SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
“การรู้เท่าทันข่าวปลอม”
การรู้เท่าทันข่าวปลอม
• จะต้องมีทักษะในการคิดวิเคราะห์ข่าวสาร
• ตรวจสอบและประเมินความน่าเชื่อถือของข่าวสาร
• ใช้เหตุผลไม่ใช้อคติในการรับข่าวสาร
• ความสามารถในการ “เสพข่าวอย่างรู้ตัวและตื่นตัว”
• เข้าใจสื่อและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป
ข่าวปลอมที่เกิดขึ้นในโลกออนไลน์ จะอยู่ในลักษณะ
ของเว็บไซต์นาเสนอข่าว ดังนั้นก่อนที่เราจะมา
เจาะลึกเรื่องข่าวปลอม เรามาทาความเข้าใจรูปแบบ
การทางานของเว็บไซต์กันสักเล็กน้อย
การรู้เท่าทันข่าวปลอม
“เว็บไซต์”
เว็บไซต์
เว็บไซต์ที่เราเข้ากันทุกวันจริงๆ แล้วมันมีสิ่งที่เรียกว่า IP Address เป็นเลขชุด 4
ชุดคั่นด้วยเครื่องหมายจุด เช่น 157.240.7.35 | 27.254.33.64
157.240.7.35
facebook.com
27.254.33.64
TouchPoint.in.th
เว็บไซต์
ปัจจุบันเรามีกติกาที่ใช้เรียกดูข้อมูลจากเว็บ เรียกว่า HTTP (Hyper
Text Transfer Protocol) ซึ่งก็ยังไม่ปลอดภัยมากพอ เว็บไซต์
สมัยใหม่จะมีระบบความปลอดภัย (Security) เพื่อความน่าเชื่อถือ
ของเว็บในรูปแบบ HTTPS
เคยสงสัยกันไหมว่า
ทาไมบางเว็บก็เป็น .com บางเว็บเป็น .ac.th บางเว็บเป็น .in.th .go.th .org
เว็บไซต์
.com >> บริษัท องค์กร ธุรกิจพณิชยกรรม
.net >> บริษัทที่ให้บริการด้านเครือข่าย
.edu >> หน่วยงานทางการศึกษา
.org >> องค์กรที่ไม่หวังผลกาไร
โดเมนเนมระดับบนสุดแบบทั่วไป
เว็บไซต์
.co.th >> องค์กรที่จดทะเบียนในประเทศไทยที่แสวงหาผลกาไร
.or.th >> องค์กรที่จดทะเบียนในประเทศไทยที่ไม่แสวงหาผลกาไร
.net.th >> องค์กรที่จดทะเบียนในประเทศไทย ที่ทาธุรกิจเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
.in.th >> บุคคลหรือองค์กรใดๆ ก็ได้ในประเทศไทย
โดเมนเนมระดับบนสุดแบบบ่งบอกประเทศ
ปัจจุบันมีกลุ่มโดเมนใหม่ๆ เพิ่มขึ้นมาหลากหลาย เพื่อให้สื่อความหมายกับธุรกิจหรือเว็บไซต์ที่มีเพิ่มมากขึ้น เช่น
.th (ไทย) .us (สหรัฐอเมริกา) .uk (อังกฤษ)
“ข่าวปลอมคืออะไร”
ข่าวปลอมคืออะไร
ข่าวที่ให้ข้อมูลไม่เป็นความจริง อาจมีการปลอมบางส่วนหรือทั้งหมด
ปัจจุบันข่าวสารต่างๆ ส่งมาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ทาให้ข่าวถูกเผยแพร่และส่งต่อได้ง่ายทั้งแบบตั้งใจและแบบไม่ตั้งใจ
“ลักษณะของข่าวปลอม”
ลักษณะของข่าวปลอม
• มีข้อมูลเท็จ ไม่ว่าจะบางส่วนหรือปราศจากข้อเท็จจริงเลย
• กระตุ้นให้เกิดการแชร์ออกไป
• เจตนาที่จะบิดเบือนหรือปิดบังความจริงด้วยการใช้อารมณ์มากกว่าเหตุผล
• กระตุ้นอคติของผู้อ่าน
ลักษณะของข่าวปลอม
เป็นการแชร์ข่าวปลอมโดยไม่ได้ตั้งใจ ผู้ส่งสารไม่มีเจตนาปั่นป่วนหรือทาร้ายใคร
แต่แชร์เพราะความไม่รู้
Mis-information
เช่น
ผลสารวจต่างๆ ที่ถูกเก็บข้อมูลมาจากกลุ่มตัวอย่างแคบๆ ทาให้ผลไม่
ครอบคลุมกับความเป็นจริง
ลักษณะของข่าวปลอม
Mis-information
เห็นเขาแชร์ก็แชร์ต่อจากเขา
ลักษณะของข่าวปลอม
เป็นข่าวปลอมที่ตั้งใจปั่นป่วน ให้ร้าย โจมตีผู้อื่นมีเจตนาที่จะชักนาความคิด
ของสังคม และปิดบังความจริง
Dis-information
ลักษณะของข่าวปลอม
Dis-information
เช่น
• ประกาศเคอร์ฟิวสี่ทุ่มถึงตีห้า แต่มีผู้บิดเบือนเป็น 24 ชั่วโมง
• จานวนผู้ติดเชื้อ COVID-19 ที่ถูกบิดเบือน
ลักษณะของข่าวปลอม
เป็นข่าวปลอมที่สร้างความเกลียดชัง มีข้อเท็จจริงอยู่บ้างแต่เจตนาสร้างขึ้น
เพื่อดูถูก เหยียดหยาม สร้างความเกลียดชังให้ผู้ตกเป็นข่าว ข่าวประเภทนี้
ส่งผลกระทบร้ายแรงที่สุด
Mal-information
ลักษณะของข่าวปลอม
Mal-information
• การล่าแม่มดในโลกออนไลน์
• การตราหน้าความคิดต่าง โดยเฉพาะเรื่องการเมือง
• การสื่อสารที่สร้างความเกลียดชัง
• มีการแบ่งเขาแบ่งเรา
“ผลกระทบของข่าวปลอม”
ผลกระทบต่อความคิดและความเชื่อ
ผลกระทบด้านการเงินและสุขภาพ
ผลกระทบด้านอารมณ์ความรู้สึก
ผลกระทบด้านทัศนคติ
ผลกระทบของข่าวปลอม
ผลกระทบด้านความรุนแรง
ผลกระทบต่อสื่อวิชาชีพ
ผลกระทบด้านสังคม
ผลกระทบของข่าวปลอม
• เป็นผลกระทบที่ชัดเจนและสาคัญที่สุด
• ข่าวสารมีอิทธิพลต่อโลกทัศน์ต่อผู้รับสาร
• ทัศนคติต่อผู้คนและเหตุการณ์ขึ้นอยู่กับได้รับข้อมูลแบบไหน
• ถ้าข้อมูลที่ได้รับ เป็นข่าวปลอม พวกเขาก็ไม่สามารถใช้การวิจารณญาณได้ถูกต้อง
• ส่งผลต่อการตัดสินใจ
1. ผลกระทบต่อความคิดและความเชื่อ
ผลกระทบของข่าวปลอม
เป็นข่าวปลอม ที่ถูกสร้างขึ้นโดยมีรายได้เป็นแรงจูงใจจะชักจูงให้ ผู้รับสารจ่ายเงินเพื่อ
สินค้าและบริการ หาก สินค้าและบริการนั้นไม่ได้คุณภาพก็อาจส่งผลเสีย ต่อร่างกาย
และสุขภาพของผู้หลงเชื่อด้วย เช่น การชักชวนให้ลงทุน การโฆษณาลดความอ้วนที่
นาเสนอในรูปแบบของวิทยาศาสตร์
2. ผลกระทบด้านการเงินและสุขภาพ
ผลกระทบของข่าวปลอม
• อาจสร้างความหงุดหงิดให้ผู้อ่าน เมื่อพบว่าเนื้อข่าว ไม่ได้มีอะไรน่าสนใจอย่างที่
รูปภาพหรือพาดหัวดึงดูด ให้เข้ามาอ่าน
• ข่าวปลอมที่สร้างขึ้นมาด้วยความคึกคะนอง ก็อาจทาให้ผู้อ่านเกิดความกลัวและ
วิตก กังวล เช่น ข่าว พยากรณ์อากาศ ภัยพิบัติที่ไม่มีมูลความจริง
3. ผลกระทบด้านอารมณ์ความรู้สึก
ผลกระทบของข่าวปลอม
ข่าวปลอมที่เอนเอียง เลือกข้าง หรือข่าวชี้นาอาจสร้างอคติและทัศนคติ เชิงลบแก่
บุคคลหรือกลุ่มคนที่ถูกใส่ร้ายอย่างไม่เป็น ธรรม เช่น โฆษณาชวนเชื่อทางการเมือง
ข่าวต่อต้าน รัฐบาล หรือข่าวที่สร้างความเกลียดชังต่อคนที่มี อัตลักษณ์ทางสังคมที่
แตกต่างจากคนส่วนใหญ่ เช่น กลุ่มเกย์ ชาวมุสลิม หรือคนต่างด้าว
4. ผลกระทบด้านทัศนคติ
ผลกระทบของข่าวปลอม
ข่าวลือที่เร้าอารมณ์และโจมตีใส่ร้ายบุคคลอาจก่อให้เกิดความรุนแรง ผู้ที่ถูกกล่าวหา
อาจจะถูกกลั่นแกล้ง ทางออนไลน์เพราะความเข้าใจผิด หรืออาจถูก ข่มขู่ คุกคาม และ
ทาร้ายในชีวิตจริงได้
5. ผลกระทบด้านความรุนแรง
ผลกระทบของข่าวปลอม
ข่าวปลอมสร้างความเสียหายต่อชื่อเสียงเว็บไซต์ที่ถูกเลียนแบบ เพื่อหลอกลวงผู้อ่าน
โดยปัญหาหนึ่งในการรับมือกับเว็บปลอมคือ องค์กรสื่อมักจะรู้ตัวก็ต่อเมื่อ เว็บปลอม
เหล่านี้ได้ถูกส่งต่อและสร้างความสับสน กับผู้อ่านเรียบร้อยแล้ว
6. ผลกระทบต่อสื่อวิชาชีพ
ผลกระทบของข่าวปลอม
เมื่อข่าวปลอมที่เกี่ยวข้องกับประเด็นสาคัญในสังคมแพร่ระบาด คนในสังคมจะขาด
ข้อเท็จจริงที่ต้องใช้ในการวิเคราะห์ อภิปรายและตัดสินใจในเรื่องนั้น ๆ ส่งผล ทาให้เกิด
ความสับสน การแบ่งฝ่ายและสร้างความขัดแย้งในสังคม เพราะแต่ละฝ่ายรับรู้ชุดของ
ข้อมูลที่ต่างกัน เช่น ข่าวโฆษณาชวนเชื่อของรัฐบาล
7. ผลกระทบด้านสังคม
โปรดติดตามตอนต่อไป
การสร้างทักษะในการคิด วิเคราะห์ แยกแยะเนื้อหาข่าว

More Related Content

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai

การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

More from Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai (20)

การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
เทคนิคการจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชั่น (Gamification)
 
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
เทคนิคการสร้างสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล (Learning Media Technique in Digita...
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
เสียงสำหรับงานมัลติมีเดีย (Sound for Multimedia)
 
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
การตลาดไมซ์ที่รู้ใจและเข้าถึงการตลาดดิจิทัล (MICE Digital Marketing)
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
อัตลักษณ์องค์กร (Corporate Identity: C.I.)
 
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาลAR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
AR VR Metaverse ทางการแพทย์และพยาบาล
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
การเล่าเรื่องสินค้าผ่านภาพถ่าย (Digital Storytelling in Photography)
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheetsการเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
การเก็บข้อมูลด้วย Google Forms และการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Google Sheets
 
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
หนังสือดิจิทัล 13 เล่ม น่าอ่าน อัพสกิลการสร้างนวัตกรรมสื่อดิจิทัล สื่อมัลติมี...
 
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverseการสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse
 
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
การออกแบบเรซูเม่และแฟ้มสะสมผลงานในยุคดิจิทัล (Resume and Portfolio Design in ...
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 

ข่าวปลอม (Fake News) - Check ก่อน Share Part 2 ความรู้เกี่ยวกับข่าวปลอม