชีวิต (School as Life) การเรียนการสอนในโรงเรียนต้องเป็นส่วน หนึ่งในชีวิตของเด็ก ไม่ใช่แยกออกจากชีวิตประจาวันโดยทั่วไป กิจกรรมในโรงเรียนจึงควรเป็นกิจกรรมที่ เกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตปกติ การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมและผู้คนรอบๆ ตัวเด็ก 4. ห้องเรียนเป็นชุมชนหนึ่งของเด็ก ๆ (Community Ethos in the Class) เด็ก ๆ ทุกคนมี ลักษณะเฉพาะตัว การสอนแบบโครงการเปิดโอกาสให้เด็กแต่ละคนได้แสดงออกถึงคุณลักษณะ ความรู้ ความเข้าใจ ความเชื่อของเขา ในการสอนแบบนี้จึงเกิดการแลกเปลี่ยนการมี ปฏิสัมพันธ์กันอย่างลึกซึ้ง เด็ก เรียนรู้ความแตกต่างของตนกับเพื่อน ๆ 5.การเรียนการสอนเป็นสิ่งที่ท้าทายครู (Teaching as a Challenge) ในการสอนแบบโครงการ ครูไม่ใช่ผู้ถ่ายทอดความรู้ให้กับเด็ก แต่เป็นผู้คอยกระตุ้น ชี้แนะ และให้ความสะดวกในการเรียนรู้ของผู้เรียน โครงงานบางโครงงานครูเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กับเด็ก ครูร่วมกันกับเด็กคิดหาวิธีแก้ปัญหา ลงมือ ปฏิบัติไปด้วยกัน ถือเป็นการเรียนรู้ร่วมกัน การเรียนรู้โดยใช้โครงงาน สามารถช่วยให้ผู้เรียนได้สามารถฝึกทักษะสาคัญ ๆ ดังนี้ 1. สัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal skill) 2. การแก้ปัญหาและความขัดแย้ง (Conflict resolution) 3. ความสามารถในการถกเถียง เจรจา เพื่อนาไปสู่การตัดสินใจ (Consensus on decision) 4. เทคนิคการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลที่มีประสิทธิภาพ (Effective interpersonal Communication Techniques) 5. การจัดการและการบริหารเวลา 6. เตรียมผู้เรียนเพื่อจะออกไปทางานร่วมกับผู้อื่น 6.1 ทักษะในแง่ความรู้เกี่ยวกับความสามารถในการควบคุมจิตใจและควบคุม ตนเอง (discipline knowledge) 6.2 ทักษะเกี่ยวกับกระบวนการกลุ่ม (group-process skill)
  • 13. 7. ช่วยให้ผู้เรียนได้มีความรู้มากขึ้น มีมุมมองหลากหลาย (multi perspective) อันจะนาไปสู่ความสามารถ ทางสติปัญญา การรับรู้ ความเข้าใจ ความจดจา และความสามารถในการทางานร่วมกับผู้อื่นได้ดียิ่งขึ้น 8. เพิ่มความสามารถในการเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ได้ดีขึ้น อันนาไปสู่ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และทักษะ การสื่อสาร (critical thinking and communication skill) (Freeman, 1995) 9. ช่วยสนับสนุนการพัฒนาทักษะการทางานเป็นทีมจากการเรียนรู้ จากการเรียนรู้จาก ประสบการณ์ (Experiential learning) (Kolb, 1984) 10. การเรียนแบบโครงงานช่วยให้เกิดการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน (Cooperative learning) ในกลุ่มของ ผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนแต่ละคนจะแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกันในการเรียน โดยอาศัยกระบวนการ กลุ่ม (group dynamic) การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นการเรียนรู้ที่ให้ความสาคัญต่อผู้เรียน ในการเลือกเรียนสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง ทั้งเนื้อหา วิธีการ โดยมีครูเป็นผู้คอยให้ความช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้ ประสบความสาเร็จในการเรียน ทั้งในแง่ของความรู้ด้านวิชาการและความรู้ที่ใช้ในการดาเนินชีวิตและการ ทางานในอนาคต เป็นผู้มีความสมดุลทั้งด้านจิตใจ ร่างกาย ปัญญา อารมณ์ สังคม ประเภทของโครงงาน โครงงานที่ผู้เรียนจะปฏิบัติในแต่ละระดับ อาจจัดแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 4 ประเภท ตาม ลักษณะของการปฏิบัติได้ดังนี้ (สุชาติ วงศ์สุวรรณ, 2542) 1.โครงงานที่เป็นการสารวจ รวบรวมข้อมูล 2.โครงงานที่เป็นการค้นคว้า ทดลอง 3.โครงงานที่เป็นการศึกษา ความรู้ ทฤษฎี หลักการ หรือ แนวคิดใหม่ 4.โครงงานที่เป็นการประดิษฐ์ คิดค้น โครงงานที่เป็นการสารวจ รวบรวมข้อมูล โครงงานประเภทนี้ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่อง หนึ่ง แล้วนข้อมูลที่ได้จากการสารวจนั้นมาจาแนกเป็นหมวดหมู่ และนาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ อย่างมีระบบ เพื่อให้เห็นถึงลักษณะหรือความสัมพันธ์ของเรื่องดังกล่าวได้ชัดเจนยิ่งขึ้น การปฏิบัติตามโครงงานนี้ ผู้เรียน จะต้องไปศึกษา รวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น สอบถาม สัมภาษณ์ สารวจ โดยใช้เครื่องมือ เช่น
  • 14. แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก ฯลฯ ในการรวบรวมข้อมูลที่ต้องการศึกษา ตัวอย่างโครงงานที่ เป็นการสารวจ รวบรวมข้อมูล เช่น การสารวจประชากร พืช สัตว์ การสารวจความต้องการเกี่ยวกับอาชีพ โครงงานที่เป็นการค้นคว้า ทดลอง โดยการออกแบบโครงงานในรูปของการทดลองเพื่อศึกษาว่า ตัวแปรหนึ่งจะมีผลต่อตัวแปรที่ต้องการ ศึกษาอย่างไรบ้าง ด้วยการควบคุมตัวแปรอื่น ๆ ซึ่งอาจมีผลต่อตัวแปรที่ต้องการศึกษาไว้ การทาโครงงาน ประเภทนี้ จะมีขั้นตอนการดาเนินงานประกอบด้วย การกาหนดปัญหา การตั้งวัตถุประสงค์ หรือสมมุติฐาน การออกแบบทดลอง การรวบรวมข้อมูล การดาเนินการทดลอง การแปรผล และสรุปผลการทดลอง ตัวอย่างโครงงานที่เป็นการค้นคว้า ทดลอง เช่น วิธีการประหยัดน้าประปาภายในบ้าน โครงงานที่เป็นการศึกษาความรู้ ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม่ โครงงานประเภทนี้ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอความรู้ ทฤษฎี หลักการ แนวคิดใหม่ ๆ เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ที่ยังไม่มีใครคิดมาก่อน หรือขัดแย้ง หรือขยายจากของเดิมที่มีอยู่ซึ่งความรู้ ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดที่เสนอต้องผ่านการพิสูจน์อย่างมีหลักการหรือวิธีการที่น่าเชื่อถือตามกติกา/ข้อตกลงที่ กาหนดขึ้นมาเอง หรืออาจใช้กติกาหรือข้อตกลงเดิมมาอธิบายข้อความรู้ ทฤษฎี หลักการ แนวคิดใหม่ ก็ได้ โครงงานที่เป็นการประดิษฐ์คิดค้น โครงงานประเภทนี้ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ คือ การนาเอาความรู้ ทฤษฎี หลักการ หรือ แนวคิดมาประยุกต์ใช้ โดยการประดิษฐ์เป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียน การ ทางาน หรือการใช้สอยอื่น ๆ การประดิษฐ์คิดค้นตามโครงงานนี้ อาจเป็นการประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ โดยที่ยังไม่มีใครทา หรืออาจเป็น การปรับปรุง เปลี่ยนแปลง หรือดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ ขั้นตอนการเรียนรู้แบบโครงการ การจัดการเรียนแบบโครงการแบ่งขั้นตอนการดาเนินกิจกรรมในโครงการออกได้ 5 ระยะ ที่สาคัญ ดังนี้ –1. ระยะเตรียมการวางแผนเข้าสู่โครงการ (Preliminary Planning) –2. ระยะเริ่มต้นโครงการ (Getting Project Start) –3. ระยะดาเนินโครงการ (Project in Progress)
  • 15. –4. ระยะสรุปและอภิปรายผลโครงการ (Consolidating Project) –5.ระยะการนาเสนอโครงงาน ( Present Project ) การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องทาโครงงาน – การดาเนินงานตามขั้นตอนนี้เป็นการคิดหาหัวข้อเรื่องที่จะทาโครงงาน โดย ผู้เรียนต้องตั้งต้นด้วยคาถาม ที่ว่า – - จะศึกษาอะไร – - ทาไมต้องศึกษาเรื่องดังกล่าว – สิ่งที่จะนามากาหนดเป็นหัวข้อเรื่องโครงงาน จะได้มาจาก ปัญหา คาถาม หรือความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องต่าง ๆ ของผู้เรียนเอง ซึ่งเป็นผลจากการที่ ผู้เรียนได้อ่านจากหนังสือ เอกสาร บทความ ยอมฟังความคิดเห็น ฟังการบรรยาย การสนทนา หรือจากการ ที่ได้ไปดูงาน ทัศนศึกษา การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องทาโครงงาน– หัวเรื่องของโครงงาน ต้องเป็นเรื่องที่เฉพาะเจาะจง และ ชัดเจนว่า โครงงานนี้ทาอะไร และควรเน้นเรื่องที่อยู่ใกล้ตัว หรือมีความคุ้นเคยกับเรื่องดังกล่าว เป็นเรื่องที่ นักศึกษามีความสนใจ อยากจะศึกษา ซึ่งนักศึกษาจะต้องใช้เวลาในการศึกษา พอสมควรที่จะทาให้ได้มาซึ่ง คาตอบ การศึกษาเอกสารและข้อมูล– การดาเนินงานตามขั้นตอนนี้จะทาให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในรายละเอียดต่าง ๆ ของเนื้อหาข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งทาให้เห็นถึงขอบข่ายของภาระงานที่จะดาเนินการ ของโครงงานที่จะทาผลที่ได้จากการดาเนินงานขั้นตอนนี้ จะช่วยทาให้ได้แนวคิดในการกาหนดขอบข่ายหรือเค้า โครงของเรื่องที่จะศึกษาชัดเจนว่า จะทาอะไร ทาไมต้องทาต้องการให้เกิดอะไร ทาอย่างไร ใช้ทรัพยากร อะไร ทากับใคร จะเสนอผลอย่างไร ฯลฯ และเป็นการเตรียมความรู้ ความเข้าใจในการทาโครงงานให้มาก ยิ่งขึ้น การเขียนเค้าโครงของโครงงาน –การดาเนินงานตามขั้นตอนนี้ เป็นการสร้างแผนที่ความคิด เป็น –การนาเอาภาพของงาน และภาพ ความสาเร็จของโครงงานที่ –วิเคราะห์ไว้มาจัดทารายละเอียด เพื่อแสดงแนวคิด แผน และขั้น –ตอนการทา โครงงาน w การดาเนินงานในขั้นนี้อาจใช้การระดมสมอง ถ้าเป็นการทางานเป็นกลุ่ม เพื่อให้ผู้ร่วมงานและ ผู้เกี่ยวข้องทุกคนได้มองเห็นภาระงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้น รวมทั้งได้ทราบถึงบทบาทและระยะเวลาใน การดาเนินงาน เมื่อเกิดความชัดเจนแล้วจึงนาเอามากาหนดเขียนเป็นเค้าโครงของโครงงาน เค้าโครงของโครงงานจะประกอบด้วยหัวข้อตังนี้– หัวข้อ/รายการ รายละเอียดที่ต้องระบุ
  • 16. 1. ชื่อโครงงาน ทาอะไร กับใคร เพื่ออะไร 2. ชื่อผู้ทาโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้ 3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน ครู-อาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีในท้องถิ่น ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา ควบคุมการทา โครงงานของผู้เรียน 4. หลักการและเหตุผล สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการ และความคาดหวังที่จะเกิดผล 5. จุดหมาย/วัตถุประสงค์ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงาน ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ 6. ระยะเวลาดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้น 7. สมมุติฐานของการศึกษา (ในกรณีที่เป็นโครงงาน การทดลอง) ข้อตกลง/ข้อกาหนด/เงื่อนไข เพื่อเป็น แนวทางในการพิสูจน์ ให้เป็นไปตามที่กาหนด 8. ขั้นตอนการดาเนินงาน กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ สถานที่ 9. ปฏิบัติโครงงาน วัน เวลา และกิจกรรมดาเนินการต่าง ๆ ตามที่ระบุไว้ตั้งแต่เริ่มต้นจนแล้วเสร็จ 10. ผลที่คาดว่าจะได้รับสภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้งที่เป็นผลผลิตกระบวนการ และ ผลกระทบ 11. เอกสารอ้างอิง / บรรณานุกรม ชื่อเอกสาร ข้อมูล ที่ได้จากแหล่งต่าง ๆ ที่นามาใช้ในการดาเนินงาน การปฏิบัติโครงงาน – การดาเนินงานตามขั้นตอนนี้ เป็นการดาเนินงาน หลังจากที่โครงงานได้รับความเห็นชอบจากครู-อาจารย์ที่ ปรึกษา และได้รับการอนุมัติจากสถานศึกษาแล้ว ผู้เรียนต้องลงมือปฏิบัติงานตามแผนงานที่กาหนดไว้ในเค้า โครงของโครงงาน และระหว่างการปฏิบัติงาน ผู้เรียนต้องปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบ คานึงถึงความ ประหยัด และความปลอดภัยในการทางาน ตลอดจนคานึงถึงสภาพแวดล้อมด้วย การปฏิบัติโครงงาน– ในระหว่างการปฏิบัติงานตามโครงงาน ต้องมีการจดบันทึก –ข้อมูลต่าง ๆ ไว้อย่าง ละเอียดว่า ทาอะไร ได้ผลอย่างไร ปัญหา –อุปสรรค และแนวทางการแก้ไขอย่างไร การบันทึกข้อมูลดัง– กล่าวนี้ ต้องจัดทาอย่างเป็นระบบ ระเบียบ เพื่อจะได้ใช้เป็นข้อ –มูล สาหรับการปรับปรุงการดาเนินงานใน โอกาสต่อไปด้วย การปฏิบัติกิจกรรมตามที่ระบุไว้ในขั้นตอนการดาเนินงานในโครงงาน ถือว่าเป็นการเรียนรู้เนื้อหา ฝึกทักษะ ต่าง ๆ ตามที่ระบุไว้ในจุดประสงค์การเรียนรู้
  • 17. การเขียนรายงาน – การดาเนินงานตามขั้นตอนนี้ เป็นการสรุปรายงาน –ผล การดาเนินงานโครงงาน เพื่อให้ผู้อื่นได้ ทราบถึงแนวคิด วิธี –ดาเนินงาน ผลที่ได้รับ ตลอดจนข้อสรุป ข้อเสนอแนะต่าง ๆ –เกี่ยวกับ โครงงาน w การเขียนรายงาน ควรใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย กระชับ ชัดเจน และครอบคลุมประเด็นสาคัญ ๆ ของโครงงานที่ปฏิบัติไปแล้ว โดยอาจเขียนในรูปของ สรุป รายงานผล ซึ่งอาจประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้ บทคัดย่อ บทนา เอกสารที่เกี่ยวข้อง วิธีการดาเนินงาน ผลการศึกษา สรุปและอภิปรายผล ข้อเสนอแนะ และเอกสารอื่นๆเกี่ยวข้องจัดไว้ในภาคผนวก การแสดงผลงาน – การดาเนินงานตามขั้นตอนนี้ เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการทาโครงงาน เป็นการนาเสนอผลการ ดาเนินงานโครงงานทั้งหมดมาเสนอให้ผู้อื่นได้ทราบ ซึ่งผลผลิตที่ได้จากการดาเนินโครงงานประเภทต่าง ๆ มี ลักษณะเป็นเอกสาร รายงาน ชิ้นงาน แบบจาลอง ฯลฯ ตามประเภทของโครงงานที่ปฏิบัติ – การแสดงผล งาน ซึ่งเป็นการนาเอาผลการดาเนินงานมาเสนอนี้ สามารถจัดได้หลายรูปแบบ เช่น การจัดนิทรรศการ หรือ ทาเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ การจัดทาเป็นสื่อมัลติมีเดีย และอาจนาเสนอในรูปแบบ ของการแสดงผลงาน การนาเสนอ ด้วยวาจา รายงาน บรรยาย ฯลฯ ความหมายและคุณค่าของการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์ในระดับชั้นมัธยมศึกษาเป็นกิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการ เลือกศึกษาปัญหาที่ตนสนใจ ซึ่งอาจเป็นปัญหาที่ต้องใช้ความรู้ กระบวนการทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่อง คอมพิวเตอร์และวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน โครงงานบางเรื่องอาจต้องการวัสดุ อุปกรณ์นอกเหนือจากที่มีอยู่ ซึ่งนักเรียนจะต้องคิดออกแบบสร้างขึ้น หรือดัดแปลงเพื่อใช้งานได้ตรงกับความ ต้องการ โดยในการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์จะอยู่ภายใต้การดูแลและให้คาปรึกษาของครูในสาขาวิชา คอมพิวเตอร์หรือต่างสาาวิชารวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่าง ๆ ด้วย
  • 18. ที่มา : http://www.lks.ac.th/kuanjit/s4.htm http://sunyala.tripod.com/w002.htm http://www.banprak-nfe.com/webboard/index.php?topic=24.0