SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
บทคัดย่อ
โครงงานนี้มีจดมุ่งหมายเพื่อแปรรูปเปลือกมังคุดให้เป็นผงถ่านเปลือกมังคุด
ุ
มาใช้ในการดูดซับสารตะกั่ว โดยนามาศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับสารตะกั่วจาก
สารละลายเลด(II)ไนเตรต ความเข้มข้น 0.005 โมลต่อลิตร ปริมาตร 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร เปรียบเทียบกับผงถ่านไม้ทั่วไปและผงถ่านไม้ธรรมดาที่เผาเตาเดียวกับผง
ถ่านเปลือกมังคุด โดยใช้มวลของผงถ่านในปริมาณเท่ากันคือ 1 กรัม พบว่าถ่านไม้ทั่วไป
และถ่านไม้ทวไปที่เผาเตาเดียวกันไม่สามารถดูดซับสารตะกั่วได้ แต่ถ่านจากเปลือก
ั่
มังคุดสามารถดูดซับสารตะกั่วได้ จากนันได้ทาการศึกษาหาปริมาณของถ่านเปลือก
้
มังคุดที่น้อยทีสุดที่สามารถดูดซับสารตะกั่วได้ โดยใช้มวลของผงถ่านในปริมาณ
่
ต่างกัน โดยจะเริ่มต้นที่ 0.10 กรัม แล้วเพิ่มมวลผงถ่านขึ้นทีละ 0.10 กรัม จากนัน
้
ทดสอบโดยใช้สารละลายโปแตสเซียมไอโอไดด์ พบว่าปริมาณของถ่านเปลือกมังคุดที่
น้อยที่สุดที่สามารถดูดซับสารตะกั่วได้ คือ 0.20 กรัม และสามารถดูดซับสารละลาย
เลด(II)ไนเตรตความเข้มข้น 0.005 โมลต่อลิตรได้สูงสุด 35 ลูกบาศก์เซนติเมตร
จากนั้นศึกษาหาความเข้มข้นสูงสุดของสารละลายเลด(II)ไนเตรต ทีถ่านเปลือกมังคุด
่
สามารถดูดซับได้พบว่าความเข้มข้นสูงสุด 0.005 โมลต่อลิตร ถ่านเปลือกมังคุดจะ
สามารถดูดซับได้ จากนั้นนามาประดิษฐ์เครื่องกรองน้าที่ใช้ดูดซับสารตะกั่ว และหา
ประสิทธิภาพของเครื่องกรองน้า จากดัชนีคุณภาพน้าตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรมน้าบริโภค(น้าประปา)ทีกาหนดให้มีตะกั่วปนเปื้อนอยู่ได้ไม่เกิน 0.05
่
มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า เครื่องกรองน้าที่ประดิษฐ์ขึ้นสามารถกรองน้าทีปนเปื้อนสาร
่
ตะกั่วได้ เครืองกรองน้าสามารถดูดซับสารตะกั่วที่ประดิษฐ์ขึ้นภายในบรรจุถ่าน 100
่
กรัม สามารถมีอายุการใช้งานได้ 1 ปี

ฃ

ปัญหาของโครงงาน
1. ผงถ่านจากเปลือกมังคุดสามารถนาไปประดิษฐ์เป็นไส้กรองเครื่องกรองน้าดูดซับ
สารตะกั่วได้อย่างไร
2. เครื่องกรองน้าสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริงหรือไม่ อย่างไร

วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดูดซับสารตะกั่วของผงถ่านไม้ทั่วไป
ผงถ่านเปลือกมังคุดและผงถ่านไม้ธรรมดาที่เผาเตาเดียวกับถ่านเปลือกมังคุด
2. ประดิษฐ์และศึกษาประสิทธิภาพของเครืองกรองน้าทีสามารถดูดซับสารตะกั่วได้
่
่

ที่มาและความสาคัญของโครงงาน

เนื่องจากปัจจุบันมีความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี อุตสาหกรรม
การเกษตรและด้านต่างๆ อีกมากมาย และเราได้มีการนาสารตะกัวมาใช้ประโยชน์
่
อย่างแพร่หลาย ไม่วาจะเป็นการผลิตภาชนะต่างๆ และ ใช้เป็นสารเติมในน้ามัน
่
เชื้อเพลิง ซึ่งสารตะกั่วเหล่านี้ จะอยู่ในรูปของสารประกอบอนินทรีย์ เช่น ไนเตรต
คลอเรตและอาจอยู่ในสถานะที่เป็นก๊าซ ซึ่งจะเป็นผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตได้
ผู้ศึกษาได้สังเกตเห็นว่า ในยุคปัจจุบันนี้ คนส่วนใหญ่มีโอกาสสัมผัสและได้รับ
สารพิษจากตะกั่วชนิดนี้ เข้าสู่ร่างกายในรูปแบบต่างๆ จากกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจาวัน ผู้ศกษาจึงได้ทาการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ พบว่า ผงเปลือกึ
มังคุดสามารถดูดซับสารตะกั่วในรูปของสารละลายได้ กลุ่มของข้าพเจ้าจึงศึกษาต่อโดย
นาเปลือกมังคุดมาเผาเป็นถ่าน โดยมีถ่านไม้ทั่วไปเป็นตัวเปรียบเทียบประสิทธิภาพใน
การดูดซับสารตะกั่ว จากนันใช้สารละลายโปแตสเซียมไอโอไดด์ เป็นตัวทดสอบตะกั่ว
้
ในสารละลายเลด(II)ไนเตรต เมื่อสารทั้งสองทาปฏิกิรยาจะได้เป็นตะกอนสีเหลืองของ
ิ
เลด(II)ไอโอไดด์ โดยตะกอนสีเหลืองสามารถมองเห็นได้ชัดเจน พบว่าถ่านไม้ทวไปไม่
ั่
สามารถดูดซับสารตะกั่วได้ แต่ถ่านจากเปลือกมังคุดสามารถดูดซับสารตะกั่วได้
ผู้ศึกษาจึงมีแนวคิดที่จะนาถ่านเปลือกมังคุดมาเป็นตัวดูดซับสารตะกั่วในเครื่องกรองน้า
และหาประสิทธิภาพของเครื่องกรองน้า จากดัชนีคณภาพน้าตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์
ุ
อุตสาหกรรมน้าบริโภค(น้าประปา)ทีกาหนดให้มีตะกั่วปนเปื้อนอยู่ได้ไม่เกิน 0.05
่
มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า เครื่องกรองน้าที่ประดิษฐ์ขึนสามารถกรองน้าที่ปนเปื้อนสาร
้
ตะกั่วได้

สมมติฐานของโครงงาน
1. ผงถ่านเปลือกมังคุดดูดซับสารตะกั่วได้ดีที่สุด
2. เครื่องกรองน้าทีมีไส้กรองทาด้วยผงถ่านเปลือกมังคุดมีประสิทธิภาพดูดซับสาร
่
ตะกั่วที่ปนเปือนในน้าที่ใช้อุปโภคได้
้

More Related Content

More from Jariya Jaiyot

โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองโครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
สมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สสมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57Jariya Jaiyot
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสJariya Jaiyot
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาJariya Jaiyot
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถืออันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถือJariya Jaiyot
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันJariya Jaiyot
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์Jariya Jaiyot
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
ไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 

More from Jariya Jaiyot (20)

โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรืองโครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
โครงการแผนที่ออนไลน์ป่าชุมชนอำเภอเวียงสา : กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านบุญเรือง
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
สมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊สสมบัติของแก๊ส
สมบัติของแก๊ส
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
Lab4
Lab4Lab4
Lab4
 
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลเคมี ปี 57
 
ไวนิล 2
ไวนิล 2ไวนิล 2
ไวนิล 2
 
ไวนิล 1
ไวนิล 1ไวนิล 1
ไวนิล 1
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
 
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ใบงานปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถืออันตรายจากสัญญาณมือถือ
อันตรายจากสัญญาณมือถือ
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกันการกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
การกัดกร่อนของโลหะและการป้องกัน
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
ไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริง
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 

ไวนิล 1 จริง

  • 1. บทคัดย่อ โครงงานนี้มีจดมุ่งหมายเพื่อแปรรูปเปลือกมังคุดให้เป็นผงถ่านเปลือกมังคุด ุ มาใช้ในการดูดซับสารตะกั่ว โดยนามาศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับสารตะกั่วจาก สารละลายเลด(II)ไนเตรต ความเข้มข้น 0.005 โมลต่อลิตร ปริมาตร 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร เปรียบเทียบกับผงถ่านไม้ทั่วไปและผงถ่านไม้ธรรมดาที่เผาเตาเดียวกับผง ถ่านเปลือกมังคุด โดยใช้มวลของผงถ่านในปริมาณเท่ากันคือ 1 กรัม พบว่าถ่านไม้ทั่วไป และถ่านไม้ทวไปที่เผาเตาเดียวกันไม่สามารถดูดซับสารตะกั่วได้ แต่ถ่านจากเปลือก ั่ มังคุดสามารถดูดซับสารตะกั่วได้ จากนันได้ทาการศึกษาหาปริมาณของถ่านเปลือก ้ มังคุดที่น้อยทีสุดที่สามารถดูดซับสารตะกั่วได้ โดยใช้มวลของผงถ่านในปริมาณ ่ ต่างกัน โดยจะเริ่มต้นที่ 0.10 กรัม แล้วเพิ่มมวลผงถ่านขึ้นทีละ 0.10 กรัม จากนัน ้ ทดสอบโดยใช้สารละลายโปแตสเซียมไอโอไดด์ พบว่าปริมาณของถ่านเปลือกมังคุดที่ น้อยที่สุดที่สามารถดูดซับสารตะกั่วได้ คือ 0.20 กรัม และสามารถดูดซับสารละลาย เลด(II)ไนเตรตความเข้มข้น 0.005 โมลต่อลิตรได้สูงสุด 35 ลูกบาศก์เซนติเมตร จากนั้นศึกษาหาความเข้มข้นสูงสุดของสารละลายเลด(II)ไนเตรต ทีถ่านเปลือกมังคุด ่ สามารถดูดซับได้พบว่าความเข้มข้นสูงสุด 0.005 โมลต่อลิตร ถ่านเปลือกมังคุดจะ สามารถดูดซับได้ จากนั้นนามาประดิษฐ์เครื่องกรองน้าที่ใช้ดูดซับสารตะกั่ว และหา ประสิทธิภาพของเครื่องกรองน้า จากดัชนีคุณภาพน้าตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมน้าบริโภค(น้าประปา)ทีกาหนดให้มีตะกั่วปนเปื้อนอยู่ได้ไม่เกิน 0.05 ่ มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า เครื่องกรองน้าที่ประดิษฐ์ขึ้นสามารถกรองน้าทีปนเปื้อนสาร ่ ตะกั่วได้ เครืองกรองน้าสามารถดูดซับสารตะกั่วที่ประดิษฐ์ขึ้นภายในบรรจุถ่าน 100 ่ กรัม สามารถมีอายุการใช้งานได้ 1 ปี ฃ ปัญหาของโครงงาน 1. ผงถ่านจากเปลือกมังคุดสามารถนาไปประดิษฐ์เป็นไส้กรองเครื่องกรองน้าดูดซับ สารตะกั่วได้อย่างไร 2. เครื่องกรองน้าสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริงหรือไม่ อย่างไร วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดูดซับสารตะกั่วของผงถ่านไม้ทั่วไป ผงถ่านเปลือกมังคุดและผงถ่านไม้ธรรมดาที่เผาเตาเดียวกับถ่านเปลือกมังคุด 2. ประดิษฐ์และศึกษาประสิทธิภาพของเครืองกรองน้าทีสามารถดูดซับสารตะกั่วได้ ่ ่ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากปัจจุบันมีความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี อุตสาหกรรม การเกษตรและด้านต่างๆ อีกมากมาย และเราได้มีการนาสารตะกัวมาใช้ประโยชน์ ่ อย่างแพร่หลาย ไม่วาจะเป็นการผลิตภาชนะต่างๆ และ ใช้เป็นสารเติมในน้ามัน ่ เชื้อเพลิง ซึ่งสารตะกั่วเหล่านี้ จะอยู่ในรูปของสารประกอบอนินทรีย์ เช่น ไนเตรต คลอเรตและอาจอยู่ในสถานะที่เป็นก๊าซ ซึ่งจะเป็นผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตได้ ผู้ศึกษาได้สังเกตเห็นว่า ในยุคปัจจุบันนี้ คนส่วนใหญ่มีโอกาสสัมผัสและได้รับ สารพิษจากตะกั่วชนิดนี้ เข้าสู่ร่างกายในรูปแบบต่างๆ จากกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจาวัน ผู้ศกษาจึงได้ทาการสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ พบว่า ผงเปลือกึ มังคุดสามารถดูดซับสารตะกั่วในรูปของสารละลายได้ กลุ่มของข้าพเจ้าจึงศึกษาต่อโดย นาเปลือกมังคุดมาเผาเป็นถ่าน โดยมีถ่านไม้ทั่วไปเป็นตัวเปรียบเทียบประสิทธิภาพใน การดูดซับสารตะกั่ว จากนันใช้สารละลายโปแตสเซียมไอโอไดด์ เป็นตัวทดสอบตะกั่ว ้ ในสารละลายเลด(II)ไนเตรต เมื่อสารทั้งสองทาปฏิกิรยาจะได้เป็นตะกอนสีเหลืองของ ิ เลด(II)ไอโอไดด์ โดยตะกอนสีเหลืองสามารถมองเห็นได้ชัดเจน พบว่าถ่านไม้ทวไปไม่ ั่ สามารถดูดซับสารตะกั่วได้ แต่ถ่านจากเปลือกมังคุดสามารถดูดซับสารตะกั่วได้ ผู้ศึกษาจึงมีแนวคิดที่จะนาถ่านเปลือกมังคุดมาเป็นตัวดูดซับสารตะกั่วในเครื่องกรองน้า และหาประสิทธิภาพของเครื่องกรองน้า จากดัชนีคณภาพน้าตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ุ อุตสาหกรรมน้าบริโภค(น้าประปา)ทีกาหนดให้มีตะกั่วปนเปื้อนอยู่ได้ไม่เกิน 0.05 ่ มิลลิกรัมต่อลิตร พบว่า เครื่องกรองน้าที่ประดิษฐ์ขึนสามารถกรองน้าที่ปนเปื้อนสาร ้ ตะกั่วได้ สมมติฐานของโครงงาน 1. ผงถ่านเปลือกมังคุดดูดซับสารตะกั่วได้ดีที่สุด 2. เครื่องกรองน้าทีมีไส้กรองทาด้วยผงถ่านเปลือกมังคุดมีประสิทธิภาพดูดซับสาร ่ ตะกั่วที่ปนเปือนในน้าที่ใช้อุปโภคได้ ้