SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
53
ใบความรู้ที่ 3
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และค่าคงที่
1) บิต, ไบต์
บิต หมายถึง ข้อมูลที่เป็นค่าของตัวเลข ‘0’,’1’ ซึ่งเป็นเลขฐานสอง จะเปรียบเสมือนกับ
สวิตช์ที่มีเพียงสองสถานะ คือ เปิด และ ปิด เท่านั้น
ไบต์ หมายถึง ชุดของตัวเลขฐานสองแปดตัว เปรียบเสมือนกับสวิตช์แปดตัวเรียงกันแต่
ละชุดใช้แทนอักขระได้หนึ่งตัวอักษร
หน่วยของข้อมูลในคอมพิวเตอร์ดูได้จากตารางที่ 1
จานวน เทียบเท่ากับ
8 บิต 1 ไบต์
1024 ไบต์ 1 กิโลไบต์
1024 กิโลไบต์ 1 เมกะไบต์
1024 เมกะไบต์ 1 จิกะไบต์
1024 จิกะไบต์ 1 เทอราไบต์
ตารางที่ 1 หน่วยของข้อมูลในคอมพิวเตอร์
2) ตัวแปรในภาษาคอมพิวเตอร์
ตัวแปร (Variable) หมายถึงชื่อของหน่วยเก็บข้อมูล หรือตาแหน่งของหน่วยความจาของ
ระบบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้เก็บค่าต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงได้ระหว่างประมวลผล
ชนิดของตัวแปรใน Visual Basic มีดังนี้
ชนิด รายละเอียด หน่วยความจา
Byte มีค่าตั้งแต่ 0 – 255 1 ไบต์
Integer ใช้เก็บเลขจานวนเต็ม ค่าตั้งแต่ -32,768 ถึง 32,767 2 ไบต์
Long ใช้เก็บเลขจานวนเต็ม ค่าตั้งแต่ -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 4 ไบต์
Single ใช้เก็บเลขจานวนจริง ค่าลบตั้งแต่ -3.402823x1038
ถึง -1.0413 x10-45
และค่าจริงตั้งแต่ 1.4013 x 10-45
ถึง3.402823x1038
4 ไบต์
Double ใช้เก็บเลขจานวนจริง ค่าลบตั้งแต่จานวน-1.79769313486232x10308
ถึง -4.94065645841247x10-324
และ ค่าที่เป็นจานวนจริงเริ่มตั้งแต่ค่า
4.94065645841247x 10-324
ถึง 1.79769313486232x10 308
8 ไบต์
54
ชนิด รายละเอียด หน่วยความจา
Currency ใช้เก็บเลขที่มีจานวนตาแหน่งจากัด ส่วนมากใช้เกี่ยวกับจานวนเงิน มีค่า
ตั้งแต่ -922,337,203,685,477.5808 ถึง922,337,203,685,477.5808
8 ไบต์
Boolean ใช้เก็บค่าทางตรรกะ คือ จริง และ เท็จ 2 ไบต์
Date ใช้เก็บค่าที่เป็นวันที่ และเวลา 8 ไบต์
Object ใช้เก็บตัวแปรที่อ้างถึงออบเจ็คใดๆ 4 ไบต์
Variant เป็นตัวแปรพิเศษของ Visual Basic สามารถเก็บค่าของตัวแปรได้
ทุกแบบตามที่กล่าวมาข้างต้น
22 ไบต์
ตารางที่ 2 ชนิดของตัวแปรใน Visual Basic
3) การประกาศตัวแปรใน Visual Basic
การประกาศตัวแปร คือการการที่เราบอกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เตรียมเนื้อที่ใน
หน่วยความจาสาหรับตัวแปรที่เราจะใช้ในการประมวลผลในโปรแกรม โดยการประกาศตัวแปร
นั้นเราเรียกว่า Dim (Dimension) ซึ่งมีรูปแบบดังนี้
Dim ชื่อตัวแปร [As ชนิดของตัวแปร]
ค่าที่อยู่ภายในเครื่องหมาย [ ] จะเป็น Optional คือเราจะใส่หรือไม่ก็ได้ ถ้าไม่ใส่ ตัวแปรที่
เราประกาศขึ้นจะเป็นตัวแปรชนิด Variant
ตัวอย่าง
Dim A As Integer ‘ ประกาศตัวแปรชื่อ A แบบ Integer
Dim B As String ‘ ประกาศตัวแปรชื่อ B แบบ String
Dim C As String * 10 ‘ ประกาศตัวแปรชื่อ C แบบ String มีความยาว 10 ตัวอักษร
ตัวแปรอีกแบบ คือ ตัวแปรแบบ ค่าคงที่ จะใช้ในการเก็บค่าคงที่ที่คาดว่าจะใช้บ่อยใน
โปรแกรม และค่าไม่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีรูปแบบดังนี้
Constant ชื่อตัวแปร = ค่าคงที่
4) ขอบเขตของตัวแปร
ชนิดและขอบเขตของตัวแปรมีดังนี้
ตัวแปร Public จะมองเห็นและเรียกใช้ได้ทุกฟอร์มโมดูล หรือทุกโพรซีเยอร์ในโมดูล
หรือฟอร์มที่ประกาศ การประกาศจะใช้คาว่า Public แทนคาว่า Dim ในการประกาศตัวแปร ต่อ
จาก
บรรทัด Option variable
ตัวแปร Private จะมองเห็นและเรียกใช้ได้ทุกโพรซีเยอร์ในโมดูล หรือฟอร์มที่เรา
55
ประกาศเท่านั้น การประกาศจะใช้คาว่า Public แทนคาว่า Private ในการประกาศตัวแปรต่อจาก
บรรทัด Option variable
ตัวแปร Local จะมองเห็นและสามารถเรียกใช้ได้เฉพาะโพรซีเยอร์ที่ประกาศเท่านั้น ใน
การประกาศตัวแปรจะประกาศในโพรซีเยอร์ที่ใช้งาน

More Related Content

Viewers also liked

6.การขอเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.
6.การขอเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.6.การขอเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.
6.การขอเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.mr.somsak phoolpherm
 
2.การขอย้ายเข้าเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.
2.การขอย้ายเข้าเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.2.การขอย้ายเข้าเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.
2.การขอย้ายเข้าเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.mr.somsak phoolpherm
 
6.การขอเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.
6.การขอเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.6.การขอเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.
6.การขอเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.mr.somsak phoolpherm
 
1.การรับนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.
1.การรับนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.1.การรับนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.
1.การรับนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.mr.somsak phoolpherm
 
3.การขอย้ายออกนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.
3.การขอย้ายออกนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.3.การขอย้ายออกนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.
3.การขอย้ายออกนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.mr.somsak phoolpherm
 
Interventions to address deaths from childhood Pneumonia and Diarrhoea equita...
Interventions to address deaths from childhood Pneumonia and Diarrhoea equita...Interventions to address deaths from childhood Pneumonia and Diarrhoea equita...
Interventions to address deaths from childhood Pneumonia and Diarrhoea equita...WaterAid
 
Global Burden of Childhood Diarrhea and Pneumonia - Dr. Christa Fischer Walker
Global Burden of Childhood Diarrhea and Pneumonia - Dr. Christa Fischer WalkerGlobal Burden of Childhood Diarrhea and Pneumonia - Dr. Christa Fischer Walker
Global Burden of Childhood Diarrhea and Pneumonia - Dr. Christa Fischer WalkerWaterAid
 
5.การขอลาออกของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.
5.การขอลาออกของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.5.การขอลาออกของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.
5.การขอลาออกของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.mr.somsak phoolpherm
 
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมmr.somsak phoolpherm
 

Viewers also liked (15)

4 2
4 24 2
4 2
 
GPAM6
GPAM6GPAM6
GPAM6
 
4 1
4 14 1
4 1
 
6.การขอเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.
6.การขอเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.6.การขอเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.
6.การขอเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.
 
2.การขอย้ายเข้าเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.
2.การขอย้ายเข้าเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.2.การขอย้ายเข้าเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.
2.การขอย้ายเข้าเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.
 
6.การขอเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.
6.การขอเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.6.การขอเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.
6.การขอเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.
 
1.การรับนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.
1.การรับนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.1.การรับนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.
1.การรับนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.
 
Dev c++
Dev c++Dev c++
Dev c++
 
3.การขอย้ายออกนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.
3.การขอย้ายออกนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.3.การขอย้ายออกนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.
3.การขอย้ายออกนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สพฐ.
 
Flowchar
FlowcharFlowchar
Flowchar
 
Interventions to address deaths from childhood Pneumonia and Diarrhoea equita...
Interventions to address deaths from childhood Pneumonia and Diarrhoea equita...Interventions to address deaths from childhood Pneumonia and Diarrhoea equita...
Interventions to address deaths from childhood Pneumonia and Diarrhoea equita...
 
Global Burden of Childhood Diarrhea and Pneumonia - Dr. Christa Fischer Walker
Global Burden of Childhood Diarrhea and Pneumonia - Dr. Christa Fischer WalkerGlobal Burden of Childhood Diarrhea and Pneumonia - Dr. Christa Fischer Walker
Global Burden of Childhood Diarrhea and Pneumonia - Dr. Christa Fischer Walker
 
5.การขอลาออกของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.
5.การขอลาออกของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.5.การขอลาออกของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.
5.การขอลาออกของนักเรียนในโรงเรียนสังกัด สพฐ.
 
School curiculum
School curiculumSchool curiculum
School curiculum
 
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
 

More from mr.somsak phoolpherm (9)

4 7
4 74 7
4 7
 
4 6
4 64 6
4 6
 
4 4
4 44 4
4 4
 
4 5
4 54 5
4 5
 
ขั้นตอนการทำงานภาษาซี
ขั้นตอนการทำงานภาษาซีขั้นตอนการทำงานภาษาซี
ขั้นตอนการทำงานภาษาซี
 
Flowchar5
Flowchar5Flowchar5
Flowchar5
 
Flowchar4
Flowchar4Flowchar4
Flowchar4
 
Flowchar2
Flowchar2Flowchar2
Flowchar2
 
Flowchar1
Flowchar1Flowchar1
Flowchar1
 

ใบความรู้ที่ 3

  • 1. 53 ใบความรู้ที่ 3 ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และค่าคงที่ 1) บิต, ไบต์ บิต หมายถึง ข้อมูลที่เป็นค่าของตัวเลข ‘0’,’1’ ซึ่งเป็นเลขฐานสอง จะเปรียบเสมือนกับ สวิตช์ที่มีเพียงสองสถานะ คือ เปิด และ ปิด เท่านั้น ไบต์ หมายถึง ชุดของตัวเลขฐานสองแปดตัว เปรียบเสมือนกับสวิตช์แปดตัวเรียงกันแต่ ละชุดใช้แทนอักขระได้หนึ่งตัวอักษร หน่วยของข้อมูลในคอมพิวเตอร์ดูได้จากตารางที่ 1 จานวน เทียบเท่ากับ 8 บิต 1 ไบต์ 1024 ไบต์ 1 กิโลไบต์ 1024 กิโลไบต์ 1 เมกะไบต์ 1024 เมกะไบต์ 1 จิกะไบต์ 1024 จิกะไบต์ 1 เทอราไบต์ ตารางที่ 1 หน่วยของข้อมูลในคอมพิวเตอร์ 2) ตัวแปรในภาษาคอมพิวเตอร์ ตัวแปร (Variable) หมายถึงชื่อของหน่วยเก็บข้อมูล หรือตาแหน่งของหน่วยความจาของ ระบบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้เก็บค่าต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงได้ระหว่างประมวลผล ชนิดของตัวแปรใน Visual Basic มีดังนี้ ชนิด รายละเอียด หน่วยความจา Byte มีค่าตั้งแต่ 0 – 255 1 ไบต์ Integer ใช้เก็บเลขจานวนเต็ม ค่าตั้งแต่ -32,768 ถึง 32,767 2 ไบต์ Long ใช้เก็บเลขจานวนเต็ม ค่าตั้งแต่ -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 4 ไบต์ Single ใช้เก็บเลขจานวนจริง ค่าลบตั้งแต่ -3.402823x1038 ถึง -1.0413 x10-45 และค่าจริงตั้งแต่ 1.4013 x 10-45 ถึง3.402823x1038 4 ไบต์ Double ใช้เก็บเลขจานวนจริง ค่าลบตั้งแต่จานวน-1.79769313486232x10308 ถึง -4.94065645841247x10-324 และ ค่าที่เป็นจานวนจริงเริ่มตั้งแต่ค่า 4.94065645841247x 10-324 ถึง 1.79769313486232x10 308 8 ไบต์
  • 2. 54 ชนิด รายละเอียด หน่วยความจา Currency ใช้เก็บเลขที่มีจานวนตาแหน่งจากัด ส่วนมากใช้เกี่ยวกับจานวนเงิน มีค่า ตั้งแต่ -922,337,203,685,477.5808 ถึง922,337,203,685,477.5808 8 ไบต์ Boolean ใช้เก็บค่าทางตรรกะ คือ จริง และ เท็จ 2 ไบต์ Date ใช้เก็บค่าที่เป็นวันที่ และเวลา 8 ไบต์ Object ใช้เก็บตัวแปรที่อ้างถึงออบเจ็คใดๆ 4 ไบต์ Variant เป็นตัวแปรพิเศษของ Visual Basic สามารถเก็บค่าของตัวแปรได้ ทุกแบบตามที่กล่าวมาข้างต้น 22 ไบต์ ตารางที่ 2 ชนิดของตัวแปรใน Visual Basic 3) การประกาศตัวแปรใน Visual Basic การประกาศตัวแปร คือการการที่เราบอกเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เตรียมเนื้อที่ใน หน่วยความจาสาหรับตัวแปรที่เราจะใช้ในการประมวลผลในโปรแกรม โดยการประกาศตัวแปร นั้นเราเรียกว่า Dim (Dimension) ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ Dim ชื่อตัวแปร [As ชนิดของตัวแปร] ค่าที่อยู่ภายในเครื่องหมาย [ ] จะเป็น Optional คือเราจะใส่หรือไม่ก็ได้ ถ้าไม่ใส่ ตัวแปรที่ เราประกาศขึ้นจะเป็นตัวแปรชนิด Variant ตัวอย่าง Dim A As Integer ‘ ประกาศตัวแปรชื่อ A แบบ Integer Dim B As String ‘ ประกาศตัวแปรชื่อ B แบบ String Dim C As String * 10 ‘ ประกาศตัวแปรชื่อ C แบบ String มีความยาว 10 ตัวอักษร ตัวแปรอีกแบบ คือ ตัวแปรแบบ ค่าคงที่ จะใช้ในการเก็บค่าคงที่ที่คาดว่าจะใช้บ่อยใน โปรแกรม และค่าไม่มีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ Constant ชื่อตัวแปร = ค่าคงที่ 4) ขอบเขตของตัวแปร ชนิดและขอบเขตของตัวแปรมีดังนี้ ตัวแปร Public จะมองเห็นและเรียกใช้ได้ทุกฟอร์มโมดูล หรือทุกโพรซีเยอร์ในโมดูล หรือฟอร์มที่ประกาศ การประกาศจะใช้คาว่า Public แทนคาว่า Dim ในการประกาศตัวแปร ต่อ จาก บรรทัด Option variable ตัวแปร Private จะมองเห็นและเรียกใช้ได้ทุกโพรซีเยอร์ในโมดูล หรือฟอร์มที่เรา
  • 3. 55 ประกาศเท่านั้น การประกาศจะใช้คาว่า Public แทนคาว่า Private ในการประกาศตัวแปรต่อจาก บรรทัด Option variable ตัวแปร Local จะมองเห็นและสามารถเรียกใช้ได้เฉพาะโพรซีเยอร์ที่ประกาศเท่านั้น ใน การประกาศตัวแปรจะประกาศในโพรซีเยอร์ที่ใช้งาน