SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
www.saschool.ac.th
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37
ปัญหาของโครงงาน
1. ใบฝรั่งแต่ละพันธุ์สกัดให้ปริมาณแทนนินได้แตกต่างกันหรือไม่
2. สารแทนนินที่สกัดได้จากใบฝรั่งดูดซับตะกั่วในสารละลายได้หรือไม่
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1.เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปริมาณสารแทนนินที่สกัดจากได้จากใบฝรั่งพันธุ์พื้นเมือง
พันธุ์เวียดนาม และพันธุ์กิมจู
2.เพื่อศึกษาหาประสิทธิภาพการดูดซับสารตะกั่วด้วยสารแทนนินที่สกัดได้จากใบ
ฝรั่ง
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากปัจจุบันเกษตรกรในท้องถิ่นอาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน เริ่มหัน
มานิยมปลูกฝรั่งกันมากยิ่งขึ้น เพราะฝรั่งเป็นผลไม้ที่อุดมไปด้วยวิตามินซีสูงและ
คนทั่วไปก็นิยมรับประทานกันมากขึ้น การปลูกต้นฝรั่งนั้น ใบของต้นฝรั่งชาว
เกษตรกรไม่ได้มีการนาใบฝรั่งมาใช้ประโยชน์เลย ซึ่งจากงานวิจัยพบสารสกัดที่
ได้จากใบฝรั่งมีสารแทนนิน และสารแทนนินยังสามารถดูดซับสารตะกั่วในรูป
ของไอออนได้
หลังจากทราบว่าสารแทนนินสามารถดูดซับสารตะกั่วในรูปของไอออน
ได้ จึงได้ทาการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เพิ่มเติม และทดลองนาสาร
ดูดความชื้นมาดูดซับสารแทนนินที่สกัดจากใบฝรั่ง แล้วนาไปใส่ในสารละลาย
เลด (II) ไนเตรต จากนั้นใช้สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ เป็นตัวทดสอบ
สารตะกั่วในสารละลายเลด (II) ไนเตรต พบว่าสามารถดูดซับสารตะกั่วได้
ผู้ศึกษามีแนวคิดนาสารดูดความชื้นที่ดูดซับสารแทนนินไปบาบัดน้าเสียที่มีสาร
ตะกั่วปนเปื้อนอยู่ จากดัชนีคุณภาพน้าตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้า
บริโภค และมาตรฐานคุณภาพน้าบาดาลที่ใช้บริโภค ที่กาหนดให้มีปริมาณสาร
ตะกั่วปนเปื้อนอยู่ไม่เกิน 0.05 โมลต่อลิตร
สมมติฐานของโครงงาน
1. สารแทนนินในใบฝรั่งแต่ละสายพันธุ์ให้ปริมาณแทนนินแตกต่างกัน
2. สารแทนนินที่สกัดได้จากใบฝรั่งสามารถดูดซับสารตะกั่วในสารละลายได้
บทคัดย่อ
โครงงานนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสกัดสารแทนนินในใบฝรั่งมาใช้ในการดูดซับสาร
ตะกั่ว โดยนามาศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับสารตะกั่วจากสารละลายเลด (II) ไน
เตรต ความเข้มข้น 0.05 โมลต่อลิตร ปริมาตร 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร เปรียบเทียบกับ
ใบฝรั่งพันธุ์ต่าง ๆ คือ พันธุ์พื้นเมือง พันธุ์เวียดนาม และพันธุ์กิมจู โดยใช้อัตราส่วนใบ
ฝรั่ง (กรัม) : น้า (ลูกบาศก์เซนติเมตร) ต่างกัน พบว่า ใบฝรั่งพันธุ์พื้นเมือง ในอัตราส่วน
100 : 100 มีปริมาณสารแทนนินมากที่สุด รองลงมาคือใบฝรั่งพันธุ์กิมจู และใบฝรั่ง
พันธุ์เวียดนาม ตามลาดับ แต่เนื่องจากฝรั่งพันธุ์พื้นเมืองเป็นพันธุ์ที่หายาก ไม่นิยมปลูก
จึงได้เลือกใบฝรั่งพันธุ์กิมจูมาศึกษาต่อในการทดลองต่อไป โดยทาการศึกษาหา
ปริมาณสารแทนนินที่สกัดได้จากใบฝรั่งพันธุ์กิมจูที่น้อยที่สุดที่สามารถดูดซับสารตะกั่ว
ได้ โดยใช้ปริมาณของสารแทนนินที่สกัดได้จากใบฝรั่งปริมาณต่าง ๆ กัน โดยเริ่มต้นที่
0.10 ลูกบาศก์เซนติเมตร แล้วเพิ่มปริมาณของสารแทนนินที่สกัดได้จากใบฝรั่งทีละ
0.10 ลูกบาศก์เซนติเมตร จากนั้นทดสอบด้วยสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ พบว่า
ปริมาณสารแทนนินที่สกัดได้จากใบฝรั่งที่น้อยที่สุดที่สามารถดูดซับสารตะกั่วได้คือ
0.60 ลูกบาศก์เซนติเมตร และสามารถดูดซับสารละลายเลด (II) ไนเตรต ความเข้มข้น
0.05 โมลต่อลิตร ได้สูงสุด 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร จากนั้น นาสารดูดความชื้นมาดูดซับ
สารแทนนินที่สกัดได้จากใบฝรั่งไว้ โดยใช้สารดูดความชื้นในปริมาณที่แตกต่างกัน
พบว่า ปริมาณสารดูดความชื้นที่น้อยที่สุดที่สามารถดูดซับสารละลายเลด (II) ไนเตรต
ความเข้มข้น 0.05 โมลต่อลิตร ปริมาตร 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร คือ 3 กรัม และสารดูด
ความชื้นปริมาณ 3 กรัม สามารถดูดซับสารตะกั่วในสารละลายเลด (II) ไนเตรต ความ
เข้มข้น 0.05 โมลต่อลิตร ได้มากที่สุด คือ 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร

More Related Content

Viewers also liked

ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบKeerati Santisak
 
สร้างพื้นหลังกราฟฟิกอย่างง่ายด้วย Photoshop
สร้างพื้นหลังกราฟฟิกอย่างง่ายด้วย Photoshopสร้างพื้นหลังกราฟฟิกอย่างง่ายด้วย Photoshop
สร้างพื้นหลังกราฟฟิกอย่างง่ายด้วย PhotoshopSiwaphon
 
ปกเอกสารประกอบการอบรมทบทวนความรู้และทักษะการจัดกิจกรรมยุวกาชาด
ปกเอกสารประกอบการอบรมทบทวนความรู้และทักษะการจัดกิจกรรมยุวกาชาดปกเอกสารประกอบการอบรมทบทวนความรู้และทักษะการจัดกิจกรรมยุวกาชาด
ปกเอกสารประกอบการอบรมทบทวนความรู้และทักษะการจัดกิจกรรมยุวกาชาดJariya Jaiyot
 
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถืออันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถือJariya Jaiyot
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
ใบงานพื้นฐานกรดเบส
ใบงานพื้นฐานกรดเบสใบงานพื้นฐานกรดเบส
ใบงานพื้นฐานกรดเบสJariya Jaiyot
 
หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์Nutthawit Srisuriyachai
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013Jariya Jaiyot
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรตJariya Jaiyot
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองโครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)Jariya Jaiyot
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติTa Lattapol
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 

Viewers also liked (20)

การสร้างภาพพื้นหลัง
การสร้างภาพพื้นหลังการสร้างภาพพื้นหลัง
การสร้างภาพพื้นหลัง
 
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
ความรู้ทั่วไปในงานออกแบบ
 
สร้างพื้นหลังกราฟฟิกอย่างง่ายด้วย Photoshop
สร้างพื้นหลังกราฟฟิกอย่างง่ายด้วย Photoshopสร้างพื้นหลังกราฟฟิกอย่างง่ายด้วย Photoshop
สร้างพื้นหลังกราฟฟิกอย่างง่ายด้วย Photoshop
 
ปกเอกสารประกอบการอบรมทบทวนความรู้และทักษะการจัดกิจกรรมยุวกาชาด
ปกเอกสารประกอบการอบรมทบทวนความรู้และทักษะการจัดกิจกรรมยุวกาชาดปกเอกสารประกอบการอบรมทบทวนความรู้และทักษะการจัดกิจกรรมยุวกาชาด
ปกเอกสารประกอบการอบรมทบทวนความรู้และทักษะการจัดกิจกรรมยุวกาชาด
 
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถืออันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
Lab4
Lab4Lab4
Lab4
 
ใบงานพื้นฐานกรดเบส
ใบงานพื้นฐานกรดเบสใบงานพื้นฐานกรดเบส
ใบงานพื้นฐานกรดเบส
 
หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์หลักการออกแบบโปสเตอร์
หลักการออกแบบโปสเตอร์
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรต
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองโครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
 
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาคแบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
แบบฝึกหัด เรื่อง ธรณีภาค
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 

More from Jariya Jaiyot

สมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สสมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57Jariya Jaiyot
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสJariya Jaiyot
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันJariya Jaiyot
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
ป้ายอบรมยุวะ
ป้ายอบรมยุวะป้ายอบรมยุวะ
ป้ายอบรมยุวะJariya Jaiyot
 
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56Jariya Jaiyot
 
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56Jariya Jaiyot
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสJariya Jaiyot
 

More from Jariya Jaiyot (13)

สมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สสมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊ส
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
ป้ายอบรมยุวะ
ป้ายอบรมยุวะป้ายอบรมยุวะ
ป้ายอบรมยุวะ
 
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
 
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
พิธีเปิด ปิด กิจกรรมยุวกาชาด-เอกสาร56
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
 

ไวนิล 1

  • 1. โรงเรียนสา อาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน www.saschool.ac.th สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 37 ปัญหาของโครงงาน 1. ใบฝรั่งแต่ละพันธุ์สกัดให้ปริมาณแทนนินได้แตกต่างกันหรือไม่ 2. สารแทนนินที่สกัดได้จากใบฝรั่งดูดซับตะกั่วในสารละลายได้หรือไม่ วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1.เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปริมาณสารแทนนินที่สกัดจากได้จากใบฝรั่งพันธุ์พื้นเมือง พันธุ์เวียดนาม และพันธุ์กิมจู 2.เพื่อศึกษาหาประสิทธิภาพการดูดซับสารตะกั่วด้วยสารแทนนินที่สกัดได้จากใบ ฝรั่ง ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากปัจจุบันเกษตรกรในท้องถิ่นอาเภอเวียงสา จังหวัดน่าน เริ่มหัน มานิยมปลูกฝรั่งกันมากยิ่งขึ้น เพราะฝรั่งเป็นผลไม้ที่อุดมไปด้วยวิตามินซีสูงและ คนทั่วไปก็นิยมรับประทานกันมากขึ้น การปลูกต้นฝรั่งนั้น ใบของต้นฝรั่งชาว เกษตรกรไม่ได้มีการนาใบฝรั่งมาใช้ประโยชน์เลย ซึ่งจากงานวิจัยพบสารสกัดที่ ได้จากใบฝรั่งมีสารแทนนิน และสารแทนนินยังสามารถดูดซับสารตะกั่วในรูป ของไอออนได้ หลังจากทราบว่าสารแทนนินสามารถดูดซับสารตะกั่วในรูปของไอออน ได้ จึงได้ทาการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เพิ่มเติม และทดลองนาสาร ดูดความชื้นมาดูดซับสารแทนนินที่สกัดจากใบฝรั่ง แล้วนาไปใส่ในสารละลาย เลด (II) ไนเตรต จากนั้นใช้สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ เป็นตัวทดสอบ สารตะกั่วในสารละลายเลด (II) ไนเตรต พบว่าสามารถดูดซับสารตะกั่วได้ ผู้ศึกษามีแนวคิดนาสารดูดความชื้นที่ดูดซับสารแทนนินไปบาบัดน้าเสียที่มีสาร ตะกั่วปนเปื้อนอยู่ จากดัชนีคุณภาพน้าตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมน้า บริโภค และมาตรฐานคุณภาพน้าบาดาลที่ใช้บริโภค ที่กาหนดให้มีปริมาณสาร ตะกั่วปนเปื้อนอยู่ไม่เกิน 0.05 โมลต่อลิตร สมมติฐานของโครงงาน 1. สารแทนนินในใบฝรั่งแต่ละสายพันธุ์ให้ปริมาณแทนนินแตกต่างกัน 2. สารแทนนินที่สกัดได้จากใบฝรั่งสามารถดูดซับสารตะกั่วในสารละลายได้ บทคัดย่อ โครงงานนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสกัดสารแทนนินในใบฝรั่งมาใช้ในการดูดซับสาร ตะกั่ว โดยนามาศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับสารตะกั่วจากสารละลายเลด (II) ไน เตรต ความเข้มข้น 0.05 โมลต่อลิตร ปริมาตร 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร เปรียบเทียบกับ ใบฝรั่งพันธุ์ต่าง ๆ คือ พันธุ์พื้นเมือง พันธุ์เวียดนาม และพันธุ์กิมจู โดยใช้อัตราส่วนใบ ฝรั่ง (กรัม) : น้า (ลูกบาศก์เซนติเมตร) ต่างกัน พบว่า ใบฝรั่งพันธุ์พื้นเมือง ในอัตราส่วน 100 : 100 มีปริมาณสารแทนนินมากที่สุด รองลงมาคือใบฝรั่งพันธุ์กิมจู และใบฝรั่ง พันธุ์เวียดนาม ตามลาดับ แต่เนื่องจากฝรั่งพันธุ์พื้นเมืองเป็นพันธุ์ที่หายาก ไม่นิยมปลูก จึงได้เลือกใบฝรั่งพันธุ์กิมจูมาศึกษาต่อในการทดลองต่อไป โดยทาการศึกษาหา ปริมาณสารแทนนินที่สกัดได้จากใบฝรั่งพันธุ์กิมจูที่น้อยที่สุดที่สามารถดูดซับสารตะกั่ว ได้ โดยใช้ปริมาณของสารแทนนินที่สกัดได้จากใบฝรั่งปริมาณต่าง ๆ กัน โดยเริ่มต้นที่ 0.10 ลูกบาศก์เซนติเมตร แล้วเพิ่มปริมาณของสารแทนนินที่สกัดได้จากใบฝรั่งทีละ 0.10 ลูกบาศก์เซนติเมตร จากนั้นทดสอบด้วยสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์ พบว่า ปริมาณสารแทนนินที่สกัดได้จากใบฝรั่งที่น้อยที่สุดที่สามารถดูดซับสารตะกั่วได้คือ 0.60 ลูกบาศก์เซนติเมตร และสามารถดูดซับสารละลายเลด (II) ไนเตรต ความเข้มข้น 0.05 โมลต่อลิตร ได้สูงสุด 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร จากนั้น นาสารดูดความชื้นมาดูดซับ สารแทนนินที่สกัดได้จากใบฝรั่งไว้ โดยใช้สารดูดความชื้นในปริมาณที่แตกต่างกัน พบว่า ปริมาณสารดูดความชื้นที่น้อยที่สุดที่สามารถดูดซับสารละลายเลด (II) ไนเตรต ความเข้มข้น 0.05 โมลต่อลิตร ปริมาตร 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร คือ 3 กรัม และสารดูด ความชื้นปริมาณ 3 กรัม สามารถดูดซับสารตะกั่วในสารละลายเลด (II) ไนเตรต ความ เข้มข้น 0.05 โมลต่อลิตร ได้มากที่สุด คือ 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร