SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
รายงาน
เรื่อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกียวข้ อง
                                           ่

                     เสนอ
           อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ

                  จัดทาโดย
           นางสาว ทิพวัลย์ ขาวคง
             ชั้น ม.6/1 เลขที่ 10
       โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์ อนุสรณ์
              อ.วังวิเศษ จ.ตรัง
  รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชาการ
งานอาชีพและเทคโนโลยี (ง33102)
คานา
          รายงานเล่มนี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (ง33102) ดิฉนได้จดทาขึ้น
                                                                                   ั    ั
เพื่อให้ทุกคนที่มาศึกษารายงานเล่มนี้ได้รู้ว่า อาชญากรรมคอมพิวเตอร์คืออะไร , อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
แบ่งเป็ นกี่ลกษณะ , รู ปแบบของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ , อาชญากรทางคอมพิวเตอร์ , ตัวอย่าง
             ั
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ , หลักกฎหมายที่ใช้ในอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ , ผลกระทบของ
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ดิฉนหวังว่ารายงานเล่มนี้คงมีประโยชน์กบผูอ่านไม่มากก็นอย
                               ั                               ั ้             ้
 หากรายงานเล่มนี้ผดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ที่น้ ีดวย
                     ิ                                     ้




                                                                                  จัดทาโดย
                                                                          นางสาวทิพวัลย์ ขาวคง
                                                                               ชั้น ม.6/1 เลขที่ 10
สารบัญ
เรื่อง                                            หน้ า
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์คือ
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็ นกี่ลกษณะ
                                  ั
รู ปแบบของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรทางคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
หลักกฎหมายที่ใช้ในอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
ผลกระทบของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ คือ
       การกระทาที่ผดกฎหมายโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่
                      ิ
อยูบนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการ
   ่
กระทาที่ผดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรื อมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรื อเครื อข่าย อย่างไรก็ตาม
         ิ
อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็ นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์โดยตรงการประกอบอาชญากรรมทาง
คอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจของประเทศจานวนมหาศาล อาชญากรรมทาง
คอมพิวเตอร์จึงจัดเป็ นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรื อ อาชญากรรมทางธุรกิจรู ปแบบหนึ่งที่มีความสาคัญ

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ แบ่ งเป็ น 4 ลักษณะ คือ
1. การเจาะระบบรักษาความปลอดภัย ทางกายภาพ ได้แก่ ตัวอาคาร อุปกรณ์และสื่อต่างๆ
2. การเจาะเข้าไปในระบบสื่อสาร และการ รักษาความปลอดภัยของซอฟต์แวร์ขอมูลต่างๆ
                                                                       ้
3. เป็ นการเจาะเข้าสู่ระบบรักษาความปลอดภัย ของระบบปฏิบติการ(Operating System)
                                                      ั
4. เป็ นการเจาะผ่านระบบรักษาความปลอดภัยส่วนบุคคล โดยใช้อินเตอร์เน็ตเป็ นช่องทางในการกระทา
ความผิด

รูปแบบของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
      ปัจจุบนทัวโลก ได้จาแนกประเภทอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ 9 ประเภท (ตามข้อมูล
            ั ่
คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจร่ างกฎหมายอาชญากรรมทาคอมพิวเตอร์ )
1. การขโมยข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต รวมถึงการขโมยประโยชน์ในการลักลอบใช้บริ การ
2. การปกปิ ดความผิดของตัวเอง โดยใช้ระบบการสื่อสาร
3. การละเมิดลิขสิทธิ์ ปลอมแปลงรู ปแบบเลียนแบระบบซอฟแวร์โดยมิชอบ
4. การเผยแพร่ ภาพ เสียง ลามก อนาจาร และข้อมูลที่ไม่เหมาะสม
5. การฟอกเงิน
6. การก่อกวน ระบบคอมพิวเตอร์ เช่น ทาลายระบบสาธารณูปโภค เช่น ระบบจ่ายน้ า จ่ายไฟ จราจร
7. การหลอกลวงให้ร่วมค้าขาย หรื อ ลงทุนปลอม (การทาธุรกิจที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย)
8. การลักลอบใช้ขอมูลเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ในทางมิชอบ เช่น การขโมยรหัสบัตรเครดิต
                 ้
9. การใช้คอมพิวเตอร์ในการโอนบัญชีผอื่นเป็ นของตัวเอง
                                    ู้
อาชญากรทางคอมพิวเตอร์
1. พวกเด็กหัดใหม่ (Novice)
2. พวกวิกลจริ ต (Deranged persons)
3. อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทาผิด (Organized crime)
4. อาชญากรอาชีพ (Career)
5. พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists)
6. พวกคลังลัทธิ(Dremer) / พวกช่างคิดช่างฝัน(Ideologues)
            ่
7. ผูที่มีความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี (Hacker/Cracker )
     ้
ตัวอย่ างอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
1. Morris Case
การเผยแพร่ หนอนคอมพิวเตอร์ (Worm)โดยนายโรเบิร์ต ที มอริ ส นักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ จาก
มหาวิทยาลัยคอร์แนล
     หนอน (worm) สามารถระบาดติดเชื้อจากคอมพิวเตอร์เครื่ องหนึ่งไปสู่อีกเครื่ องหนึ่ง ทาให้คอมพิวเตอร์
ไม่สามารถทางานได้ โดยมีการแพร่ ระบาดอย่างรวดเร็ ว
-ศาลตัดสินจาคุก 3 ปี แต่ให้รอลงอาญา โดยให้บริ การสังคมเป็ นเวลา 400 ชัวโมง และปรับเป็ นเงิน 10,050
                                                                      ่
ดอลลาร์สหรัฐ
2. Digital Equipment case
เดือนธันวาคม ค.ศ.1980 เครื อข่ายของบริ ษท Digital Equipment Corporation ประสบปัญหาการทางาน
                                        ั
โดยเริ่ มจากบริ ษท U.S Leasing
                   ั
- คนร้ายโทร. ปลอมเป็ นพนักงานคอมของ บริ ษท Digital Equipment
                                            ั
- ขอเข้าไปในระบบ(Access)โดยขอหมายเลขบัญชีผใช้ (Account Number)
                                                 ู้
   และรหัสผ่าน (password)
- ต่อมามีการตรวจสอบ
- มีการก่อวินาศกรรมทางคอมพิวเตอร์
* คอมพิวเตอร์พิมพ์ขอความหยาบคาย เครื่ องพิมพ์พิมพ์กระดาษเต็มห้อง
                     ้
*ลบข้อมูลในไฟล์บริ ษททิ้งหมด เช่น ข้อมูลลูกค้า สินค้าคงคลัง
                       ั
  ใบเรี ยกเก็บเงิน
3. “141 Hackers” และ “War Game”
ภาพยนตร์ที่เกิดขึ้นในปี ค.ศ.1983
- “141 Hackers” การเจาะระบบสาธารณูปโภคของสหรัฐอเมริ กา
- “War Game” การเจาะระบบจนกระทังเกือบเกิดสงครามปรมาณู ระหว่าง
                                          ่
- สหรัฐอเมริ กา และโซเวียต
- ทั้งสองเรื่ อง ถูกนาเข้าสู่ที่ประชุมของสภาคองเกรส (Congress)
4. ไวรัส Logic bomb/Worm ใน Yahoo
- ทาลายระบบคอมพิวเตอร์ของผูใช้บริ การของ Yahoo ในปี 1997
                                     ้
- ทาลายระบบคอมพิวเตอร์นบล้านเครื่ อง
                                 ั
5. การเจาะระบบข้อมูลของ Kevin Mitnick
-โดยเจาะระบบของนักฟิ สิกส์ Shimomura ของ San Diego Supercomputer center
- เจาะระบบการบริ การออนไลน์ The Well
- เจาะระบบโทรศัพท์มือถือ
- ไม่แสวงหาผลประโยชน์
- Mitnick เจาะระบบข้อมูลเหมือนคนติดยาเสพติด ไม่สามารถเลิกได้
6. การปล้นเงินธนาคารพาณิ ชย์ 5.5 ล้านบาท
-คนร้ายเป็ นอดีตพนักงานธนาคาร โดยมีคนในร่ วมทาผิด เป็ นทีม
วิธีการ
-*โดยการปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน เพื่อขอใช้บริ การ ฝาก-ถอน
-โอนเงินผ่านอินเตอร์เน็ต “อินเตอร์เน็ตแบงค์กิ้ง” ซึ่งเป็ นบัญชี
-ของลูกค้าที่มีการฝากเงินไว้เป็ นล้าน
-เมื่อได้รหัสผ่าน(Password)แล้ว ทาการโอนเงินจากบัญชีของเหยือ    ่
-ทางอินเตอร์เน็ต และทางโทรศัพท์ (เทโฟนแบงค์กิ้ง) ไปเข้าอีกบัญชีหนึ่ง
-ซึ่ งได้เปิ ดไว้โดยใช้หลักฐานปลอม
    * ใช้บริ การคอมฯ จากร้านอินเตอร์เน็ตคาเฟ่ หลายแห่ง
    * ใช้ A.T.M. กดเงินได้สะดวก
(ปัจจุบน ร.ร.คอมฯเปิ ดสอนเกี่ยวกับการแฮคเกอร์ขอมูล, การใช้อินเตอร์เน็ตคาเฟโดยเสรี ไม่กาหนดอายุ
          ั                                        ้
เงื่อนไข การแสดงบัตรประชาชน)
7. การทุจริ ตในโรงพยาบาล และบางบริ ษท        ั
โดยการทาใบส่งของปลอมจากคอมพิวเตอร์ เช่นเจ้าหน้าที่ควบคุมคอมพิวเตอร์ ยักยอกเงินโรงพยาบาล
40,000 เหรี ยญโดยการทาใบส่งของปลอมที่กาหนดจากเครื่ องคอมพิวเตอร์โรงพยาบาลเจ้าหน้าที่ ควบคุม
สินเชื่อ จัดทาใบส่งของปลอม จากบริ ษทที่ต้งขึ้นปลอมโดยให้เช็คสังจ่ายบริ ษทปลอมของตัวเองที่ต้งขึ้น
                                            ั ั                    ่        ั               ั
สูงถึง 155,000 เหรี ยญ
8. การทุจริ ตในบริ ษทค้าน้ ามัน
                        ั
  พนักงานควบคุมบัญชี สังให้คอมพิวเตอร์นาเช็คจ่ายภรรยา แทนการจ่ายให้แก่เจ้าของที่ดิน โดยการแก้ไข
                              ่
รหัสผูรับเงิน
        ้
9. การทุจริ ตในธนาคารของเนเธอร์แลนด์
 ผูจดการฝ่ ายต่างประเทศ และผูช่วยถูกจับในข้อหายักยอกเงินธนาคารถึง65 ล้านเหรี ยญ ภายใน 2 ปี โดยการ
   ้ั                                 ้
แก้ไขรหัสโอนเงินที่สามารถโอนเงินผ่านคอมพิวเตอร์
10. การทุจริ ตในบริ ษทประกัน
                          ั
 เจ้าหน้าที่วิเคราะห์สินไหมทดแทนของบริ ษท ทาการทุจริ ตเงินของ บริ ษทจานวน 206,000 เหรี ยญ ในรอบ
                                                 ั                       ั
2 ปี ใช้ความรู้เรื่ องสินไหมทดแทน โดยใช้ชื่อผูเ้ สียหายปลอมแต่ใช้ที่อยูของ ตัวเองและแฟน
                                                                       ่
11. ระบบคอมพิวเตอร์ในมหาวิทยาลัยมิชิแกน
 ระบบข้อมูลซึ่งประมวลโดยคอมพิวเตอร์ ที่มีผสามารถจัดการข้อมูลได้ มากกว่า 1 คน ทาให้ระบบข้อมูล
                                                   ู้
นักศึกษา 43,000 คนได้รับความเสียหาย คะแนนเฉลี่ยถูกเปลี่ยน ข้อมูลบางอย่างถูกลบ
12. การทุจริ ตในบริ ษทแฟรนไชส์
                            ั
 เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ของบริ ษทผูผลิตอาหารรายใหญ่ ทาการทุจริ ต ลบข้อมูลสินค้าคงคลัง และค่าแรง
                                        ั ้
ของแฟรนไชส์ 400 แห่ง
13. การทุจริ ตในกรมสวัสดิการสังคมของแคลิฟอร์เนีย
 หัวหน้าและเสมียน ยักยอกเงินไปกว่า 300,000 เหรี ยญ ภายในหนึ่งปี โดยการร่ วมกันจัดทาใบเบิกปลอม
และไม่ผานกระบวนการอนุมติที่ถุกต้อง
          ่                       ั
14. การทุจริ ตสนามม้าแข่งในออสเตรเลีย
 เสมียนที่ควบคุมในระบบม้าแข่งแห่งหนึ่งของรัฐบาลได้ทุจริ ต การแก้ไขเวลาในเครื่ องให้ชาลง 3 นาที
                                                                                      ้
 ทราบผลการแข่งขันจะโทรแจ้งแฟน ความเสียหายที่เกิดขึ้น ไม่มีใครพิสูจน์ทราบ ไม่รู้ว่าทามานานเท่าใด
 จับได้เพราะแฟนสาวโกรธที่ได้เงินมาแล้วแบ่งให้หญิงอื่น
15. การทุจริ ตโกงเงินในบริ ษท เช่น
                                ั
 โปรแกรมเมอร์นาเอาโปรแกรมบัญชีฝากเผือเรี ยก มายักยอกเบิกเกินบัญชีในบัญชีตนเอง เป็ นเวลา 6 เดือน
                                               ่
รวม 1,357 เหรี ยญพนักงานที่ถกนายจ้างไล่ออก ได้ทาลายข้อมูลที่จดเก็บไว้ในระบบon-line เจ้าหน้าที่
                                    ู                            ั
ควบคุมการปฏิบติงานแผนกคอมพิวเตอร์ ขโมยที่อยูของลูกค้าจานวน 3 ล้านราย เพื่อเรี ยกค่าไถ่จากบริ ษท
                     ั                                ่                                         ั
รองประธานระบบคอมพิวเตอร์ หัวหน้าปฏิบติการของธนาคารร่ วมกับ บุคคลภายนอกอีก 3 คน โอนเงิน
                                          ั
จากบัญชีของลูกค้าที่ไม่ค่อยเคลื่อนไหว ไปเข้าบัญชีที่จดทาขึ้นมา ผูปฏิบติการคอมพิวเตอร์กดปุ่ ม “Repeat”
                                                     ั           ้ ั
เพื่อจัดทาเช็คให้ตนเองถึง 200 ใบ แต่ถกจับขณะนาเช็คใบที่ 37 ไปแลกเงินสดจากธนาคารการบันทึก
                                      ู
รายการปลอม พนักงานคอมพิวเตอร์ต่อรองให้ทางบริ ษทขึ้นเงินเดือนให้ท้งแผนก ไม่เช่นนั้น ใบส่งของ
                                                       ั               ั
จานวน 28,000 ใบ ที่กาลังจะส่ง จะถูกลดราคาลงไป 5%ผูวิเคราะห์ของระบบห้างสรรพสินค้าใหญ่ สังซื้อ
                                                         ้                                     ่
สินค้าจากห้างราคาแพงแต่ให้คอมฯพิมพ์ราคาต่า

หลักกฎหมายที่ใช้ ในอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
        กฎหมายอาญา คือ กฎหมายที่กาหนดฐานความผิดและบทลงโทษโดยบุคคลจะรับโทษทางอาญาได้ก็
ต่อเมื่อมีกฎหมายในขณะกระทาความผิด กาหนดว่าการกระทานั้นเป็ นความผิด และมีบทลงโทษไว้
ลักษณะกฎหมายอาญา คือ มีลกษณะเป็ นกฎระเบียบมุ่งเน้นให้ทุกคนอยูร่วมกันอย่างมีความสุข มุ่งเน้นเพื่อ
                             ั                                ่
ความสงบสุขทางสังคม เพื่อความเรี ยบร้อยในบ้านเมืองการปรับใช้กฎหมายอาญากับกฎหมายลักษณะอาญา
ฉบับอื่นมาตรา 17 กาหนดว่า บทบัญญัติในภาค 1 แห่งประมวลกฎหมายนี้ ให้ใช้ในกรณี แห่งความผิด
กฎหมายอื่นด้วย เช่น หลักเจตนา ม.57 , การพยายามกระทาความผิด ม.80 , ตัวการ ผูใช้ และผูสนับสนุนการ
                                                                           ้        ้
กระทาความผิด ม. 843 – 89 เป็ นต้น

ผลกระทบของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 -ผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ
 -ผลกระทบต่อความมันคงของประเทศ
                      ่
 -ผลกระทบต่อจริ ยธรรม
    เช่น การใช้อินเตอร์เน็ตในการหลอกลวง การเผยแพร่ ภาพลามก
-ผลกระทบต่อการประกอบอาชญากรรมประเภทอื่น ๆ
อ้างอิง
http://www.microsoft.com
http://www.lawyerthai.com

More Related Content

What's hot

อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องKamonchapat Boonkua
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องKamonchapat Boonkua
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯKannaree Jar
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรมJariya Huangjing
 

What's hot (12)

คอมดาวน
คอมดาวน คอมดาวน
คอมดาวน
 
คอมจ๊ะ
คอมจ๊ะคอมจ๊ะ
คอมจ๊ะ
 
คอมดาวน์
คอมดาวน์คอมดาวน์
คอมดาวน์
 
Aaaaa
AaaaaAaaaa
Aaaaa
 
พอน1ok
พอน1okพอน1ok
พอน1ok
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรม
 
Poopdf
PoopdfPoopdf
Poopdf
 
คอม
คอมคอม
คอม
 

Similar to นิด

อาชญากรรม1
อาชญากรรม1อาชญากรรม1
อาชญากรรม1Sp'z Puifai
 
คอมดาวน
คอมดาวน คอมดาวน
คอมดาวน dowsudarat
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์Nukaem Ayoyo
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์Chutima Tongnork
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อิ่' เฉิ่ม
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯKannaree Jar
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรมCh Khankluay
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯKannaree Jar
 
อาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวอาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวMind Candle Ka
 
รายงาน อาย
รายงาน อายรายงาน อาย
รายงาน อายJiraprapa Noinoo
 

Similar to นิด (20)

อาชญากรรม1
อาชญากรรม1อาชญากรรม1
อาชญากรรม1
 
คอมดาวน
คอมดาวน คอมดาวน
คอมดาวน
 
Aaaaa
AaaaaAaaaa
Aaaaa
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
Bbbb
BbbbBbbb
Bbbb
 
รายงานเจียบ
รายงานเจียบรายงานเจียบ
รายงานเจียบ
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงานคอม12
รายงานคอม12รายงานคอม12
รายงานคอม12
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
ครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdfครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdf
 
ครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdfครูจุ๋ม Poopdf
ครูจุ๋ม Poopdf
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรม
 
งานคอมฯ
งานคอมฯงานคอมฯ
งานคอมฯ
 
อาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาวอาชญากรรม บาว
อาชญากรรม บาว
 
รายงาน อาย
รายงาน อายรายงาน อาย
รายงาน อาย
 

นิด

  • 1. รายงาน เรื่อง อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกียวข้ อง ่ เสนอ อาจารย์ จุฑารัตน์ ใจบุญ จัดทาโดย นางสาว ทิพวัลย์ ขาวคง ชั้น ม.6/1 เลขที่ 10 โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์ อนุสรณ์ อ.วังวิเศษ จ.ตรัง รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของรายวิชาการ งานอาชีพและเทคโนโลยี (ง33102)
  • 2. คานา รายงานเล่มนี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (ง33102) ดิฉนได้จดทาขึ้น ั ั เพื่อให้ทุกคนที่มาศึกษารายงานเล่มนี้ได้รู้ว่า อาชญากรรมคอมพิวเตอร์คืออะไร , อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็ นกี่ลกษณะ , รู ปแบบของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ , อาชญากรทางคอมพิวเตอร์ , ตัวอย่าง ั อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ , หลักกฎหมายที่ใช้ในอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ , ผลกระทบของ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ดิฉนหวังว่ารายงานเล่มนี้คงมีประโยชน์กบผูอ่านไม่มากก็นอย ั ั ้ ้ หากรายงานเล่มนี้ผดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ที่น้ ีดวย ิ ้ จัดทาโดย นางสาวทิพวัลย์ ขาวคง ชั้น ม.6/1 เลขที่ 10
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้ า อาชญากรรมคอมพิวเตอร์คือ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็ นกี่ลกษณะ ั รู ปแบบของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อาชญากรทางคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ หลักกฎหมายที่ใช้ในอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ผลกระทบของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
  • 4. อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ คือ การกระทาที่ผดกฎหมายโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อโจมตีระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลที่ ิ อยูบนระบบดังกล่าว ส่วนในมุมมองที่กว้างขึ้น “อาชญากรรมที่เกี่ยวเนื่องกับคอมพิวเตอร์” หมายถึงการ ่ กระทาที่ผดกฎหมายใดๆ ซึ่งอาศัยหรื อมีความเกี่ยวเนื่องกับระบบคอมพิวเตอร์หรื อเครื อข่าย อย่างไรก็ตาม ิ อาชญากรรมประเภทนี้ไม่ถือเป็ นอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์โดยตรงการประกอบอาชญากรรมทาง คอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจของประเทศจานวนมหาศาล อาชญากรรมทาง คอมพิวเตอร์จึงจัดเป็ นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรื อ อาชญากรรมทางธุรกิจรู ปแบบหนึ่งที่มีความสาคัญ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ แบ่ งเป็ น 4 ลักษณะ คือ 1. การเจาะระบบรักษาความปลอดภัย ทางกายภาพ ได้แก่ ตัวอาคาร อุปกรณ์และสื่อต่างๆ 2. การเจาะเข้าไปในระบบสื่อสาร และการ รักษาความปลอดภัยของซอฟต์แวร์ขอมูลต่างๆ ้ 3. เป็ นการเจาะเข้าสู่ระบบรักษาความปลอดภัย ของระบบปฏิบติการ(Operating System) ั 4. เป็ นการเจาะผ่านระบบรักษาความปลอดภัยส่วนบุคคล โดยใช้อินเตอร์เน็ตเป็ นช่องทางในการกระทา ความผิด รูปแบบของอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ ปัจจุบนทัวโลก ได้จาแนกประเภทอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ 9 ประเภท (ตามข้อมูล ั ่ คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจร่ างกฎหมายอาชญากรรมทาคอมพิวเตอร์ ) 1. การขโมยข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต รวมถึงการขโมยประโยชน์ในการลักลอบใช้บริ การ 2. การปกปิ ดความผิดของตัวเอง โดยใช้ระบบการสื่อสาร 3. การละเมิดลิขสิทธิ์ ปลอมแปลงรู ปแบบเลียนแบระบบซอฟแวร์โดยมิชอบ 4. การเผยแพร่ ภาพ เสียง ลามก อนาจาร และข้อมูลที่ไม่เหมาะสม 5. การฟอกเงิน 6. การก่อกวน ระบบคอมพิวเตอร์ เช่น ทาลายระบบสาธารณูปโภค เช่น ระบบจ่ายน้ า จ่ายไฟ จราจร 7. การหลอกลวงให้ร่วมค้าขาย หรื อ ลงทุนปลอม (การทาธุรกิจที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย) 8. การลักลอบใช้ขอมูลเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ในทางมิชอบ เช่น การขโมยรหัสบัตรเครดิต ้ 9. การใช้คอมพิวเตอร์ในการโอนบัญชีผอื่นเป็ นของตัวเอง ู้
  • 5. อาชญากรทางคอมพิวเตอร์ 1. พวกเด็กหัดใหม่ (Novice) 2. พวกวิกลจริ ต (Deranged persons) 3. อาชญากรที่รวมกลุ่มกระทาผิด (Organized crime) 4. อาชญากรอาชีพ (Career) 5. พวกหัวพัฒนา มีความก้าวหน้า(Con artists) 6. พวกคลังลัทธิ(Dremer) / พวกช่างคิดช่างฝัน(Ideologues) ่ 7. ผูที่มีความรู้และทักษะด้านคอมพิวเตอร์อย่างดี (Hacker/Cracker ) ้ ตัวอย่ างอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 1. Morris Case การเผยแพร่ หนอนคอมพิวเตอร์ (Worm)โดยนายโรเบิร์ต ที มอริ ส นักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ จาก มหาวิทยาลัยคอร์แนล หนอน (worm) สามารถระบาดติดเชื้อจากคอมพิวเตอร์เครื่ องหนึ่งไปสู่อีกเครื่ องหนึ่ง ทาให้คอมพิวเตอร์ ไม่สามารถทางานได้ โดยมีการแพร่ ระบาดอย่างรวดเร็ ว -ศาลตัดสินจาคุก 3 ปี แต่ให้รอลงอาญา โดยให้บริ การสังคมเป็ นเวลา 400 ชัวโมง และปรับเป็ นเงิน 10,050 ่ ดอลลาร์สหรัฐ 2. Digital Equipment case เดือนธันวาคม ค.ศ.1980 เครื อข่ายของบริ ษท Digital Equipment Corporation ประสบปัญหาการทางาน ั โดยเริ่ มจากบริ ษท U.S Leasing ั - คนร้ายโทร. ปลอมเป็ นพนักงานคอมของ บริ ษท Digital Equipment ั - ขอเข้าไปในระบบ(Access)โดยขอหมายเลขบัญชีผใช้ (Account Number) ู้ และรหัสผ่าน (password) - ต่อมามีการตรวจสอบ - มีการก่อวินาศกรรมทางคอมพิวเตอร์ * คอมพิวเตอร์พิมพ์ขอความหยาบคาย เครื่ องพิมพ์พิมพ์กระดาษเต็มห้อง ้ *ลบข้อมูลในไฟล์บริ ษททิ้งหมด เช่น ข้อมูลลูกค้า สินค้าคงคลัง ั ใบเรี ยกเก็บเงิน
  • 6. 3. “141 Hackers” และ “War Game” ภาพยนตร์ที่เกิดขึ้นในปี ค.ศ.1983 - “141 Hackers” การเจาะระบบสาธารณูปโภคของสหรัฐอเมริ กา - “War Game” การเจาะระบบจนกระทังเกือบเกิดสงครามปรมาณู ระหว่าง ่ - สหรัฐอเมริ กา และโซเวียต - ทั้งสองเรื่ อง ถูกนาเข้าสู่ที่ประชุมของสภาคองเกรส (Congress) 4. ไวรัส Logic bomb/Worm ใน Yahoo - ทาลายระบบคอมพิวเตอร์ของผูใช้บริ การของ Yahoo ในปี 1997 ้ - ทาลายระบบคอมพิวเตอร์นบล้านเครื่ อง ั 5. การเจาะระบบข้อมูลของ Kevin Mitnick -โดยเจาะระบบของนักฟิ สิกส์ Shimomura ของ San Diego Supercomputer center - เจาะระบบการบริ การออนไลน์ The Well - เจาะระบบโทรศัพท์มือถือ - ไม่แสวงหาผลประโยชน์ - Mitnick เจาะระบบข้อมูลเหมือนคนติดยาเสพติด ไม่สามารถเลิกได้ 6. การปล้นเงินธนาคารพาณิ ชย์ 5.5 ล้านบาท -คนร้ายเป็ นอดีตพนักงานธนาคาร โดยมีคนในร่ วมทาผิด เป็ นทีม วิธีการ -*โดยการปลอมแปลงเอกสารหลักฐาน เพื่อขอใช้บริ การ ฝาก-ถอน -โอนเงินผ่านอินเตอร์เน็ต “อินเตอร์เน็ตแบงค์กิ้ง” ซึ่งเป็ นบัญชี -ของลูกค้าที่มีการฝากเงินไว้เป็ นล้าน -เมื่อได้รหัสผ่าน(Password)แล้ว ทาการโอนเงินจากบัญชีของเหยือ ่ -ทางอินเตอร์เน็ต และทางโทรศัพท์ (เทโฟนแบงค์กิ้ง) ไปเข้าอีกบัญชีหนึ่ง -ซึ่ งได้เปิ ดไว้โดยใช้หลักฐานปลอม * ใช้บริ การคอมฯ จากร้านอินเตอร์เน็ตคาเฟ่ หลายแห่ง * ใช้ A.T.M. กดเงินได้สะดวก (ปัจจุบน ร.ร.คอมฯเปิ ดสอนเกี่ยวกับการแฮคเกอร์ขอมูล, การใช้อินเตอร์เน็ตคาเฟโดยเสรี ไม่กาหนดอายุ ั ้ เงื่อนไข การแสดงบัตรประชาชน)
  • 7. 7. การทุจริ ตในโรงพยาบาล และบางบริ ษท ั โดยการทาใบส่งของปลอมจากคอมพิวเตอร์ เช่นเจ้าหน้าที่ควบคุมคอมพิวเตอร์ ยักยอกเงินโรงพยาบาล 40,000 เหรี ยญโดยการทาใบส่งของปลอมที่กาหนดจากเครื่ องคอมพิวเตอร์โรงพยาบาลเจ้าหน้าที่ ควบคุม สินเชื่อ จัดทาใบส่งของปลอม จากบริ ษทที่ต้งขึ้นปลอมโดยให้เช็คสังจ่ายบริ ษทปลอมของตัวเองที่ต้งขึ้น ั ั ่ ั ั สูงถึง 155,000 เหรี ยญ 8. การทุจริ ตในบริ ษทค้าน้ ามัน ั พนักงานควบคุมบัญชี สังให้คอมพิวเตอร์นาเช็คจ่ายภรรยา แทนการจ่ายให้แก่เจ้าของที่ดิน โดยการแก้ไข ่ รหัสผูรับเงิน ้ 9. การทุจริ ตในธนาคารของเนเธอร์แลนด์ ผูจดการฝ่ ายต่างประเทศ และผูช่วยถูกจับในข้อหายักยอกเงินธนาคารถึง65 ล้านเหรี ยญ ภายใน 2 ปี โดยการ ้ั ้ แก้ไขรหัสโอนเงินที่สามารถโอนเงินผ่านคอมพิวเตอร์ 10. การทุจริ ตในบริ ษทประกัน ั เจ้าหน้าที่วิเคราะห์สินไหมทดแทนของบริ ษท ทาการทุจริ ตเงินของ บริ ษทจานวน 206,000 เหรี ยญ ในรอบ ั ั 2 ปี ใช้ความรู้เรื่ องสินไหมทดแทน โดยใช้ชื่อผูเ้ สียหายปลอมแต่ใช้ที่อยูของ ตัวเองและแฟน ่ 11. ระบบคอมพิวเตอร์ในมหาวิทยาลัยมิชิแกน ระบบข้อมูลซึ่งประมวลโดยคอมพิวเตอร์ ที่มีผสามารถจัดการข้อมูลได้ มากกว่า 1 คน ทาให้ระบบข้อมูล ู้ นักศึกษา 43,000 คนได้รับความเสียหาย คะแนนเฉลี่ยถูกเปลี่ยน ข้อมูลบางอย่างถูกลบ 12. การทุจริ ตในบริ ษทแฟรนไชส์ ั เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ของบริ ษทผูผลิตอาหารรายใหญ่ ทาการทุจริ ต ลบข้อมูลสินค้าคงคลัง และค่าแรง ั ้ ของแฟรนไชส์ 400 แห่ง 13. การทุจริ ตในกรมสวัสดิการสังคมของแคลิฟอร์เนีย หัวหน้าและเสมียน ยักยอกเงินไปกว่า 300,000 เหรี ยญ ภายในหนึ่งปี โดยการร่ วมกันจัดทาใบเบิกปลอม และไม่ผานกระบวนการอนุมติที่ถุกต้อง ่ ั 14. การทุจริ ตสนามม้าแข่งในออสเตรเลีย เสมียนที่ควบคุมในระบบม้าแข่งแห่งหนึ่งของรัฐบาลได้ทุจริ ต การแก้ไขเวลาในเครื่ องให้ชาลง 3 นาที ้ ทราบผลการแข่งขันจะโทรแจ้งแฟน ความเสียหายที่เกิดขึ้น ไม่มีใครพิสูจน์ทราบ ไม่รู้ว่าทามานานเท่าใด จับได้เพราะแฟนสาวโกรธที่ได้เงินมาแล้วแบ่งให้หญิงอื่น 15. การทุจริ ตโกงเงินในบริ ษท เช่น ั โปรแกรมเมอร์นาเอาโปรแกรมบัญชีฝากเผือเรี ยก มายักยอกเบิกเกินบัญชีในบัญชีตนเอง เป็ นเวลา 6 เดือน ่ รวม 1,357 เหรี ยญพนักงานที่ถกนายจ้างไล่ออก ได้ทาลายข้อมูลที่จดเก็บไว้ในระบบon-line เจ้าหน้าที่ ู ั ควบคุมการปฏิบติงานแผนกคอมพิวเตอร์ ขโมยที่อยูของลูกค้าจานวน 3 ล้านราย เพื่อเรี ยกค่าไถ่จากบริ ษท ั ่ ั
  • 8. รองประธานระบบคอมพิวเตอร์ หัวหน้าปฏิบติการของธนาคารร่ วมกับ บุคคลภายนอกอีก 3 คน โอนเงิน ั จากบัญชีของลูกค้าที่ไม่ค่อยเคลื่อนไหว ไปเข้าบัญชีที่จดทาขึ้นมา ผูปฏิบติการคอมพิวเตอร์กดปุ่ ม “Repeat” ั ้ ั เพื่อจัดทาเช็คให้ตนเองถึง 200 ใบ แต่ถกจับขณะนาเช็คใบที่ 37 ไปแลกเงินสดจากธนาคารการบันทึก ู รายการปลอม พนักงานคอมพิวเตอร์ต่อรองให้ทางบริ ษทขึ้นเงินเดือนให้ท้งแผนก ไม่เช่นนั้น ใบส่งของ ั ั จานวน 28,000 ใบ ที่กาลังจะส่ง จะถูกลดราคาลงไป 5%ผูวิเคราะห์ของระบบห้างสรรพสินค้าใหญ่ สังซื้อ ้ ่ สินค้าจากห้างราคาแพงแต่ให้คอมฯพิมพ์ราคาต่า หลักกฎหมายที่ใช้ ในอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ กฎหมายอาญา คือ กฎหมายที่กาหนดฐานความผิดและบทลงโทษโดยบุคคลจะรับโทษทางอาญาได้ก็ ต่อเมื่อมีกฎหมายในขณะกระทาความผิด กาหนดว่าการกระทานั้นเป็ นความผิด และมีบทลงโทษไว้ ลักษณะกฎหมายอาญา คือ มีลกษณะเป็ นกฎระเบียบมุ่งเน้นให้ทุกคนอยูร่วมกันอย่างมีความสุข มุ่งเน้นเพื่อ ั ่ ความสงบสุขทางสังคม เพื่อความเรี ยบร้อยในบ้านเมืองการปรับใช้กฎหมายอาญากับกฎหมายลักษณะอาญา ฉบับอื่นมาตรา 17 กาหนดว่า บทบัญญัติในภาค 1 แห่งประมวลกฎหมายนี้ ให้ใช้ในกรณี แห่งความผิด กฎหมายอื่นด้วย เช่น หลักเจตนา ม.57 , การพยายามกระทาความผิด ม.80 , ตัวการ ผูใช้ และผูสนับสนุนการ ้ ้ กระทาความผิด ม. 843 – 89 เป็ นต้น ผลกระทบของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ -ผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ -ผลกระทบต่อความมันคงของประเทศ ่ -ผลกระทบต่อจริ ยธรรม เช่น การใช้อินเตอร์เน็ตในการหลอกลวง การเผยแพร่ ภาพลามก -ผลกระทบต่อการประกอบอาชญากรรมประเภทอื่น ๆ