SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
จากสถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 10 กันยายน 2553 เป็นต้นมา ซึ่งมี
ผลกระทบอย่างรุนแรงและกว้างขวาง ในหลายๆ จังหวัดและ ในเกือบทุกภาคของประเทศไทย ได้สร้างความ
เดือนร้อนทุกยากต่อประชาชนหลายล้านคน อีกทั้งยังสร้างความเสียหายต่อทรัพย์สิน สถานที่ ผลผลิต และ
ทรัพยากรต่างๆ อย่างมากมายอีกด้วย
แต่จากสถานการณ์นี้ ได้เกิดเครือข่ายพลังประชาชน ในภาคส่วนต่างๆ ไม่ว่าจะในลักษณะ
อาสาสมัครกลุ่มต่างๆ , มูลนิธิต่างๆ , สมาคมต่างๆ , หน่วยงานเอกชน , กลุ่ม Social Network , เครือข่าย
นักศึกษา ฯลฯ ต่างก็ออกมามีบทบาทในการ เข้าช่วยเหลือในพื้นที่ประสบอุทกภัยกันอย่างมากมาย ซึ่งเป็นการ
ทางานที่มีพลังและดาเนินการรวดเร็ว และหลายๆ กลุ่มก็เป็นหน่วยงานที่มีประสบการณ์ในการทางาน
ช่วยเหลือฟื้นฟูด้านภัยพิบัติมาแล้ว
หลังจากที่แกนนาเครือข่ายต่างๆ ได้มีการนัดประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ
ประสบการณ์กันแล้ว ได้มีแนวคิดที่จะจัดตั้งศูนย์ประสานการงานช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยขึ้น โดยให้เป็น
ศูนย์กลางในการประสานการทางานของกันและกัน และเชื่อมต่อกับการทางานของรัฐ เพื่อให้การดาเนินการ
ช่วยเหลือผู้ประสบภัย มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทั้งในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล และทรัพยากรด้านอื่นๆ ให้
ได้ประโยชน์มากที่สุด ตรงกับความต้องการ และถูกที่ ถูกเวลาที่สุด เนื่องจาก คาดว่าจากภัยพิบัติครั้งนี้ คง
จะต้องใช้ระยะเวลาในการจัดการช่วยเหลือตั้งแต่การช่วยเหลือเฉพาะหน้า ต่อเนื่องไปจนกระทั้งถึงระยะฟื้นฟู
เป็นระยะเวลานาน อาจจะเป็นเดือน หรือเป็นปี
โดยในระยะแรกนี้ได้จัดตั้งศูนย์ฯ ขึ้นที่ โรงแรม พินนาเคิล มีการทางานตลอด 24 ชั่วโมง
ระยะเวลา 1 เดือน (พฤศจิการยน 2553 ) โดยมีอาสาสมัครจากหลายหน่วยงาน ผลัดเปลี่ยนกันมานั่งทางาน
จึงเรียนมาเพื่อของบประมาณสนันสนุน จาก สสส. เป็นจานวนเงิน 200,000 บาท เพื่อใช้จ่ายใน
การดาเนินงานศูนย์ประสานการงานช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ในช่วงเดือนพฤษจิกายน 2553 ให้สามารถ
รับมือกับภาวะวิกฤตอุทกภัยเร่งด่วนนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
รายการ จานวนเงิน
ค่าเบี้ยเลี้ยง อาสาสมัคร จ่ายตามจริง 120,000.00
ค่าอาหาร - เครื่องดื่ม - สถานที่ 50,000.00
ค่าเดินทางติดต่อประสานงาน 10,000.00
จิปาถะ เช่น ค่าวัสดุอุปกรณ์ , ค่าโทรศัพท์ , 20,000.00
200,000.00
* หมายเหตุ (7/11/2553) นาสมุดไปอัพเดตแล ้วมีเงินเข ้ามาแล ้ว และได ้แจ ้งทางสสส.
ว่าจะลงรายละเอียดการใช ้เงินและหารือ เพื่อไม่ให ้เบิกจ่ายซ้าซ ้อนกับเงินบริจาคที่
เปิดบัญชีขึ้นมาใหม่ของศูนย์ประสานงานเพื่อการทางานของอาสาสมัครด ้วย
* อาสาสมัครทุกท่านมาทางานด ้วยใจไม่เคยเรียกร ้องผลตอบแทน ค่าเบี้ยเลี้ยง
อาสาสมัครจึงต ้องมีเกณฑ์พิจารณาร่วมด ้วย เช่น การทานอกเวลาปกติ,วันหยุด,การ
ลงพื้นที่ ซึ่งต ้องมีค่าเดินทาง,ค่าแท็กซี่กลับดึก,ซื้ออาหารในพื้นที่, เซ็นรับรายคน,
เหมาจ่ายรายวัน

More Related Content

More from Poramate Minsiri

ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นPoramate Minsiri
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวPoramate Minsiri
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนPoramate Minsiri
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมPoramate Minsiri
 
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดคู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดPoramate Minsiri
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวPoramate Minsiri
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Poramate Minsiri
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งPoramate Minsiri
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ ThaifloodPoramate Minsiri
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก ThaifloodPoramate Minsiri
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าPoramate Minsiri
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคPoramate Minsiri
 
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพวิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพPoramate Minsiri
 
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลาง
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลางบทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลาง
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลางPoramate Minsiri
 
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติPoramate Minsiri
 
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติPoramate Minsiri
 
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัยความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัยPoramate Minsiri
 
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยหลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยPoramate Minsiri
 
พระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน 2543
พระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน 2543พระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน 2543
พระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน 2543Poramate Minsiri
 
บทบาทของเครือข่ายในการรับมืออุทกภัย 2554
บทบาทของเครือข่ายในการรับมืออุทกภัย 2554บทบาทของเครือข่ายในการรับมืออุทกภัย 2554
บทบาทของเครือข่ายในการรับมืออุทกภัย 2554Poramate Minsiri
 

More from Poramate Minsiri (20)

ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้นถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
ถ้าเขื่อนในจังหวัดกาญจบุรีแตกจะมีอะไรเกิดขึ้น
 
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหวคู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
คู่มือปฎิบัติเพื่อความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงแผ่นดินไหว
 
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชนคู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
คู่มือแนะนำการทำคันป้องกันน้ำท่วมชุมชน
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
 
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลดคู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
คู่มือตรวจสอบและซ่อมแซมบ้านหลังน้ำลด
 
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราวแนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
แนวทางการจัดตั้งศูนย์พักพิงชุมชนชั่วคราว
 
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
Summary --lesson-learn-women-in-flood-crisisi-2011--22 d-dec11
 
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่งเตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
เตรียมตัวให้พร้อมรับมือคลื่นพายุซัดฝั่ง
 
เอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaifloodเอกสารแนะนำ Thaiflood
เอกสารแนะนำ Thaiflood
 
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaifloodใบสมัครสมาชิก Thaiflood
ใบสมัครสมาชิก Thaiflood
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้าคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค สีฟ้า
 
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรคคำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
คำแนะนำข้อควรปฏิบัติสำหรับผู้เข้าอาศัยในศูนย์พักพิงชั่วคราวเพื่อป้องกันโรค
 
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพวิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
วิศวกรน้ำวิเคราะห์น้ำท่วมกรุงเทพ
 
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลาง
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลางบทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลาง
บทเรียนการจัดการอุทกภัยของขบวนองค์กรชุมชนภาคกลาง
 
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
ภาคผนวก ก-ภัยพิบติ
 
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ
 
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัยความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
ความมั่นคง กระบวนการป้องกันและบรรเทาภัย
 
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยหลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หลักการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
พระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน 2543
พระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน 2543พระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน 2543
พระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน 2543
 
บทบาทของเครือข่ายในการรับมืออุทกภัย 2554
บทบาทของเครือข่ายในการรับมืออุทกภัย 2554บทบาทของเครือข่ายในการรับมืออุทกภัย 2554
บทบาทของเครือข่ายในการรับมืออุทกภัย 2554
 

ประมาณงบประมาณบริหารจัดการ Crisis camp ในช่วง 1 เดือน (พย 53)

  • 1. จากสถานการณ์อุทกภัยที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 10 กันยายน 2553 เป็นต้นมา ซึ่งมี ผลกระทบอย่างรุนแรงและกว้างขวาง ในหลายๆ จังหวัดและ ในเกือบทุกภาคของประเทศไทย ได้สร้างความ เดือนร้อนทุกยากต่อประชาชนหลายล้านคน อีกทั้งยังสร้างความเสียหายต่อทรัพย์สิน สถานที่ ผลผลิต และ ทรัพยากรต่างๆ อย่างมากมายอีกด้วย แต่จากสถานการณ์นี้ ได้เกิดเครือข่ายพลังประชาชน ในภาคส่วนต่างๆ ไม่ว่าจะในลักษณะ อาสาสมัครกลุ่มต่างๆ , มูลนิธิต่างๆ , สมาคมต่างๆ , หน่วยงานเอกชน , กลุ่ม Social Network , เครือข่าย นักศึกษา ฯลฯ ต่างก็ออกมามีบทบาทในการ เข้าช่วยเหลือในพื้นที่ประสบอุทกภัยกันอย่างมากมาย ซึ่งเป็นการ ทางานที่มีพลังและดาเนินการรวดเร็ว และหลายๆ กลุ่มก็เป็นหน่วยงานที่มีประสบการณ์ในการทางาน ช่วยเหลือฟื้นฟูด้านภัยพิบัติมาแล้ว หลังจากที่แกนนาเครือข่ายต่างๆ ได้มีการนัดประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ ประสบการณ์กันแล้ว ได้มีแนวคิดที่จะจัดตั้งศูนย์ประสานการงานช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยขึ้น โดยให้เป็น ศูนย์กลางในการประสานการทางานของกันและกัน และเชื่อมต่อกับการทางานของรัฐ เพื่อให้การดาเนินการ ช่วยเหลือผู้ประสบภัย มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทั้งในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล และทรัพยากรด้านอื่นๆ ให้ ได้ประโยชน์มากที่สุด ตรงกับความต้องการ และถูกที่ ถูกเวลาที่สุด เนื่องจาก คาดว่าจากภัยพิบัติครั้งนี้ คง จะต้องใช้ระยะเวลาในการจัดการช่วยเหลือตั้งแต่การช่วยเหลือเฉพาะหน้า ต่อเนื่องไปจนกระทั้งถึงระยะฟื้นฟู เป็นระยะเวลานาน อาจจะเป็นเดือน หรือเป็นปี โดยในระยะแรกนี้ได้จัดตั้งศูนย์ฯ ขึ้นที่ โรงแรม พินนาเคิล มีการทางานตลอด 24 ชั่วโมง ระยะเวลา 1 เดือน (พฤศจิการยน 2553 ) โดยมีอาสาสมัครจากหลายหน่วยงาน ผลัดเปลี่ยนกันมานั่งทางาน
  • 2. จึงเรียนมาเพื่อของบประมาณสนันสนุน จาก สสส. เป็นจานวนเงิน 200,000 บาท เพื่อใช้จ่ายใน การดาเนินงานศูนย์ประสานการงานช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ในช่วงเดือนพฤษจิกายน 2553 ให้สามารถ รับมือกับภาวะวิกฤตอุทกภัยเร่งด่วนนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ รายการ จานวนเงิน ค่าเบี้ยเลี้ยง อาสาสมัคร จ่ายตามจริง 120,000.00 ค่าอาหาร - เครื่องดื่ม - สถานที่ 50,000.00 ค่าเดินทางติดต่อประสานงาน 10,000.00 จิปาถะ เช่น ค่าวัสดุอุปกรณ์ , ค่าโทรศัพท์ , 20,000.00 200,000.00 * หมายเหตุ (7/11/2553) นาสมุดไปอัพเดตแล ้วมีเงินเข ้ามาแล ้ว และได ้แจ ้งทางสสส. ว่าจะลงรายละเอียดการใช ้เงินและหารือ เพื่อไม่ให ้เบิกจ่ายซ้าซ ้อนกับเงินบริจาคที่ เปิดบัญชีขึ้นมาใหม่ของศูนย์ประสานงานเพื่อการทางานของอาสาสมัครด ้วย * อาสาสมัครทุกท่านมาทางานด ้วยใจไม่เคยเรียกร ้องผลตอบแทน ค่าเบี้ยเลี้ยง อาสาสมัครจึงต ้องมีเกณฑ์พิจารณาร่วมด ้วย เช่น การทานอกเวลาปกติ,วันหยุด,การ ลงพื้นที่ ซึ่งต ้องมีค่าเดินทาง,ค่าแท็กซี่กลับดึก,ซื้ออาหารในพื้นที่, เซ็นรับรายคน, เหมาจ่ายรายวัน