SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
สื่อการสอน เรื่อง
การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters)
รายวิชา เทคนิคปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 2
รหัสวิชา ว 30287
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
ครูผู้สอน นางสาวประพิณ แสงสะอาด
การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters)
มัลติมิเตอร์ (Multimeters) คือ เครื่องมือ
วัดทางไฟฟ้าที่สามารถวัดปริมาณไฟฟ้าได้หลาย
ปริมาณ แต่วัดได้ทีละปริมาณ โดยสามารถตั้งเป็น
โวลท์มิเตอร์ แอมป์มิเตอร์ หรือ โอห์มมิเตอร์ และ
เลือกไฟฟ้ากระแสตรง (DC) หรือไฟฟ้ากระแสสลับ
(AC) ได้ มัลติมิเตอร์บางชนิดมีคุณสมบัติการวัด
เพิ่มเติม เช่น วัดค่าความจุ วัดความถี่ และทดสอบ
ทรานซิสเตอร์ เป็นต้น
การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters)
มัลติมิเตอร์ SUNWA รุ่น YX-360TRE-B
ส่วนประกอบ
1) ปุ่มปรับตาแหน่งเข็มชี้เลขศูนย์
2) เข็มมิเตอร์ชี้ตาแหน่งค่าที่วัดได้
3) หน้าปัดแสดงค่าปริมาณการวัด
4) สวิทช์ปรับตั้งตาแหน่งมิเตอร์
5) ช่องเสียบสายวัดขั้วบวก (+)
6) ช่องเสียบสายวัดขั้วลบ (-)
7) ช่วงการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV) คือ 0-0.1V, 0-0.5V,
0.2.5V, 0-10V, 0-50V, 0-250V, 0-1000V
8) ช่วงการวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง (DCA) คือ 0-50μA,0-2.5mA,
0-25mA, 0-0.25A
9) ช่วงการวัดความต้านทานไฟฟ้า (Ω) คือ x1 Ω, x10 Ω, x100 Ω,
x1k Ω, x10k Ω
10) ช่วงการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ (ACV) คือ 0-10V, 0-50V,
0-250V, 0-1000V
รูปแสดงหมายเลขอ้างอิงส่วนประกอบ
ของมัลติมิเตอร์ SUNWA รุ่น YX-360TRE-B
1
2 3
4
56
7
8
9
10
การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters)
รูปแสดงหมายเลขอ้างอิงส่วนประกอบของมัลติมิเตอร์
SUNWA รุ่น YX-360TRE-B
1
2 3
4
56
7
8
9
10
การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง
ปรับมัลติมิเตอร์ให้เป็นโวลท์มิเตอร์ก่อน โดย
หมุนสวิทช์บนตัวมิเตอร์ ไปที่ตาแหน่งช่วงการวัดความ
ต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV) (หมายเลขอ้างอิง 7)
ซึ่งมี 7 ช่วงการวัดคือ 0-0.1V, 0-0.5V, 0.2.5V, 0-10V,
0-50V, 0-250V, 0-1000V
การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters)
หลักการนามัลติมิเตอร์ SUNWA ไปใช้ในการวัดความต่างศักย์
1. เลือกตาแหน่งที่ต้องการวัดความต่างศักย์ และตรวจสอบทิศ
ทางการไหลของกระแสไฟฟ้า
2. เสียบสายวัดมิเตอร์สีดาที่ขั้วลบ (- COM) และสายวัดสีแดงที่
ขั้วบวก (+) เข้ากับมัลติมิเตอร์
3. ตั้งช่วงการวัดให้สูงกว่าความต่างศักย์ของบริเวณนั้น โดย
หมุนสวิทช์บนตัวมิเตอร์ ไปที่ตาแหน่งช่วงการวัดความต่าง
ศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV)
4. นาสายวัดมิเตอร์ไปต่อขนานหรือต่อคร่อมวงจร โดยใช้หัววัด
แตะกับจุดที่ต้องการวัด และต้องให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าทาง
ขั้วบวก (+) ของมัลติมิเตอร์เสมอ ถ้าวัดสลับขั้วเข็มวัดจะตีกลับต้อง
รีบเอาสายวัดมิเตอร์ออกจากวงจรทันที จากนั้นทาการสลับหัววัด
ให้ถูกต้อง
การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters)
หลักการนามัลติมิเตอร์ SUNWA ไปใช้ในการวัดความต่างศักย์
5. การอ่านค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า ให้อ่านสเกลสีดาที่อยู่ใต้
แถบเงิน ซึ่งมีค่าระบุอยู่ใต้สเกล 3 ช่วง คือ 0-10, 0-50 และ 0-
250 ค่าที่อ่านได้ต้องสัมพันธ์กับช่วงการวัดที่ตั้งไว้
รูปแสดงการใช้มัลติมิเตอร์ SUNWA
วัดความต่างศักย์ไฟฟ้ ากระแสตรง
หน้าปัดแสดงค่าปริมาณการวัด
ของมัลติมิเตอร์ SUNWA
1. สเกลสาหรับอ่านค่าความ
ต้านทาน (Ω)
2. สเกลสาหรับอ่านค่าความ
ต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV),
กระแสไฟฟ้ากระแสตรง (DCA)
3. ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแส
สลับ (ACV)
1
2
3
การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters)
รูปแสดง เข็มวัดชี้ตาแหน่ง
ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ าที่วัดได้
ตารางแสดงค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าแต่ละช่วงการวัด
การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters)
การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ
ปรับมัลติมิเตอร์ให้เป็นโวลท์มิเตอร์กระแสสลับ โดยหมุนสวิทช์บนตัวมิเตอร์ ไปที่
ตาแหน่งช่วงการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง (ACV) (หมายเลขอ้างอิง 10) ซึ่งมี 4 ช่วงการ
วัดคือ 0-10V, 0-50V, 0-250V, 0-1000V จากนั้นเลือกช่วงการวัดให้เหมาะสม สาหรับการวัด
ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ เราสามารถต่อโดยให้สายวัดเส้นใดอยู่ข้างใดก็ได้ แต่วิธีวัดค่ายัง
ใช้หลักการเดียวกันกับโวลต์มิเตอร์กระแสตรง
การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters)
การวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง
ปรับมัลติมิเตอร์ให้เป็นแอมมิเตอร์ก่อน โดยหมุนสวิทช์บนตัวมิเตอร์ ไปที่ตาแหน่งช่วงการ
วัดกระแส ไฟฟ้ากระแสตรง (DCA) (หมายเลขอ้างอิง 8) ที่มี 4 ช่วงการวัดคือ 0-50μA, 0-2.5mA,
0-25mA, 0-0.25A
หลักการนามัลติมิเตอร์ ไปใช้ในการวัดกระแสไฟฟ้า
1. เลือกตาแหน่งที่ต้องการวัดกระแสไฟฟ้า และตรวจสอบทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า
2. เสียบสายวัดมิเตอร์สีดาที่ขั้วลบ (- COM) และสายวัดสีแดงที่ขั้วบวก (+) เข้ากับมัลติ
มิเตอร์
3. ตั้งช่วงการวัดที่เหมาะสม ในกรณีที่ทราบค่ากระแสในวงจร ควรตั้งช่วงการวัดให้สูงกว่า
ค่าที่ทราบ แต่ในกรณีที่ไม่ทราบค่ากระแสในวงจร ควรตั้งช่วงการวัดที่สูงๆ (0-0.25A) ไว้ก่อน
4. นาสายวัดมิเตอร์ไปต่อแทรกหรือต่อแบบอนุกรม โดยใช้หัววัดแตะบริเวณที่ต้องการวัด
และต้องให้กระแสไฟฟ้ าไหลเข้าทางขั้วบวกของมัลติมิเตอร์ หากเข็มวัดตีเกินสเกลต้องรีบ
เอาสายวัดมิเตอร์ออกจากวงจรทันที แล้วเลือกช่วงการวัดที่สูงขึ้น ก่อนปรับช่วงการวัด
ใหม่ต้องเอาสายวัดออกจากวงจรทุกครั้ง และต้องแน่ใจว่าค่าที่จะวัดได้นั้นมีค่าไม่เกิน
ช่วงการวัดที่ปรับตั้งใหม่
การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters)
การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters)
หลักการนามัลติมิเตอร์ ไปใช้ในการวัดกระแสไฟฟ้า (ต่อ)
5. อ่านค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจร ซึ่งการอ่านต้องสัมพันธ์กับช่วงการวัดที่ตั้งไว้
การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters)
ตัวอย่างการใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับและ ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง
https://www.youtube.com/watch?v=6WDcjzQwZN8
ตัวอย่างการใช้วัดไฟฟ้ากระแสตรง
https://www.youtube.com/watch?v=JwFvAi0QyzM
ตัวอย่างการใช้วัดความต้านทาน
https://www.youtube.com/watch?v=EhW3cKWk1hg

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
พัน พัน
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
Phattarawan Wai
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
krupornpana55
 
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxSlแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
krupornpana55
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
krupornpana55
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
Sumarin Sanguanwong
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
Suphot Chaichana
 

What's hot (20)

วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยาวิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
 
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxSlแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
Physics atom
Physics atomPhysics atom
Physics atom
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
โครงสร้างของราก
 โครงสร้างของราก โครงสร้างของราก
โครงสร้างของราก
 

Viewers also liked

Lesson Plan
Lesson PlanLesson Plan
Lesson Plan
mimizin
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ทรานซิสเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ทรานซิสเตอร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ทรานซิสเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ทรานซิสเตอร์
จุฬาพรรณ คณารักษ์
 

Viewers also liked (7)

เอกสารการเรียนรู้ ประวัติการวัด
เอกสารการเรียนรู้ ประวัติการวัดเอกสารการเรียนรู้ ประวัติการวัด
เอกสารการเรียนรู้ ประวัติการวัด
 
MIDS brochure 2016-17
MIDS brochure 2016-17MIDS brochure 2016-17
MIDS brochure 2016-17
 
Lesson Plan
Lesson PlanLesson Plan
Lesson Plan
 
How to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheHow to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your Niche
 
นวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิต
นวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิตนวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิต
นวัตกรรม แบบฝึกเสริมทักษะการหาร-ด้วยวิธีเวทคณิต
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ทรานซิสเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ทรานซิสเตอร์ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ทรานซิสเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ทรานซิสเตอร์
 
Guided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItGuided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of It
 

การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม

  • 1. สื่อการสอน เรื่อง การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) รายวิชา เทคนิคปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 2 รหัสวิชา ว 30287 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 ครูผู้สอน นางสาวประพิณ แสงสะอาด
  • 2. การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) มัลติมิเตอร์ (Multimeters) คือ เครื่องมือ วัดทางไฟฟ้าที่สามารถวัดปริมาณไฟฟ้าได้หลาย ปริมาณ แต่วัดได้ทีละปริมาณ โดยสามารถตั้งเป็น โวลท์มิเตอร์ แอมป์มิเตอร์ หรือ โอห์มมิเตอร์ และ เลือกไฟฟ้ากระแสตรง (DC) หรือไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) ได้ มัลติมิเตอร์บางชนิดมีคุณสมบัติการวัด เพิ่มเติม เช่น วัดค่าความจุ วัดความถี่ และทดสอบ ทรานซิสเตอร์ เป็นต้น
  • 3. การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) มัลติมิเตอร์ SUNWA รุ่น YX-360TRE-B ส่วนประกอบ 1) ปุ่มปรับตาแหน่งเข็มชี้เลขศูนย์ 2) เข็มมิเตอร์ชี้ตาแหน่งค่าที่วัดได้ 3) หน้าปัดแสดงค่าปริมาณการวัด 4) สวิทช์ปรับตั้งตาแหน่งมิเตอร์ 5) ช่องเสียบสายวัดขั้วบวก (+) 6) ช่องเสียบสายวัดขั้วลบ (-) 7) ช่วงการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV) คือ 0-0.1V, 0-0.5V, 0.2.5V, 0-10V, 0-50V, 0-250V, 0-1000V 8) ช่วงการวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง (DCA) คือ 0-50μA,0-2.5mA, 0-25mA, 0-0.25A 9) ช่วงการวัดความต้านทานไฟฟ้า (Ω) คือ x1 Ω, x10 Ω, x100 Ω, x1k Ω, x10k Ω 10) ช่วงการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ (ACV) คือ 0-10V, 0-50V, 0-250V, 0-1000V รูปแสดงหมายเลขอ้างอิงส่วนประกอบ ของมัลติมิเตอร์ SUNWA รุ่น YX-360TRE-B 1 2 3 4 56 7 8 9 10
  • 4. การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) รูปแสดงหมายเลขอ้างอิงส่วนประกอบของมัลติมิเตอร์ SUNWA รุ่น YX-360TRE-B 1 2 3 4 56 7 8 9 10 การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง ปรับมัลติมิเตอร์ให้เป็นโวลท์มิเตอร์ก่อน โดย หมุนสวิทช์บนตัวมิเตอร์ ไปที่ตาแหน่งช่วงการวัดความ ต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV) (หมายเลขอ้างอิง 7) ซึ่งมี 7 ช่วงการวัดคือ 0-0.1V, 0-0.5V, 0.2.5V, 0-10V, 0-50V, 0-250V, 0-1000V
  • 5. การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) หลักการนามัลติมิเตอร์ SUNWA ไปใช้ในการวัดความต่างศักย์ 1. เลือกตาแหน่งที่ต้องการวัดความต่างศักย์ และตรวจสอบทิศ ทางการไหลของกระแสไฟฟ้า 2. เสียบสายวัดมิเตอร์สีดาที่ขั้วลบ (- COM) และสายวัดสีแดงที่ ขั้วบวก (+) เข้ากับมัลติมิเตอร์ 3. ตั้งช่วงการวัดให้สูงกว่าความต่างศักย์ของบริเวณนั้น โดย หมุนสวิทช์บนตัวมิเตอร์ ไปที่ตาแหน่งช่วงการวัดความต่าง ศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV) 4. นาสายวัดมิเตอร์ไปต่อขนานหรือต่อคร่อมวงจร โดยใช้หัววัด แตะกับจุดที่ต้องการวัด และต้องให้กระแสไฟฟ้าไหลเข้าทาง ขั้วบวก (+) ของมัลติมิเตอร์เสมอ ถ้าวัดสลับขั้วเข็มวัดจะตีกลับต้อง รีบเอาสายวัดมิเตอร์ออกจากวงจรทันที จากนั้นทาการสลับหัววัด ให้ถูกต้อง
  • 6. การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) หลักการนามัลติมิเตอร์ SUNWA ไปใช้ในการวัดความต่างศักย์ 5. การอ่านค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า ให้อ่านสเกลสีดาที่อยู่ใต้ แถบเงิน ซึ่งมีค่าระบุอยู่ใต้สเกล 3 ช่วง คือ 0-10, 0-50 และ 0- 250 ค่าที่อ่านได้ต้องสัมพันธ์กับช่วงการวัดที่ตั้งไว้ รูปแสดงการใช้มัลติมิเตอร์ SUNWA วัดความต่างศักย์ไฟฟ้ ากระแสตรง หน้าปัดแสดงค่าปริมาณการวัด ของมัลติมิเตอร์ SUNWA 1. สเกลสาหรับอ่านค่าความ ต้านทาน (Ω) 2. สเกลสาหรับอ่านค่าความ ต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง (DCV), กระแสไฟฟ้ากระแสตรง (DCA) 3. ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแส สลับ (ACV) 1 2 3
  • 7. การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) รูปแสดง เข็มวัดชี้ตาแหน่ง ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ าที่วัดได้ ตารางแสดงค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าแต่ละช่วงการวัด
  • 8. การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ ปรับมัลติมิเตอร์ให้เป็นโวลท์มิเตอร์กระแสสลับ โดยหมุนสวิทช์บนตัวมิเตอร์ ไปที่ ตาแหน่งช่วงการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง (ACV) (หมายเลขอ้างอิง 10) ซึ่งมี 4 ช่วงการ วัดคือ 0-10V, 0-50V, 0-250V, 0-1000V จากนั้นเลือกช่วงการวัดให้เหมาะสม สาหรับการวัด ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ เราสามารถต่อโดยให้สายวัดเส้นใดอยู่ข้างใดก็ได้ แต่วิธีวัดค่ายัง ใช้หลักการเดียวกันกับโวลต์มิเตอร์กระแสตรง
  • 9. การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) การวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง ปรับมัลติมิเตอร์ให้เป็นแอมมิเตอร์ก่อน โดยหมุนสวิทช์บนตัวมิเตอร์ ไปที่ตาแหน่งช่วงการ วัดกระแส ไฟฟ้ากระแสตรง (DCA) (หมายเลขอ้างอิง 8) ที่มี 4 ช่วงการวัดคือ 0-50μA, 0-2.5mA, 0-25mA, 0-0.25A หลักการนามัลติมิเตอร์ ไปใช้ในการวัดกระแสไฟฟ้า 1. เลือกตาแหน่งที่ต้องการวัดกระแสไฟฟ้า และตรวจสอบทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า 2. เสียบสายวัดมิเตอร์สีดาที่ขั้วลบ (- COM) และสายวัดสีแดงที่ขั้วบวก (+) เข้ากับมัลติ มิเตอร์ 3. ตั้งช่วงการวัดที่เหมาะสม ในกรณีที่ทราบค่ากระแสในวงจร ควรตั้งช่วงการวัดให้สูงกว่า ค่าที่ทราบ แต่ในกรณีที่ไม่ทราบค่ากระแสในวงจร ควรตั้งช่วงการวัดที่สูงๆ (0-0.25A) ไว้ก่อน 4. นาสายวัดมิเตอร์ไปต่อแทรกหรือต่อแบบอนุกรม โดยใช้หัววัดแตะบริเวณที่ต้องการวัด และต้องให้กระแสไฟฟ้ าไหลเข้าทางขั้วบวกของมัลติมิเตอร์ หากเข็มวัดตีเกินสเกลต้องรีบ เอาสายวัดมิเตอร์ออกจากวงจรทันที แล้วเลือกช่วงการวัดที่สูงขึ้น ก่อนปรับช่วงการวัด ใหม่ต้องเอาสายวัดออกจากวงจรทุกครั้ง และต้องแน่ใจว่าค่าที่จะวัดได้นั้นมีค่าไม่เกิน ช่วงการวัดที่ปรับตั้งใหม่
  • 11. การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) หลักการนามัลติมิเตอร์ ไปใช้ในการวัดกระแสไฟฟ้า (ต่อ) 5. อ่านค่ากระแสไฟฟ้าที่ไหลในวงจร ซึ่งการอ่านต้องสัมพันธ์กับช่วงการวัดที่ตั้งไว้
  • 12. การใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) ตัวอย่างการใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับและ ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรง https://www.youtube.com/watch?v=6WDcjzQwZN8 ตัวอย่างการใช้วัดไฟฟ้ากระแสตรง https://www.youtube.com/watch?v=JwFvAi0QyzM ตัวอย่างการใช้วัดความต้านทาน https://www.youtube.com/watch?v=EhW3cKWk1hg