SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
การบัญชีกิจการ
รับเหมาก่อสร้างอาจารย์ รุจิรัตน์ ปาลีพัฒน์สกุล
TRU
(1) ประเภทงานก่อสร้าง
1. งานก่อสร้างอาคาร
2. งานระบบ (System Work)
3. งานตกแต่งอาคาร
4. งานโยธา (Civil Work)
งานก่อสร้างโดยทั่วไป แบ่งออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ
(1) ประเภทงานก่อสร้าง
1. งานก่อสร้างอาคาร
เป็นงานก่อสร้างที่ครอบคลุมตั้งแต่ งานวางผังก่อสร้าง
งานเสาเข็ม งานฐานรากของอาคาร โครงสร้างของอาคาร
โดยทั่วไป งานมีหลายขั้นตอนจาเป็นต้องหาผู้รับเหมาช่วง
(Sub Contract) ที่มีความชานาญเฉพาะด้านเช่น งานเสาเข็ม
เป็นต้น
(1) ประเภทงานก่อสร้าง
2. งานระบบ (System Work)
เป็ นงานรับเหมาระบบไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศ
น้าประปา สุขภัณฑ์ต่างๆ ซึ่งเป็ นงานที่ต้องมีความชานาญ
เฉพาะด้าน และต้องดาเนินการควบคุมไปกับงานก่อสร้าง
อาคาร
(1) ประเภทงานก่อสร้าง
3. งานตกแต่งอาคาร
เป็ นงานรับเหมาตกแต่งอาคาร ซึ่งครอบคลุมถึงงาน
เฟอร์นิเจอร์ งานนี้ส่วนใหญ่ต้องอาศัยมัณฑนากร เป็ น
ผู้ออกแบบและควบคุมงาน และจะเริ่มดาเนินการตั้งแต่งาน
ก่อสร้างอาคารและงานระบบ ถือเป็ นงานสุดท้ายก่อนที่ผู้
ว่าจ้างหรือเจ้าของอาคารจะใช้ประโยชน์จากอาคาร
(1) ประเภทงานก่อสร้าง
4. งานโยธา (Civil work)
เป็นงานรับเหมาก่อสร้างถนน ทางด่วน รถไฟ สะพาน
เขื่อน ฯลฯ ซึ่งส่วนใหญ่จะเรียกว่า In-Fra Structure
(2) วงจรงานก่อสร้าง
วงจรของงานก่อสร้าง (Project Life Cycle) สาหรับ
โครงการก่อสร้างประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 6 ขั้นตอน คือ
1. ระยะแรกเริ่ม (Inception)
2. ระยะออกแบบเบื้องต้น (Conceptual Design)
3. ระยะการพัฒนาแบบ (Design Develop)
4. ระยะออกแบบประมูล (Tender Drawing)
5. ระยะการก่อสร้าง (Construction)
6. ระยะการใช้งานและการบารุงรักษา (Operation & Maintenance)
(2) วงจรงานก่อสร้าง
1. ระยะแรกเริ่ม (Inception)
เริ่มต้นจากเจ้าของโครงการ มีความประสงค์ที่จะลงทุน เพื่อ
ประโยชน์ตอบแทน หรือเพื่อพัฒนาสาธารณูปโภค ซึ่งการกระทาใน
ระยะนี้ ได้แก่ Pre-Feasibility Study เป็นการศึกษารูปแบบโครงการ
คร่าวๆ ซึ่งลักษณะรูปแบบอาจจะมีหลายทางเลือกให้ตัดสินใจ
Feasibility Study เป็ นการศึกษาความเป็ นไปได้ของ
โครงการหลังจากได้เลือกรูปแบบของโครงการแล้ว โดยจะมีการ
วิเคราะห์ความเป็นไปได้
(2) วงจรงานก่อสร้าง
2. ระยะออกแบบเบื้องต้น (Conceptual Design)
หลังจากตกลงเลือกรูปแบบของโครงการแล้วก็เริ่มออกแบบ
พร้อมศึกษาถึงผลกระทบต่างๆ ของโครงการทางด้านสภาพแวดล้อม
และกฎหมาย
3. ระยะการพัฒนาแบบ (Design Develop)
ขั้นตอนนี้ถือว่าโครงการขึ้นแล้วเจ้าของงานเริ่มติดต่อ
สถาบันการเงินผู้รับเหมา
(2) วงจรงานก่อสร้าง
4. ระยะออกแบบประมูล (Tender Drawing)
เป็นขั้นตอนตัดเลือก ผู้รับเหมา โดยทั่วไปจะเปิดการประมูล
ด้วยกัน 3 วิธีดังนี้
4.1 ประมูลแบบเบ็ดเสร็จ (One Package) ผู้รับเหมารายเดียว
รับผิดชอบก่อสร้างทั้งหมดจนแล้วเสร็จ
4.2 ประมูลแบบแยกส่วน โดยจะแยกส่วนเป็นผู้รับเหมาหลัก (Main
Constructor)
4.3 ประมูลแบบแยกส่วนเฉพาะส่วน ส่วนใหญ่จะเป็นลักษณะให้
รับเหมาเฉพาะค่าแรงงาน โดยเจ้าของจัดซื้อวัสดุก่อสร้างเอง
(2) วงจรงานก่อสร้าง
5. ระยะการก่อสร้าง (Construction)
เป็ นระยะที่ผู้รับเหมาะที่ได้รับการคัดเลือกจะดาเนินการ
ก่อสร้างตามรูปแบบสัญญาโดยประสานงานกับ Consultant ทุก
ระยะ
6. ระยะการใช้งานและการบารุงรักษา (Operation &
Maintenance)
เป็นช่วงระยะเวลาที่การก่อสร้างแล้วเสร็จ ซึ่งผู้ใช้งานจะต้อง
เป็นผู้ดูแลรักษาอาคารเอง
(3) ประเภทของสัญญางานก่อสร้าง
สัญญางานก่อสร้าง แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. One Package Contract เป็นสัญญารับเหมาองานทั้ง
โครงการตั้งแต่เริ่มงานก่อสร้างจนแล้วเสร็จ
2. Specialist Contract เป็นสัญญาเฉพาะงานบางส่วนของ
โครงการ เช่น งานระบบไฟฟ้า เครื่องปรับอากาศ งานตกแต่ง ฯลฯ
3. Negotiated Contract เป็นการเจาะจงเรียกผู้รับเหมาที่
ต้องการมาเจรจาต่อรองราคา และเงื่อนไขต่างๆ โดยไม่มีการประมูล
(4) ลักษณะพิเศษของบัญชีรับเหมาก่อสร้าง
ลักษณะพิเศษของบัญชีรับเหมาก่อสร้ าง (Unique
Characterics of Construction Accounting)
1. โครงการก่อสร้างส่วนมากมักอยู่ห่างจากสานักงานกลาง
ของบริษัท ซึ่งทาให้เกิดปัญหาในการรวบรวมผลการดาเนินงาน
ทางด้านบัญชีอย่างมีประสิทธิภาพ
2. โครงการก่อสร้างแต่ละชิ้น ซึ่งบริษัทก่อสร้างได้ทาขึ้นจะมี
ลักษณะการออกแบบและการก่อสร้างที่ต่างกัน ฉะนั้น จึงทาให้
วิธีการคิดบัญชีต่างกัน
(4) ลักษณะพิเศษของบัญชีรับเหมาก่อสร้าง
3. ปกติโครงการก่อสร้างมักใช้ระยะเวลามากกว่า 1 ปี ดังนั้น
อุตสาหกรรมก่อสร้างมักจะคานวณรายรับและรายจ่าย โดยการอ้าง
ถึงวิธีการคิดบัญชีตามสัญญาการก่อสร้างระยะยาว (Long-Term
Contract Methods)
4. บัญชีบริษัทก่อสร้างในทางปฏิบัติจะกระทบกระเทือนโดย
บุคคลภายนอก เช่น สถานบันการเงิน บริษัทประกันภัย องค์กรของ
รัฐบาลและบริษัทค้าวัสดุก่อสร้าง
5. บริษัทก่อสร้างส่วนใหญ่มักจะมีเจ้าของธุรกิจน้อยคน
ดังนั้น จึงมักดาเนินการในรูปของบริษัท
(4) ลักษณะพิเศษของบัญชีรับเหมาก่อสร้าง
หลักเกณฑ์ในการจัดทาบัญชีของกิจการรับเหมาก่อสร้าง มีดังนี้
 ดูขอบข่ายงานก่อสร้างว่ามากน้อยเพียงใด
 ดูประเภทของการก่อสร้างว่ามีอะไรบ้าง
 ดูแผนนโยบายของกิจการก่อสร้าง ที่มาของรายได้
 ดูการจัดองค์การ และการแบ่งหน้าที่การงาน
 ดูระบบการควบคุมภายใน
 ออกแบบ เอกสารต่างๆ
 กาหนดชื่อบัญชีและงบการเงิน รวมตลอดถึงรูปแบบบัญชีต่างๆ
 กาหนดแบบรายงานต่างๆ ฯลฯ
(5) วิธีการจัดทาบัญชีของกิจการ
วิธีทาบัญชีของกิจการรับเหมาก่อสร้าง โดยทั่วไปแยก
ออกเป็น 2 กรณีใหญ่ๆ ด้วยกันคือ
กรณีที่ 1 การทาบัญชีในกิจการรับเหมาก่อสร้างที่ทา
บัญชีอยู่แล้ว
กรณีที่ 2 การทาบัญชีในกิจการรับเหมาก่อสร้างที่ไม่
เคยทาบัญชีมาก่อนเลย
(5) วิธีการจัดทาบัญชีของกิจการ
กรณีที่ 1 การทาบัญชีในกิจการรับเหมาก่อสร้างที่ทาบัญชีอยู่แล้ว
1. ศึกษาการควบคุมภายใน
2. วิเคราะห์ผลดีผลเสียของการควบคุมภายใน (ประเมินผล)
3. ตัดสินใจในการจัดทาบัญชี
(5) วิธีการจัดทาบัญชีของกิจการ
กรณีที่ 1 การทาบัญชีในกิจการรับเหมาก่อสร้างที่ทาบัญชีอยู่แล้ว
- ด้านการควบคุมภายในรวมถึงทางด้านการเงินและบัญชี โดยดูจาก
การจ่ายเงินรับเงิน วิธีการเก็บเงิน การจ่ายเงินมีวิธีอย่างไร เช่น การจ่าย
ค่าใช้จ่าย ค่าพาหนะ เวลาที่จ่ายมีวิธีที่จะปฏิบัติอย่างไร มีการเซ็นรับเงิน
หรือไม่ ตลอดจนการรับเงินนั้นมีเอกสารประกอบหรือไม่ ถ้ามีการจ่ายเงินทุก
อย่างไม่มีการเซ็นรับ ไม่มีเอกสารประกอบ สรุปได้ว่าการควบคุมภายในไม่ดี
พอ
การรับเงินในกิจการมีอย่างเดียว คือ จากรายได้ โดยการรับเงินต้องมี
ใบเสร็จรับเงินและใบเสร็จจะสมบูรณ์ก้อต่อเมื่อมีลายเซ็นต์ผู้จัดการและมีการ
บันทึกลงบัญชี
(5) วิธีการจัดทาบัญชีของกิจการ
กรณีที่ 1 การทาบัญชีในกิจการรับเหมาก่อสร้างที่ทาบัญชีอยู่แล้ว
- ด้านการตัดสินใจในการทาบัญชี ถ้าทาบัญชีถูกต้องจะทาให้
ประหยัดเวลาในการทา สะดวกในการบันทึกบัญชี ทาให้ผู้อ่านงบและดูงบ
เข้าใจง่ายขึ้น แต่โดยที่เราแก้ไขและปรับปรุงบัญชีนั้นไม่ขัดต่อกฎหมายหรือ
พระราชบัญญัติการบัญชี ตลอดจนประมวลรัษฎากร
สาหรับกิจการที่ทาบัญชีเดี่ยว ต้องยกเลิกแล้วเป
(5) วิธีการจัดทาบัญชีของกิจการ
กรณีที่ 2 การทาบัญชีในกิจการรับเหมาก่อสร้างที่ไม่เคยทาบัญชีมาก่อนเลย
1. ศึกษาระบบการจัดองค์การและการบริหารงาน ซึ่งอาจเป็ น
แบบนิติบุคคล หรือ บุคคลธรรมดาแล้วแต่ธุรกิจที่ตั้งขึ้น ส่วน
การบริหารอาจเป็นการกระจายอานาจหรือรวมอานาจ
2. ศึกษาถึงระบบการควบคุมภายในกิจการรับเหมาก่อสร้าง ด้าน
(5) วิธีการจัดทาบัญชีของกิจการ
กรณีที่ 2 การทาบัญชีในกิจการรับเหมาก่อสร้างที่ไม่เคยทาบัญชีมาก่อนเลย
2.1 การบริหารงานบุคคล
- มีการกาหนดตาแหน่งหน้าที่ และหน่วยงานต่างๆ ภายใน
2.2 การบริหารงานด้านการบัญชี
- มีการกาหนดบุคคลผู้รับผิดชอบ ซึ่งการรับเงินจ่ายเงินควร
มีการแยกเป็นแผนกรับเงินและจ่ายเงิน และการจ่ายเงินควรมี
กาหนดวงเงินที่จะจ่าย
(5) วิธีการจัดทาบัญชีของกิจการ
กรณีที่ 2 การทาบัญชีในกิจการรับเหมาก่อสร้างที่ไม่เคยทาบัญชีมาก่อนเลย
3. กาหนดผังบัญชี หรือรหัสบัญชีให้เหมาะสมกับกิจการ แบ่ง
หมวดหมู่ของบัญชี คือ ทรัพย์สิน หนี้สิน ทุน รายได้ และ
ค่าใช้จ่าย
(6) การบันทึกบัญชี
(ไม่บันทึกบัญชี เพียงแต่บันทึกความทรงจาไว้)
1.เมื่อประมูลสัญญาก่อสร้างไว้ได้ และได้ทาการเซ็นต์สัญญา
(6) การบันทึกบัญชี
Dr. บัญชีคุมวัสดุการก่อสร้าง xxx
Cr. เจ้าหนี้ / เงินสด xxx
2. เมื่อซื้อวัสดุจะบันทึกบัญชี (ใบกากับสินค้า)
(6) การบันทึกบัญชี
Dr. บัญชีคุมงานระหว่างก่อสร้าง xxx
Cr.บัญชีคุมวัสดุการก่อสร้าง xxx
3. เมื่อเบิกวัสดุไปก่อสร้าง (ใบเบิกวัสดุ)
(6) การบันทึกบัญชี
Dr. บัญชีคุมงานระหว่างก่อสร้าง xxx
Cr.บัญชีค่าแรงงานค้างจ่าย / เงินสด / ธนาคาร xxx
4. เมื่อจ่ายค่าแรงในการก่อสร้าง (ทะเบียนค่าจ้าง)
(6) การบันทึกบัญชี
Dr. บัญชีคุมงานระหว่างก่อสร้าง xxx
Cr.บัญชีค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง xxx
5. เมื่อจ่ายค่าใช้จ่ายต่างๆ เกี่ยวกับการก่อสร้าง
(6) การบันทึกบัญชี
Dr. บัญชีคุมงานระหว่างก่อสร้าง xxx
Cr.บัญชีเจ้าหนี้รับเหมาช่วง xxx
6. ทาสัญญารับเหมาช่วง จะไม่มีการบันทึกบัญชี แต่จะ
มีการบันทึกความทรงจา และจะมีการบันทึกบัญชี
ก่อต่อเนื่องมีการตรวจงาน
(6) การบันทึกบัญชี
Dr. บัญชีลูกหนี้ค่ารับเหมาก่อสร้าง xxx
Cr.บัญชีรายได้รับเหมาก่อสร้าง xxx
7. เมื่อส่งงานเป็นงวดๆ
(6) การบันทึกบัญชี
Dr. บัญชีเงินสด / ธนาคาร xxx
Cr.บัญชีลูกหนี้ค่ารับเหมาก่อสร้าง xxx
8. เมื่อได้รับเงินค่าก่อสร้าง
(6) การบันทึกบัญชี
9. รายการปรับปรุง
9.1 ปรับปรุงสิ่งที่ยังไม่ได้มีการบันทึกบัญชี
9.2 ปรับปรุงแก้ไขข้อผิดพลาด
10. รายการปิดบัญชี ปิดรายได้ และค่าใช้จ่าย เข้าบัญชี
กาไรขาดทุน และปิดกาไรขาดทุนเข้ากาไรสะสม
***ใช้ระบบบัญชีต้นทุนงานสั่งทา (Job Order)***
(6) การบันทึกบัญชี
ทะเบียนรับงานก่อสร้าง
ใบสาคัญรับ ใบสาคัญจ่าย
สมุดขั้นต้น
บัญชีแยกประเภท
บัญชีแยกย่อย บัญชีคุมยอด
งบต้นทุนการผลิต
งบกาไรขาดทุน
งบดุล
(6) การบันทึกบัญชี
เอกสารที่ใช้ในกิจการก่อสร้าง
1. ใบส่งผลงาน คือ ใบรายงานผลการทางานว่าเป็นอย่างไร
2. ใบตรวจงาน เป็ นเอกสารที่มีไว้สาหรับตรวจดูผลงานว่าทาเสร็จไป
แล้วมีอะไรบ้าง
3. ใบสั่งซื้อ (Purchase Order : PO) เป็นใบสั่งซื้อวัตถุดิบจาก
บุคคลภายนอก
4. ใบขอซื้อ (Purchase Request : PR) เป็นใบที่แผนกงานไหนต้องการที่
จะทาการขอซื้อทรัพย์สิน หรือสิ่งของต่างๆ เป็นเอกสารภายใน
5. ใบเบิก เป็นใบขอเบิกวัสดุเพื่อมาทาการก่อสร้าง
(6) การบันทึกบัญชี
เอกสารที่ใช้ในกิจการก่อสร้าง (ต่อ)
6. ใบปะหน้าใบสาคัญจ่าย เป็นใบสรุปการจ่ายเงินแต่ละวัน
7. ใบรับวัสดุ เป็นใบรับวัสดุเข้าคลับเก็บวัสดุ
8. ใบเสร็จรับเงิน
9. ใบบันทึกเวลา (บัตรลงเวลาพนักงาน)
10. บัตรต้นทุนงานก่อสร้าง
11. บัตรต้นทุนมาตรฐานของงาน
ฯลฯ
(6) การบันทึกบัญชี
เอกสารหลักฐานใบสาคัญต่างๆ
ทะเบียนการ
ก่อสร้าง
ทะเบียน
ใบสาคัญจ่าย
สมุดเงินสด
ย่อย
สมุดเงินฝาก
ธนาคาร
ทะเบียนอาคาร
และบ้าน
ทะเบียน
ทรัพย์สิน
สมุดรายวัน
สมุดบัญชีขั้นต้นและทะเบียน
บัญชีแยกประเภททั่วไป / แยกประเภทย่อย
งบทดลอง
งบต้นทุนการผลิตเป็นงาน
งบกาไรขาดทุน
งบดุล
(6) การบันทึกบัญชี
สมุดบัญชีขั้นต้น ได้แก่
1.เงินสดจ่าย 7.สมุดเงินฝากธนาคาร
2.สมุดรายวันทั่วไป 8.การ์ดวัสดุ
3.สมุดต้นทุน 9.ทะเบียนการก่อสร้าง
4.สมุดตั๋วรับ 10.ทะเบียนทรัพย์สิน
5.สมุดตั๋วจ่าย 11.ทะเบียน L/C
6.สมุดเงินทดรองจ่าย 12.สมุดเงินสดย่อย,เงินเดือน
ฯลฯ
(7) การตีราคางานก่อสร้าง
วิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับงานประเภทรับเหมาก่อสร้างซึ่งจะ
มีการทาสัญญาก่อสร้าง โดยอาจจะเป็ นระยะเวลายาวนาน
จนกระทั่งคาบเกี่ยวระหว่างงวดบัญชี ซึ่งจะทาให้เกิดปัญหา
ขึ้นได้ในการคิดต้นทุนของงานที่ทาสาเร็จงานส่วนที่ยังไม่
เสร็จ ทั้งนี้เพื่อนามาคานวณหาผลกาไรจากการก่อสร้าง แต่
ในทางปฏิบัติวิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับงานรับเหมาก่อสร้าง
นิยมใช้กัน 2 วิธี คือ
1. Completed-Contract Method
2. Percentage of Completion Method
(7) การตีราคางานก่อสร้าง
1. Completed-Contract Method
สาหรับงานรับเหมาก่อสร้างซึ่งได้มีการตกลงทาสัญญาก่อสร้าง
ระหว่างบุคคล 2 ฝ่ ายนั้น งานส่วนที่ผู้รับเหมาก่อสร้างยังทาไม่
แล้วเสร็จเราเรียกว่างานระหว่างทา (Work in Process) สาหรับ
งานระหว่างทานี้ ผู้รับเหมาจะต้องแสดงในราคาต้นทุนไว้ก่อน
จนกระทั่งงานนั้นเสร็จสมบูรณ์และมีการส่งมอบให้ผู้ว่าจ้าง จึง
จะทาการคานวณหาผลกาไรขาดทุนจากการก่อสร้างชิ้นนี้ วิธีการ
บันทึกบัญชีแบบนี้เป็นวิธีที่กระทบตามแนวความคิดที่ว่ารายได้
จะเกิดขึ้นได้เมื่อมีการขายเกิดขึ้น และผลกาไรเกิดขึ้นจากการขาย
เท่านั้น ไม่ใช่เกิดจากการผลิต
(7) การตีราคางานก่อสร้าง
2. Percentage of Completion Method
การคานวณกาไรตามส่วนของงานที่ทาเสร็จ เพื่อถือเป็ นรายได้
ของงวดบัญชีหนึ่ง ๆ มีวิธีคานวณ 2 วิธี คือ
2.1 คานวณตามอัตราส่วนของงานที่ทาเสร็จ จากการเปรียบเทียบ
ต้นทุนที่เกิดขึ้นทั้งหมดกับราคาทุนทั้งสิ้นของงานก่อสร้างชิ้นนั้น
2.2 ให้สถาปนิกและวิศวกรเป็นผู้ทาการประมาณงานที่ทาสาเร็จ
แล้วว่าเป็นอัตราส่วนเท่าใดของงานทั้งสิ้น
แบบฝึกหัด

More Related Content

What's hot

บทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรง
บทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรงบทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรง
บทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรงTeetut Tresirichod
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingTeetut Tresirichod
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointOrawonya Wbac
 
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีAor's Sometime
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1Orawonya Wbac
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003Pa'rig Prig
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพTeetut Tresirichod
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำklarharn
 
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์Nakhon Phanom University
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดsucheera Leethochawalit
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้montira
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
รายงานบำเพ็ญ4 4
รายงานบำเพ็ญ4 4รายงานบำเพ็ญ4 4
รายงานบำเพ็ญ4 4Wichai Likitponrak
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...ประพันธ์ เวารัมย์
 

What's hot (20)

บทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรง
บทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรงบทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรง
บทที่ 15 การศึกษาเวลาโดยตรง
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditing
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
 
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
 
OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)OM Theory (Ch.2)
OM Theory (Ch.2)
 
Overview NQA
Overview NQAOverview NQA
Overview NQA
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
 
รายงานบำเพ็ญ4 4
รายงานบำเพ็ญ4 4รายงานบำเพ็ญ4 4
รายงานบำเพ็ญ4 4
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
 

05 การบัญชีกิจการรับเหมาก่อสร้าง