SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
สารวจพฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์
ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
Survey the Social Behavior of People in,
Muang Chachoengsao, Chachoengsao Province.
กิ่งกาญจน์ เปสาโก, ชลลดา พงศ์พุทธิไพบูลย์ และณัฐที ปิ่นทอง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสาคัญของแอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคมของ
ประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อศึกษาแอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารที่นิยมใช้งานมาก
ที่สุดของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา และเพื่อศึกษาการใช้เครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารของ
ประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในวิจัยคือ นักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไปที่
อยู่ในเขตอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทราจานวน 622 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม
โดยใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ ตามเวลาที่สะดวก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความ
เบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 20-29 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพเป็นนักเรียน/นักศึกษา และมี
ประสบการณ์ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ 4 ปีขึ้นไปมากที่สุด ประชาชนใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์
Facebook บ่อยที่สุด ช่องทางที่ประชาชนใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์บ่อยที่สุดคือ Smartphone ประชาชนส่วนใหญ่เปิด
บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ไว้ตลอดทั้งวัน ช่วงเวลาที่ประชาชนใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มากที่สุดคือ 18.00-21.00
น. ประชาชนมีการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ 30 นาที - 1 ชั่วโมง ต่อวันมากที่สุด ประชาชนส่วนใหญ่ใช้เครือข่ายสังคม
ออนไลน์เพื่อโพสต์ข้อความ/รูปภาพมากที่สุด และคุณสมบัติของ เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ประชาชนชอบมากที่สุดคือ มี
แอพพลิเคชั่นหลากหลาย โดยเว็บไซต์เป็นแหล่งหรือสื่อที่ทาให้ประชาชนสนใจใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มากที่สุด
คาสาคัญ: พฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์, ฉะเชิงเทรา
Abstract
This research aims to study the importance of apps that use of communication in public
Mueang Chachoengsao. Chachoengsao To study the applications that use of communication in use
most of the people Mueang Chachoengsao. Chachoengsao And to learn to use the tools that are
used to communicate with the public Mueang Chachoengsao. Chachoengsao The samples used in
the research of students and individuals who live in the district of Bangkok. Chachoengsao number
622 was used for data collection was a questionnaire. Using random chance. The convenient time
The statistics used for data analysis were percentage, mean and standard deviation.
The results showed that The social behavior of the District in Chachoengsao. Chachoengsao
Most of the male Aged between 20-29 years of undergraduate study. A career as a student / student
And experienced in the use of online social networks, most 4 years. Public services, social networking,
Facebook most common way that people use online social networks are most often Smartphone
most people turn to online social networking services throughout the day. The time when people
use social networks, most are 18:00 to 21:00 hrs. People are using social networks 30 minutes - 1
hour per day for most. Most people use the social network to post messages / photos as possible.
And properties Online social networking is that people like the most. The applications for various
applications. The site is made public or media interest in online social networks the most.
Keywords: The use of social behavior, Chachoengsao.
บทนา
เทคโนโลยีมีความเจริญก้าวหน้าและเติบโตอย่างรวดเร็ว ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยีการสื่อสาร
ได้เปลี่ยนการดาเนินชีวิต การดาเนินธุรกิจ และการสื่อสารของผู้คนไปอย่างมาก ทาให้ผู้คนสามารถพบปะพูดคุยกับใครก็
ได้ ที่ไหนก็ได้ เวลาใดก็ได้เพียงแค่ปลายนิ้วสัมผัสก็สามารถสื่อสารโต้ตอบระหว่างกันได้ จากอดีตมีรูปแบบการสื่อสารที่มี
การพูดคุยสนทนาแบบเห็นหน้าพบเจอตัวกัน หรือการเขียนส่งจดหมายทางไปรษณีย์ การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารส่งผล
ให้เครือข่ายสังคมออนไลน์ได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของประชาชน และได้เปลี่ยนแปลงการสื่อสารของคนใน
สังคมไปอย่างมาก เช่น การซื้อสินค้าออนไลน์ การค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อทารายงาน การเข้าสังคมเพื่อแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นและอื่นๆ โดยติดต่อสื่อสารกันผ่านแอพพลิเคชั่นซึ่งมีมากมายในปัจจุบัน ทาให้เปลี่ยนรูปแบบการสื่อสารจาก
พูดคุยผ่านโทรศัพท์มือถือหรือการเขียนจดหมายเป็นการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลที่เป็นการติดต่อสื่อสารแบบไร้พรมแดน
ปัจจุบันเครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ประชาชนส่วนใหญ่หันมาใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์
กันเพิ่มมากขึ้นและมีแนวโน้มการใช้งานที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต ด้วยประโยชน์ที่มากมายจากการใช้งาน ไม่ว่าจะ
เป็นเรื่องการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สามารถสื่อสารได้ง่าย โดยเครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นพื้นที่สาธารณะที่สมาชิกซึ่ง
คือคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกเชื้อชาติ มีช่องทางการสื่อสารรูปแบบใหม่ๆ เกิดขึ้นเป็นจานวนมาก ซึ่งเครือข่ายสังคมออนไลน์
สามารถใช้งานผ่านโทรศัพท์มือถือ แท็บแล็ต โน๊ตบุ๊ค และคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ที่สามารถดาวน์โหลดและติดตั้ง
แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ได้แก่ วอทแอพ (WhatsApp) เฟสบุ๊ค (Facebook) ไลน์ (Line) บีทอล์ค
(BeeTalk) วีแชท (WeChat) เป็นต้น ซึ่งทุกวันนี้มีคนใช้ชีวิตอยู่กับสังคมออนไลน์มากขึ้นทุกวัน
การสารวจโดย Retrevo ซึ่งศึกษาผู้ใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ พบว่า ในปัจจุบันเครือข่ายสังคมออนไลน์
ได้เข้ามามีบทบาทต่อการดาเนินชีวิตของคนมากขึ้น จากตัวอย่าง 1,000 คนพบว่าผู้ใช้งานเกือบครึ่งหนึ่งมีการติดตาม
ความเคลื่อนไหวเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ ทั้งก่อนเข้านอนและตอนตื่นในตอนเช้า โดยผู้ใช้มากกว่าครึ่งหนึ่งต้อง
ติดตามความเคลื่อนไหวเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ของตนอย่างน้อยวันละหนึ่งครั้ง และมากกว่า 10% ที่เข้าไปดู
ความเคลื่อนไหวล่าสุดทุกๆ 2-3 ชั่วโมง (Marketingoops, 2552) ข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าเว็บไซต์เครือข่ายสังคม
ออนไลน์เป็นที่นิยมและมีอิทธิพลอย่างมากต่อชีวิตประจาวันในกลุ่มคนที่ใช้อินเทอร์เน็ต เป็นผลให้เครือข่ายขยายวงกว้าง
ออกไปเรื่อยๆ และเติบโตต่อไปอีกในอนาคต
จากผลการสารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือนของสานักงานสถิติแห่งชาติ
พ.ศ. 2554 จากประชากรทั้งสิ้นประมาณ 62 ล้านคน พบว่า มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 12.0 เป็นร้อยละ 23.7
(บุญเลิศ, 2555) สอดคล้องกับจานวนผู้ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้จากการศึกษาของ
สานักงานสถิติแห่งชาติเกี่ยวกับคนที่ใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า ลักษณะส่วนบุคคลที่ต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตที่
ต่างกัน
ความนิยมการใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีมากในปัจจุบันเข้ามามีอิทธิพลต่อวัยรุ่นไทยเป็นอย่างมาก รวม
ไปถึงสังคมของมหาวิทยาลัยที่ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นสื่อกลางในการศึกษาและเป็นช่องทางการตืดต่อสื่อสารกัน
เช่น เช่น การตั้งกลุ่มใน Facebook การสร้างกลุ่มใน Line เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และแจ้งข้อมูลข่าวสาร จากข้อมูล
เหล่านี้ทาให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาถึงพฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัด
ฉะเชิงเทราของผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลาย เพื่อนาข้อมูลไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาคธุรกิจ
ภาครัฐ หรือภาคการศึกษาในการพัฒนาช่องทางในการติดต่อกับกลุ่มเป้าหมายผ่านทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ ให้มี
ความน่าสนใจและเข้าถึงได้ง่าย
วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย
1) เพื่อศึกษาความสาคัญของแอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคมของประชาชนอาเภอเมือง
ฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
2) เพื่อศึกษาแอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารที่นิยมใช้งานมากที่สุดของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา
จังหวัดฉะเชิงเทรา
3) เพื่อศึกษาการใช้เครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
วิธีดาเนินการวิจัย
การวิจัย เรื่อง สารวจพฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
นั้นเป็นวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม
ข้อมูล
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรกลุ่มเป้าหมายในการวิจัยในครั้งนี้ คือ นักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไปทั้งเพศชายและเพศหญิงที่
อยู่ในเขตพื้นที่อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามไม่จากัดอายุ เพศ ระดับการศึกษา และได้มีการกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
โดยจานวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 622 คน ในการตอบแบบสอบถาม โดยวิธีการสุ่มแบบบังเอิญตามเวลาที่สะดวก
ตัวแปร
1) ตัวแปรต้น หรือตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ประกอบด้วยปัจจัยด้านประชากร คือ เพศ, อายุ,
ระดับการศึกษา, อาชีพ, ตาบลที่อาศัย, รายได้ต่อเดือน
2) ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ได้แก่ พฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารใน
สังคม
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้แก่แบบสอบถาม (Questionnaire) จานวน 622 ชุด ซึ่งถือเป็นการเก็บ
ข้อมูลจากแหล่งปฐมภูมิ เก็บข้อมูลโดยตรงจากประชาชน โดยแบ่งโครงร่างของแบบสอบถามออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ตาบลที่อาศัย รายได้ต่อ
เดือน จานวน 6 ข้อ
ส่วนที่ 2 พฤติกรรมในการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม จานวน 13 ข้อ
ส่วนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม จานวน 20 ข้อ
ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะ เป็นแบบสอบถามปลายเปิด
การดาเนินงานวิจัย
1) ศึกษาค้นคว้า ผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารใน
สังคมของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ทั้งในตาราเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อเก็บ
รวบรวมข้อมูลเบื้องต้นมาเป็นแนวทางในการเตรียมแบบสอบถามให้มีข้อคาถามครอบคลุมวัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้
2) ศึกษาประชากรที่ใช้ในการวิจัย
3) ดาเนินการสร้างแบบสอบถามและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย
4) เก็บรวบรวมข้อมูล ใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ โดยการรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามที่ได้จัดทาขึ้น โดยให้
ประชาชนทั่วไปกรอกแบบสอบถามด้วยตนเองตามพฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคมของ
ประชาชน ในเขตอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
5) นาข้อมูลที่เก็บรวบรวมแล้วไปวิเคราะห์
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) ใช้สถิติดังนี้
1) ค่าร้อยละ (Percentage) เพื่อใช้อธิบายลักษณะข้อมูลจากแบบสอบถาม ส่วนที่1) ด้านข้อมูลส่วนตัวของ
ผู้ตอบแบบสอบถามได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ตาบลที่อาศัย รายได้ต่อเดือน, ส่วนที่2) พฤติกรรมในการใช้
แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม, ส่วนที่3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการ
ติดต่อสื่อสารในสังคม
2) ค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean) เพื่อใช้ในการอธิบายลักษณะข้อมูลจากแบบสอบถาม ส่วนที่3) ความคิดเห็น
เกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม
3) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เพื่อใช้ในการอธิบายลักษณะข้อมูลจากแบบสอบถาม ส่วน
ที่3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม
ผลการวิจัย
จากการศึกษา พฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ผลการวิจัยมีดังนี้
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
แสดงให้เห็นว่า กลุ่มตัวอย่างพฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัด
ฉะเชิงเทราจานวน 622 คน โดยจานวนมากที่สุด เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 20-29 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี มี
อาชีพเป็นนักเรียน/นักศึกษา มีที่อยู่อาศัยในตาบลหน้าเมือง มีรายได้เฉลี่ยต่ากว่า 5,000 บาท ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 แสดงจานวน (ความถี่) และร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ
ตาบลที่อาศัย และรายได้ต่อเดือน
ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน (คน) ร้อยละ
เพศ
ชาย
หญิง
อายุ
ต่ากว่า 20 ปี
20-29 ปี
30-39 ปี
40-49 ปี
50-59 ปี
60 ปีขึ้นไป
ระดับการศึกษา
330
292
210
312
66
20
13
1
53.10
46.90
33.80
50.20
10.60
3.20
2.10
0.20
ประถมศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
อนุปริญญา( ปวส.)
ปริญญาตรี
ปริญญาโท
ปริญญาเอก
อาชีพ
นักเรียน/นักศึกษา
ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ
ธุรกิจส่วนตัว
พนักงานบริษัทเอกชน
รับจ้าง
เกษตรกร
อาศัยอยู่ที่อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา
ใช่
หน้าเมือง
วังตะเคียน
ท่าไข่
โสธร
บ้านใหม่
บางพระ
คลองนา
บางกะไห
บางตีนเป็ด
หนามแดง
บางไผ่
คลองเปรง
บางแก้ว
คลองหลวงแพ่ง
บางขวัญ
บางเตย
คลองนครเนื่องเขต
คลองจุกกระเฌอ
คลองอุดมชลจร
ไม่ใช่
รายได้ต่อเดือน
55
52
159
120
221
13
2
376
44
26
123
36
17
489
213
23
25
44
56
22
11
1
19
10
3
2
11
5
13
7
16
5
3
133
8.80
8.40
25.60
19.30
35.50
2.10
0.30
60.50
7.10
4.20
19.80
5.80
2.70
78.60
34.20
3.70
4.00
7.10
9.00
3.50
1.80
0.20
3.10
1.60
0.50
0.30
1.80
0.80
2.10
1.10
2.60
0.80
0.50
21.40
ต่ากว่า 5,000 บาท
5,000 - 10,000 บาท
10,001 - 15,000 บาท
15,001 - 20,000 บาท
20,001 - 25,000 บาท
25,001 - 30,000 บาท
30,001 - 35,000 บาท
35,001 - 40,000 บาท
45,001 บาทขึ้นไป
239
157
69
111
29
7
5
3
2
38.40
25.20
11.10
17.80
4.70
1.10
0.80
0.50
0.30
รวม 622 100.00
ส่วนที่ 2 พฤติกรรมในการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม ของผู้ตอบแบบสอบถาม
แสดงให้เห็นว่า กลุ่มตัวอย่างพฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ของประชาชนในเขตอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา
จังหวัดฉะเชิงเทรา ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ 4 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 27.20 เครือข่าย
สังคมออนไลน์ที่ใช้บ่อยที่สุด คือ Facebook คิดเป็นร้อยละ 82.50 ช่องทางการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่บ่อยที่สุด คือ
Smartphone คิดเป็นร้อยละ 71.90 ความถี่ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในแต่ละวัน คือ เปิดตลอดทั้งวัน คิดเป็น
ร้อยละ 29.30 ช่วงเวลาที่ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์บ่อยที่สุด คือ 6 โมงเย็น – 3 ทุ่ม คิดเป็นร้อยละ 31.40 ระยะเวลาใน
การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในแต่ละวัน คือ 30 นาที - 1 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 21.90 วัตถุประสงค์ในการใช้เครือข่าย
สังคมออนไลน์ คือ โพสต์ข้อความ/รูปภาพ คิดเป็นร้อยละ 34.60 คุณสมบัติของเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ชอบมากที่สุด
คือ มีแอพพลิเคชั่นหลากหลาย คิดเป็นร้อยละ 27.70 แหล่งหรือสื่อที่ทาให้สนใจใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มากที่สุด คือ
เว็บไซต์ คิดเป็นร้อยละ 52.30 ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 แสดงจานวน (ความถี่) และร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตาม พฤติกรรมในการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้
ในการติดต่อสื่อสารในสังคม ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ข้อมูลพฤติกรรมในการใช้แอพพลิเคชั่น จานวน (คน) ร้อยละ
ประสบการณ์ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์
น้อยกว่า 6 เดือน
6 เดือน - 1 ปี
1 - 2 ปี
2 - 3 ปี
3 - 4 ปี
4 ปีขึ้นไป
เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่บัญชีผู้ใช้ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
Facebook
Twitter
Instagram
Youtube
82
94
93
92
92
169
591
124
162
249
13.20
15.10
15.00
14.80
14.80
27.20
95.00
19.90
26.00
40.00
Google+
WhatsApp
LINE
Tango
Socialcam
Skype
Foursquare
Bee Talk
WeChat
เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ใช้บ่อยที่สุด
Facebook
Twitter
Instagram
Youtube
Google+
WhatsApp
LINE
Tango
Socialcam
Skype
Foursquare
Bee Talk
WeChat
ช่องทางการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
Smartphone
Laptop/Notebook
PC/MAC
ipad/Tablet
ช่องทางการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่บ่อยที่สุด
Smartphone
Laptop/Notebook
PC/MAC
ipad/Tablet
ความถี่ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในแต่ละวัน
1 - 2 ครั้ง
3 - 4 ครั้ง
5 - 6 ครั้ง
205
98
404
71
61
55
12
115
91
513
12
2
16
16
2
58
1
0
0
0
2
0
472
196
157
72
447
66
73
36
180
166
94
33.00
15.80
65.00
11.40
9.80
8.80
1.90
18.50
14.60
82.50
1.90
0.30
2.60
2.60
0.30
9.30
0.20
0.00
0.00
0.00
0.30
0.00
75.90
31.50
25.20
11.60
71.90
10.60
11.70
5.80
28.90
26.70
15.10
เปิดตลอดทั้งวัน
ช่วงเวลาที่ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์บ่อยที่สุด
6 โมงเช้า – 9 โมงเช้า
9 โมงเช้า – เที่ยงวัน
ช่วงพักกลางวัน
บ่ายโมง - บ่าย 3 โมง
4 โมงเย็น – 6 โมงเย็น
6 โมงเย็น – 3 ทุ่ม
4 ทุ่ม – เที่ยงคืน
เที่ยงคืนเป็นต้นไป
ระยะเวลาในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในแต่ละวัน
น้อยกว่า 30 นาที
30 นาที - 1 ช.ม.
1 - 2 ช.ม.
2 - 3 ช.ม.
3 - 4 ช.ม.
4 - 5 ช.ม.
มากกว่า 5 ช.ม.
วัตถุประสงค์ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
โพสต์ข้อความ/รูปภาพ
เช็คอิน
เล่นเกม
ติดตามเพื่อน/คนอื่นๆ
ติดตามข่าวสาร/งาน
แลกเปลี่ยนข้อมูลสิ่งสนใจ
พูดคุยกับเพื่อน
ประชาสัมพันธ์สินค้า/บริษัท
ซื้อสินค้าออนไลน์
หาเพื่อนใหม่
ใช้ตามกระแสนิยม
วัตถุประสงค์ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์
โพสต์ข้อความ/รูปภาพ
เช็คอิน
เล่นเกม
ติดตามเพื่อน/คนอื่นๆ
ติดตามข่าวสาร/งาน
แลกเปลี่ยนข้อมูลสิ่งสนใจ
182
61
46
92
34
97
195
49
48
59
136
90
71
116
51
99
344
249
242
242
230
104
408
75
75
121
74
215
56
62
27
64
16
29.30
9.80
7.40
14.80
5.50
15.60
31.40
7.90
7.70
9.50
21.90
14.50
11.40
18.60
8.20
15.90
55.30
40.00
38.90
38.90
37.00
16.70
65.60
12.10
12.10
19.50
11.90
34.60
9.00
10.00
4.30
10.30
2.60
พูดคุยกับเพื่อน
ประชาสัมพันธ์สินค้า/บริษัท
ซื้อสินค้าออนไลน์
หาเพื่อนใหม่
ใช้ตามกระแสนิยม
คุณสมบัติของเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ชอบ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
มีแอพพลิเคชั่นหลากหลาย
ทราบข่าวสารรวดเร็ว
ซื้อสินค้าได้ง่ายและสะดวก
ประหยัดค่าใช้จ่ายในการทาธุรกิจ
นาเสนอตนเองโดยข้อความ/รูปภาพ
ติดตามเพื่อน
เล่นเกมออนไลน์
แลกเปลี่ยนข้อมูลในสิ่งที่สนใจร่วมกัน
เช็คอิน
ใช้งานง่าย/ไม่ซับซ้อน
ติดตามข่าวสาร/งาน
คุณสมบัติของเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ชอบมากที่สุด
มีแอพพลิเคชั่นหลากหลาย
ทราบข่าวสารรวดเร็ว
ซื้อสินค้าได้ง่ายและสะดวก
ประหยัดค่าใช้จ่ายในการทาธุรกิจ
นาเสนอตนเองโดยข้อความ/รูปภาพ
ติดตามเพื่อน
เล่นเกมออนไลน์
แลกเปลี่ยนข้อมูลในสิ่งที่สนใจร่วมกัน
เช็คอิน
ใช้งานง่าย/ไม่ซับซ้อน
ติดตามข่าวสาร/งาน
แหล่งหรือสื่อที่ทาให้สนใจใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์
เพื่อนแนะนา
เว็บไซต์
นิตยสาร
164
7
1
5
5
282
277
124
105
179
182
219
108
183
132
140
172
135
18
24
60
48
65
10
39
29
22
284
325
13
26.40
1.10
0.20
0.80
0.80
45.30
44.50
19.90
16.90
28.80
29.30
35.20
17.40
29.40
21.20
22.50
27.70
21.70
2.90
3.90
9.60
7.70
10.50
1.60
6.30
4.70
3.50
45.70
52.30
2.10
รวม 622 100.00
ส่วนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม
ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคมของประชาชนในเขต
อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มตัวอย่างผู้ใช้สังคมออนไลน์ในอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ส่วนใหญ่คิดว่า ด้านเวลา ทราบข้อมูลข่าวสารสะดวกและรวดเร็ว ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.20 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อย
ละ 0.20 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 9.50 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 55.60 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 34.60 ทาให้มีเวลาส่วนตัวลด
น้อยลง ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.50 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 3.40 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 26.20 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ
50.50 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 19.50 ทาให้ความตั้งใจในการทางาน/เรียนลดลง ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 1.40 ไม่
เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 6.10 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 26.50 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 47.40 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 18.50 พูดคุย
กับเพื่อนและครอบครัวลดน้อยลง ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 1.40 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 6.80 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ
28.30 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 47.30 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 16.20 ทาให้ติดต่อสื่อสารกันได้สะดวกรวดเร็วขึ้น ไม่เห็น
ด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.00 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 0.30 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 14.00 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 52.60 เห็นด้วย
ที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 33.10 ด้านตนเอง เป็นสื่อในการนาเสนอผลงานของตัวเอง เช่น รูปภาพ วิดีโอต่างๆ ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่
ที่ร้อยละ 0.60 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 1.60 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 21.10 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 51.90 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อย
ละ 25.70 เป็นพื้นที่ระบายอารมณ์และแสดงความคิดเห็น ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 1.10 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 2.60
เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 24.10 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 46.80 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 25.40 ประหยัดค่าใช้จ่ายในการ
ติดต่อสื่อสาร ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.60 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 2.10 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 20.10 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อย
ละ 54.20 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 23.00 อยู่กับหน้าจอเป็นเวลานานอาจเสียสายตา ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.00
ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 1.90 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 18.20 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 50.50 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 29.40 เป็น
ช่องทางที่ดีในการหางานทา ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 2.30 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 5.10 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 27.50
เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 46.90 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 18.20 ด้านสังคม สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจ
ร่วมกันได้ ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.00 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 1.90 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 14.30 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ
54.70 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 29.10 สร้างความสัมพันธ์ที่ดีจากเพื่อนสู่เพื่อนได้ ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.00 ไม่
เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 2.40 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 14.30 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 58.20 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 25.10 แบ่งปัน
ความคิดเห็นกับผู้อื่นได้ง่าย ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.00 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 0.80 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 15.60 เห็น
ด้วยอยู่ที่ร้อยละ 58.20 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 25.40 เป็นแหล่งเผยแพร่สื่อที่ไม่เหมาะสม ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ
1.00 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 4.00 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 24.90 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 48.60 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 21.50
ก่อให้เกิดอาชญากรรมได้ง่ายขึ้น ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 1.10 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 5.10 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 26.50
เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 46.90 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 20.30 ด้านบันเทิง ช่วยให้ผ่อนคลายจากความตึงเครียด ไม่เห็น
ด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.00 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 1.10 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 15.40 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 52.60 เห็นด้วย
ที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 30.90 เป็นแหล่งความบันเทิง ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.20 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 1.10 เฉยๆอยู่ที่
ร้อยละ 13.80 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 54.20 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 30.70 เป็นแหล่งพูดคุยกับกลุ่มเพื่อน ไม่เห็นด้วย
ที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.00 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 1.80 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 12.20 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 53.50 เห็นด้วยที่สุด
อยู่ที่ร้อยละ 32.50 เป็นแหล่งสืบค้นข้อมูลข่าวสารต่างๆ ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.20 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 2.30
เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 19.80 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 49.70 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 28.10 ช่วยในการค้นหาสินค้าหรือบริการ
ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 1.80 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 1.80 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 19.00 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 51.60 เห็น
ด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 25.90 ดังตารางที่ 3
ตารางที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม
ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม จานวน (คน) ร้อยละ
ด้านเวลา
1. ทราบข้อมูลข่าวสารสะดวกและรวดเร็ว
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
2. ทาให้มีเวลาส่วนตัวลดน้อยลง
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
3. ทาให้ความตั้งใจในการทางาน/เรียนลดลง
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
4. พูดคุยกับเพื่อนและครอบครัวลดน้อยลง
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
5. ทาให้ติดต่อสื่อสารกันได้สะดวกรวดเร็วขึ้น
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
ด้านตนเอง
1. เป็นสื่อในการนาเสนอผลงานของตัวเอง เช่น รูปภาพ วิดีโอต่างๆ
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
1
1
59
346
215
3
21
163
314
121
9
38
165
295
115
9
42
176
294
101
0
2
87
327
206
4
10
0.20
0.20
9.50
55.60
34.60
0.50
3.40
26.20
50.50
19.50
1.40
6.10
26.50
47.40
18.50
1.40
6.80
28.30
47.30
16.20
0.00
0.30
14.00
2.70
33.10
0.60
1.60
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
2. เป็นพื้นที่ระบายอารมณ์และแสดงความคิดเห็น
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
3. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
4. อยู่กับหน้าจอเป็นเวลานานอาจเสียสายตา
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
5. เป็นช่องทางที่ดีในการหางานทา
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
ด้านสังคม
1. สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจร่วมกันได้
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
2. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีจากเพื่อนสู่เพื่อนได้
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
125
323
160
7
16
150
291
158
4
13
125
337
143
0
12
113
314
183
14
32
171
292
113
0
12
89
340
181
0
15
20.10
51.90
25.70
1.10
2.60
24.10
46.80
25.40
0.60
2.10
20.10
54.20
23.00
0.00
1.90
18.20
50.50
29.40
2.30
5.10
27.50
46.90
18.20
0.00
1.90
14.30
54.70
29.10
0.00
2.40
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
3. แบ่งปันความคิดเห็นกับผู้อื่นได้ง่าย
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
4. เป็นแหล่งเผยแพร่สื่อที่ไม่เหมาะสม
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
5. ก่อให้เกิดอาชญากรรมได้ง่ายขึ้น
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
ด้านบันเทิง
1. ช่วยให้ผ่อนคลายจากความตึงเครียด
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
2. เป็นแหล่งความบันเทิง
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
3. เป็นแหล่งพูดคุยกับกลุ่มเพื่อน
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
89
362
156
0
5
97
362
158
6
25
155
302
134
7
32
165
292
126
0
7
96
327
192
1
7
86
337
191
0
11
14.30
58.20
25.10
0.00
0.80
15.60
58.20
25.40
1.00
4.00
24.90
48.60
21.50
1.10
5.10
26.50
46.90
20.30
0.00
1.10
15.40
52.60
30.90
0.20
1.10
13.80
54.20
30.70
0.00
1.80
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
4. เป็นแหล่งสืบค้นข้อมูลข่าวสารต่างๆ
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
5. ช่วยในการค้นหาสินค้าหรือบริการ
ไม่เห็นด้วยที่สุด
ไม่เห็นด้วย
เฉยๆอยู่
เห็นด้วย
เห็นด้วยที่สุด
76
333
202
1
14
123
309
175
11
11
118
321
161
12.20
53.50
32.50
0.20
2.30
19.80
49.70
28.10
1.80
1.80
19.00
51.60
25.90
รวม 622 100.00
สรุปและอภิปรายผล
จากการวิจัยในเรื่อง พฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
สามารถอภิปรายผลได้ดังนี้
1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ผลการศึกษาข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา พบว่า ผู้ใช้สังคม
ออนไลน์ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 20-29 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา ซึ่ง
สอดคล้องกับงานวิจัยของ เอมิกา เหมมินทร์ (2556) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการใช้และความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้
จากการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Media) ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า กลุ่ม
ตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 20-24 ปี
2) พฤติกรรมในการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคมของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา
จังหวัดฉะเชิงเทรา
ผลการศึกษาข้อมูลพฤติกรรมในการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคมของประชาชนอาเภอเมือง
จังหวัดฉะเชิงเทรา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ 4 ปีขึ้นไป สูงถึงร้อยละ
27.20 โดย Facebook เป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีการใช้มากที่สุดถึง ร้อยละ 82.50 Smartphone กลายเป็น
ช่องทางที่ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 71.90 และประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 29.30 เปิดเครือข่ายสังคมออนไลน์ไว้ตลอด
ทั้งวัน ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 31.40 โดยซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ เอมิกา เหมมินทร์ (2556) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง
พฤติกรรมการใช้และความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Media) ของประชาชนใน
เขตกรุงเทพมหานคร
มีการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในช่วงเวลา 18.00-21.00 น.มากที่สุด ประชาชนมีการใช้เครือข่ายสังคม
ออนไลน์ 30 นาที -1 ชั่วโมงต่อวันมากที่สุด ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 34.60 ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อโพสต์
ข้อความ/รูปภาพมากที่สุด คุณสมบัติของเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 27.70 ชอบมากที่สุดคือมี
แอพพลิเคชั่นที่หลากหลาย นอกจากนี้เว็บไซต์เป็นแหล่งหรือสื่อที่ทาให้ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 52.30 สนใจใช้
เครือข่ายสังคมออนไลน์มากที่สุด เพราะสามารถเข้าถึงได้ง่าย เข้าถึงได้ทุกที่ ทุกเวลาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีอย่าง
แพร่หลายทั่วประเทศ ด้วยเหตุนี้เว็บไซต์จึงกลายเป็นแหล่งข้อมูลสาคัญในการค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติม หรือตอบข้อ
สงสัยในเรื่องต่างๆ มากที่สุด
3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคมของประชาชนอาเภอ
เมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
ผลการศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคมของ
ประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ส่วนใหญ่พบว่า ด้านเวลา ทราบข้อมูลข่าวสารสะดวกและรวดเร็ว
เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 55.60 ทาให้มีเวลาส่วนตัวลดน้อยลง เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 50.50 ทาให้ความตั้งใจในการทางาน/
เรียนลดลง เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 47.40 พูดคุยกับเพื่อนและครอบครัวลดน้อยลง เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 47.30 ทาให้
ติดต่อสื่อสารกันได้สะดวกรวดเร็วขึ้น เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 52.60 ด้านตนเอง เป็นสื่อในการนาเสนอผลงานของตัวเอง
เช่น รูปภาพ วิดีโอต่างๆ เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 51.90 เป็นพื้นที่ระบายอารมณ์และแสดงความคิดเห็น เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ
46.80 ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 54.20 อยู่กับหน้าจอเป็นเวลานานอาจเสียสายตา
เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 50.50 เป็นช่องทางที่ดีในการหางานทา เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 46.90 ด้านสังคม สามารถแลกเปลี่ยน
ข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจร่วมกันได้ เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 54.70 สร้างความสัมพันธ์ที่ดีจากเพื่อนสู่เพื่อนได้ เห็นด้วยอยู่ที่
ร้อยละ 58.20 แบ่งปันความคิดเห็นกับผู้อื่นได้ง่าย เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 58.20 เป็นแหล่งเผยแพร่สื่อที่ไม่เหมาะสม เห็น
ด้วยอยู่ที่ร้อยละ 48.60 ก่อให้เกิดอาชญากรรมได้ง่ายขึ้น เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 46.90 ด้านบันเทิง ช่วยให้ผ่อนคลายจาก
ความตึงเครียด เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 52.60 เป็นแหล่งความบันเทิง เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 54.20 เป็นแหล่งพูดคุยกับกลุ่ม
เพื่อน เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 53.50 เป็นแหล่งสืบค้นข้อมูลข่าวสารต่างๆ เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 49.70 ช่วยในการค้นหา
สินค้าหรือบริการ เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 51.60
ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
1) ควรมีการศึกษาพฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ ของผู้ใช้บริการในจังหวัดอื่นๆ นอกเหนือจาก จังหวัด
ฉะเชิงเทรา ทั้งนี้เพื่อทาให้ได้ภาพรวมที่กว้างขึ้นเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้งานด้านข้อมูลและความคิดเห็นที่มีต่อสังคม
ออนไลน์ ของผู้ใช้บริการที่แตกต่างกันหรืออาจจะศึกษาเชิงเปรียบเทียบเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้งานด้านข้อมูลและความ
คิดเห็นที่มีต่อสังคมออนไลน์จังหวัดที่แตกต่างกัน
2) ในการวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการศึกษาปัจจัยอื่นๆ เพิ่มเติมนอกเหนือจากลักษณะทางประชากรที่ผู้วิจัยได้
ทาการศึกษา เพื่อให้งานวิจัยกว้างขวางและสมบูรณ์มากขึ้น
3) ควรทาการศึกษาปัญหาและผลกระทบของเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีต่อสังคมเพิ่มเติม เพื่อให้งานวิจัยมี
ความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้นในเรื่องคุณประโยชน์ของเครือข่ายสังคมออนไลน์ทั้งด้านบวกและด้านลบ
4) การศึกษาวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยศึกษาพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ทั่วไปมิได้มุ่งศึกษาพฤติกรรมการใช้
เครือข่ายสังคมออนไลน์ด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ ดังนั้นในการศึกษาวิจัยครั้งต่อไปควรมีการใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบ
อื่นๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกมากขึ้น
เอกสารอ้างอิง
เอมิกา เหมมินทร์. (2556). พฤติกรรมการใช้และความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์
(Social Media) ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สถิติประยุกต์),
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพเทพมหานคร.
จันทร์ศิลา สีเมฆนอก. (2556). สารวจพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในเขตอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัด
ฉะเชิงเทรา. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, ฉะเชิงเทรา.

More Related Content

What's hot

ภาพรวมของการนำเอา Social network มาใช้ในหน่วยงานภาครัฐ
ภาพรวมของการนำเอา Social network มาใช้ในหน่วยงานภาครัฐภาพรวมของการนำเอา Social network มาใช้ในหน่วยงานภาครัฐ
ภาพรวมของการนำเอา Social network มาใช้ในหน่วยงานภาครัฐsiriporn pongvinyoo
 
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้วัจนี ศรีพวงผกาพันธุ์
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .Montita Kongmuang
 
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่นอินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่นเดชฤทธิ์ ทองประภา
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Kanda Runapongsa Saikaew
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องTheeraWat JanWan
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องSirintip Kongchanta
 
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตรThanich Suwannabutr
 
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดียรู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดียPisan Chueachatchai
 

What's hot (18)

ภาพรวมของการนำเอา Social network มาใช้ในหน่วยงานภาครัฐ
ภาพรวมของการนำเอา Social network มาใช้ในหน่วยงานภาครัฐภาพรวมของการนำเอา Social network มาใช้ในหน่วยงานภาครัฐ
ภาพรวมของการนำเอา Social network มาใช้ในหน่วยงานภาครัฐ
 
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
10 พฤติกรรมผู้บริโภคบน Facebook ที่นักการตลาดต้องรู้
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Thai socialmedia
Thai socialmediaThai socialmedia
Thai socialmedia
 
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
เครือข่ายสังคมออนไลน์ .
 
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่นอินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
 
2
22
2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
2
22
2
 
สม ดเล มเล_ก
สม ดเล มเล_กสม ดเล มเล_ก
สม ดเล มเล_ก
 
Sociel
SocielSociel
Sociel
 
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
 
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดียรู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
รู้ทันอย่างเข้าใจ โซเชียลมีเดีย
 
123pj
123pj123pj
123pj
 

Similar to สารวจพฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา

ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการjansaowapa
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet educationcodexstudio
 
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้guest92cc62
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีballjantakong
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตdlled
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPoonyapat Wongpong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร Adirek Yaowong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkTaradpmt
 
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่FURD_RSU
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศCreampyyy
 

Similar to สารวจพฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา (20)

10
1010
10
 
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
 
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยี
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Social Networking For Organizations
Social Networking For OrganizationsSocial Networking For Organizations
Social Networking For Organizations
 
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร
แนะนำกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศฯ มรร
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
Using Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social NetworkUsing Social Media Via Social Network
Using Social Media Via Social Network
 
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
สภาคนแป้ : เครือข่ายลูกหลานเมืองแพร่
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

สารวจพฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา

  • 1. สารวจพฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา Survey the Social Behavior of People in, Muang Chachoengsao, Chachoengsao Province. กิ่งกาญจน์ เปสาโก, ชลลดา พงศ์พุทธิไพบูลย์ และณัฐที ปิ่นทอง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสาคัญของแอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคมของ ประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อศึกษาแอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารที่นิยมใช้งานมาก ที่สุดของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา และเพื่อศึกษาการใช้เครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารของ ประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในวิจัยคือ นักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไปที่ อยู่ในเขตอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทราจานวน 622 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม โดยใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ ตามเวลาที่สะดวก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความ เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 20-29 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพเป็นนักเรียน/นักศึกษา และมี ประสบการณ์ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ 4 ปีขึ้นไปมากที่สุด ประชาชนใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ Facebook บ่อยที่สุด ช่องทางที่ประชาชนใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์บ่อยที่สุดคือ Smartphone ประชาชนส่วนใหญ่เปิด บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ไว้ตลอดทั้งวัน ช่วงเวลาที่ประชาชนใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มากที่สุดคือ 18.00-21.00 น. ประชาชนมีการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ 30 นาที - 1 ชั่วโมง ต่อวันมากที่สุด ประชาชนส่วนใหญ่ใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์เพื่อโพสต์ข้อความ/รูปภาพมากที่สุด และคุณสมบัติของ เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ประชาชนชอบมากที่สุดคือ มี แอพพลิเคชั่นหลากหลาย โดยเว็บไซต์เป็นแหล่งหรือสื่อที่ทาให้ประชาชนสนใจใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มากที่สุด คาสาคัญ: พฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์, ฉะเชิงเทรา
  • 2. Abstract This research aims to study the importance of apps that use of communication in public Mueang Chachoengsao. Chachoengsao To study the applications that use of communication in use most of the people Mueang Chachoengsao. Chachoengsao And to learn to use the tools that are used to communicate with the public Mueang Chachoengsao. Chachoengsao The samples used in the research of students and individuals who live in the district of Bangkok. Chachoengsao number 622 was used for data collection was a questionnaire. Using random chance. The convenient time The statistics used for data analysis were percentage, mean and standard deviation. The results showed that The social behavior of the District in Chachoengsao. Chachoengsao Most of the male Aged between 20-29 years of undergraduate study. A career as a student / student And experienced in the use of online social networks, most 4 years. Public services, social networking, Facebook most common way that people use online social networks are most often Smartphone most people turn to online social networking services throughout the day. The time when people use social networks, most are 18:00 to 21:00 hrs. People are using social networks 30 minutes - 1 hour per day for most. Most people use the social network to post messages / photos as possible. And properties Online social networking is that people like the most. The applications for various applications. The site is made public or media interest in online social networks the most. Keywords: The use of social behavior, Chachoengsao.
  • 3. บทนา เทคโนโลยีมีความเจริญก้าวหน้าและเติบโตอย่างรวดเร็ว ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและเทคโนโลยีการสื่อสาร ได้เปลี่ยนการดาเนินชีวิต การดาเนินธุรกิจ และการสื่อสารของผู้คนไปอย่างมาก ทาให้ผู้คนสามารถพบปะพูดคุยกับใครก็ ได้ ที่ไหนก็ได้ เวลาใดก็ได้เพียงแค่ปลายนิ้วสัมผัสก็สามารถสื่อสารโต้ตอบระหว่างกันได้ จากอดีตมีรูปแบบการสื่อสารที่มี การพูดคุยสนทนาแบบเห็นหน้าพบเจอตัวกัน หรือการเขียนส่งจดหมายทางไปรษณีย์ การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารส่งผล ให้เครือข่ายสังคมออนไลน์ได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของประชาชน และได้เปลี่ยนแปลงการสื่อสารของคนใน สังคมไปอย่างมาก เช่น การซื้อสินค้าออนไลน์ การค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อทารายงาน การเข้าสังคมเพื่อแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นและอื่นๆ โดยติดต่อสื่อสารกันผ่านแอพพลิเคชั่นซึ่งมีมากมายในปัจจุบัน ทาให้เปลี่ยนรูปแบบการสื่อสารจาก พูดคุยผ่านโทรศัพท์มือถือหรือการเขียนจดหมายเป็นการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลที่เป็นการติดต่อสื่อสารแบบไร้พรมแดน ปัจจุบันเครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลาย ประชาชนส่วนใหญ่หันมาใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ กันเพิ่มมากขึ้นและมีแนวโน้มการใช้งานที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในอนาคต ด้วยประโยชน์ที่มากมายจากการใช้งาน ไม่ว่าจะ เป็นเรื่องการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สามารถสื่อสารได้ง่าย โดยเครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นพื้นที่สาธารณะที่สมาชิกซึ่ง คือคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกเชื้อชาติ มีช่องทางการสื่อสารรูปแบบใหม่ๆ เกิดขึ้นเป็นจานวนมาก ซึ่งเครือข่ายสังคมออนไลน์ สามารถใช้งานผ่านโทรศัพท์มือถือ แท็บแล็ต โน๊ตบุ๊ค และคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ที่สามารถดาวน์โหลดและติดตั้ง แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ได้แก่ วอทแอพ (WhatsApp) เฟสบุ๊ค (Facebook) ไลน์ (Line) บีทอล์ค (BeeTalk) วีแชท (WeChat) เป็นต้น ซึ่งทุกวันนี้มีคนใช้ชีวิตอยู่กับสังคมออนไลน์มากขึ้นทุกวัน การสารวจโดย Retrevo ซึ่งศึกษาผู้ใช้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ พบว่า ในปัจจุบันเครือข่ายสังคมออนไลน์ ได้เข้ามามีบทบาทต่อการดาเนินชีวิตของคนมากขึ้น จากตัวอย่าง 1,000 คนพบว่าผู้ใช้งานเกือบครึ่งหนึ่งมีการติดตาม ความเคลื่อนไหวเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ ทั้งก่อนเข้านอนและตอนตื่นในตอนเช้า โดยผู้ใช้มากกว่าครึ่งหนึ่งต้อง ติดตามความเคลื่อนไหวเว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ของตนอย่างน้อยวันละหนึ่งครั้ง และมากกว่า 10% ที่เข้าไปดู ความเคลื่อนไหวล่าสุดทุกๆ 2-3 ชั่วโมง (Marketingoops, 2552) ข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าเว็บไซต์เครือข่ายสังคม ออนไลน์เป็นที่นิยมและมีอิทธิพลอย่างมากต่อชีวิตประจาวันในกลุ่มคนที่ใช้อินเทอร์เน็ต เป็นผลให้เครือข่ายขยายวงกว้าง ออกไปเรื่อยๆ และเติบโตต่อไปอีกในอนาคต จากผลการสารวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือนของสานักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2554 จากประชากรทั้งสิ้นประมาณ 62 ล้านคน พบว่า มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 12.0 เป็นร้อยละ 23.7 (บุญเลิศ, 2555) สอดคล้องกับจานวนผู้ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้จากการศึกษาของ สานักงานสถิติแห่งชาติเกี่ยวกับคนที่ใช้อินเทอร์เน็ต พบว่า ลักษณะส่วนบุคคลที่ต่างกันมีพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตที่ ต่างกัน ความนิยมการใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีมากในปัจจุบันเข้ามามีอิทธิพลต่อวัยรุ่นไทยเป็นอย่างมาก รวม ไปถึงสังคมของมหาวิทยาลัยที่ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นสื่อกลางในการศึกษาและเป็นช่องทางการตืดต่อสื่อสารกัน เช่น เช่น การตั้งกลุ่มใน Facebook การสร้างกลุ่มใน Line เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และแจ้งข้อมูลข่าวสาร จากข้อมูล เหล่านี้ทาให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาถึงพฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัด ฉะเชิงเทราของผู้ใช้บริการที่มีความหลากหลาย เพื่อนาข้อมูลไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภาคธุรกิจ ภาครัฐ หรือภาคการศึกษาในการพัฒนาช่องทางในการติดต่อกับกลุ่มเป้าหมายผ่านทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ ให้มี ความน่าสนใจและเข้าถึงได้ง่าย
  • 4. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย 1) เพื่อศึกษาความสาคัญของแอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคมของประชาชนอาเภอเมือง ฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา 2) เพื่อศึกษาแอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารที่นิยมใช้งานมากที่สุดของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา 3) เพื่อศึกษาการใช้เครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา วิธีดาเนินการวิจัย การวิจัย เรื่อง สารวจพฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา นั้นเป็นวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรกลุ่มเป้าหมายในการวิจัยในครั้งนี้ คือ นักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไปทั้งเพศชายและเพศหญิงที่ อยู่ในเขตพื้นที่อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามไม่จากัดอายุ เพศ ระดับการศึกษา และได้มีการกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยจานวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 622 คน ในการตอบแบบสอบถาม โดยวิธีการสุ่มแบบบังเอิญตามเวลาที่สะดวก ตัวแปร 1) ตัวแปรต้น หรือตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ประกอบด้วยปัจจัยด้านประชากร คือ เพศ, อายุ, ระดับการศึกษา, อาชีพ, ตาบลที่อาศัย, รายได้ต่อเดือน 2) ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ได้แก่ พฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารใน สังคม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้แก่แบบสอบถาม (Questionnaire) จานวน 622 ชุด ซึ่งถือเป็นการเก็บ ข้อมูลจากแหล่งปฐมภูมิ เก็บข้อมูลโดยตรงจากประชาชน โดยแบ่งโครงร่างของแบบสอบถามออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ตาบลที่อาศัย รายได้ต่อ เดือน จานวน 6 ข้อ ส่วนที่ 2 พฤติกรรมในการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม จานวน 13 ข้อ ส่วนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม จานวน 20 ข้อ ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะ เป็นแบบสอบถามปลายเปิด การดาเนินงานวิจัย 1) ศึกษาค้นคว้า ผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารใน สังคมของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ทั้งในตาราเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อเก็บ รวบรวมข้อมูลเบื้องต้นมาเป็นแนวทางในการเตรียมแบบสอบถามให้มีข้อคาถามครอบคลุมวัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ 2) ศึกษาประชากรที่ใช้ในการวิจัย 3) ดาเนินการสร้างแบบสอบถามและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัย
  • 5. 4) เก็บรวบรวมข้อมูล ใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ โดยการรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามที่ได้จัดทาขึ้น โดยให้ ประชาชนทั่วไปกรอกแบบสอบถามด้วยตนเองตามพฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคมของ ประชาชน ในเขตอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา 5) นาข้อมูลที่เก็บรวบรวมแล้วไปวิเคราะห์ การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) ใช้สถิติดังนี้ 1) ค่าร้อยละ (Percentage) เพื่อใช้อธิบายลักษณะข้อมูลจากแบบสอบถาม ส่วนที่1) ด้านข้อมูลส่วนตัวของ ผู้ตอบแบบสอบถามได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ตาบลที่อาศัย รายได้ต่อเดือน, ส่วนที่2) พฤติกรรมในการใช้ แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม, ส่วนที่3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการ ติดต่อสื่อสารในสังคม 2) ค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean) เพื่อใช้ในการอธิบายลักษณะข้อมูลจากแบบสอบถาม ส่วนที่3) ความคิดเห็น เกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม 3) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เพื่อใช้ในการอธิบายลักษณะข้อมูลจากแบบสอบถาม ส่วน ที่3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม ผลการวิจัย จากการศึกษา พฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ผลการวิจัยมีดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม แสดงให้เห็นว่า กลุ่มตัวอย่างพฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัด ฉะเชิงเทราจานวน 622 คน โดยจานวนมากที่สุด เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 20-29 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี มี อาชีพเป็นนักเรียน/นักศึกษา มีที่อยู่อาศัยในตาบลหน้าเมือง มีรายได้เฉลี่ยต่ากว่า 5,000 บาท ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงจานวน (ความถี่) และร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ตาบลที่อาศัย และรายได้ต่อเดือน ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน (คน) ร้อยละ เพศ ชาย หญิง อายุ ต่ากว่า 20 ปี 20-29 ปี 30-39 ปี 40-49 ปี 50-59 ปี 60 ปีขึ้นไป ระดับการศึกษา 330 292 210 312 66 20 13 1 53.10 46.90 33.80 50.20 10.60 3.20 2.10 0.20
  • 6. ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า อนุปริญญา( ปวส.) ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจส่วนตัว พนักงานบริษัทเอกชน รับจ้าง เกษตรกร อาศัยอยู่ที่อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา ใช่ หน้าเมือง วังตะเคียน ท่าไข่ โสธร บ้านใหม่ บางพระ คลองนา บางกะไห บางตีนเป็ด หนามแดง บางไผ่ คลองเปรง บางแก้ว คลองหลวงแพ่ง บางขวัญ บางเตย คลองนครเนื่องเขต คลองจุกกระเฌอ คลองอุดมชลจร ไม่ใช่ รายได้ต่อเดือน 55 52 159 120 221 13 2 376 44 26 123 36 17 489 213 23 25 44 56 22 11 1 19 10 3 2 11 5 13 7 16 5 3 133 8.80 8.40 25.60 19.30 35.50 2.10 0.30 60.50 7.10 4.20 19.80 5.80 2.70 78.60 34.20 3.70 4.00 7.10 9.00 3.50 1.80 0.20 3.10 1.60 0.50 0.30 1.80 0.80 2.10 1.10 2.60 0.80 0.50 21.40
  • 7. ต่ากว่า 5,000 บาท 5,000 - 10,000 บาท 10,001 - 15,000 บาท 15,001 - 20,000 บาท 20,001 - 25,000 บาท 25,001 - 30,000 บาท 30,001 - 35,000 บาท 35,001 - 40,000 บาท 45,001 บาทขึ้นไป 239 157 69 111 29 7 5 3 2 38.40 25.20 11.10 17.80 4.70 1.10 0.80 0.50 0.30 รวม 622 100.00 ส่วนที่ 2 พฤติกรรมในการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม ของผู้ตอบแบบสอบถาม แสดงให้เห็นว่า กลุ่มตัวอย่างพฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ของประชาชนในเขตอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ 4 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 27.20 เครือข่าย สังคมออนไลน์ที่ใช้บ่อยที่สุด คือ Facebook คิดเป็นร้อยละ 82.50 ช่องทางการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่บ่อยที่สุด คือ Smartphone คิดเป็นร้อยละ 71.90 ความถี่ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในแต่ละวัน คือ เปิดตลอดทั้งวัน คิดเป็น ร้อยละ 29.30 ช่วงเวลาที่ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์บ่อยที่สุด คือ 6 โมงเย็น – 3 ทุ่ม คิดเป็นร้อยละ 31.40 ระยะเวลาใน การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในแต่ละวัน คือ 30 นาที - 1 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 21.90 วัตถุประสงค์ในการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์ คือ โพสต์ข้อความ/รูปภาพ คิดเป็นร้อยละ 34.60 คุณสมบัติของเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ชอบมากที่สุด คือ มีแอพพลิเคชั่นหลากหลาย คิดเป็นร้อยละ 27.70 แหล่งหรือสื่อที่ทาให้สนใจใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์มากที่สุด คือ เว็บไซต์ คิดเป็นร้อยละ 52.30 ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 แสดงจานวน (ความถี่) และร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตาม พฤติกรรมในการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ ในการติดต่อสื่อสารในสังคม ของผู้ตอบแบบสอบถาม ข้อมูลพฤติกรรมในการใช้แอพพลิเคชั่น จานวน (คน) ร้อยละ ประสบการณ์ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ น้อยกว่า 6 เดือน 6 เดือน - 1 ปี 1 - 2 ปี 2 - 3 ปี 3 - 4 ปี 4 ปีขึ้นไป เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่บัญชีผู้ใช้ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) Facebook Twitter Instagram Youtube 82 94 93 92 92 169 591 124 162 249 13.20 15.10 15.00 14.80 14.80 27.20 95.00 19.90 26.00 40.00
  • 8. Google+ WhatsApp LINE Tango Socialcam Skype Foursquare Bee Talk WeChat เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ใช้บ่อยที่สุด Facebook Twitter Instagram Youtube Google+ WhatsApp LINE Tango Socialcam Skype Foursquare Bee Talk WeChat ช่องทางการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) Smartphone Laptop/Notebook PC/MAC ipad/Tablet ช่องทางการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ที่บ่อยที่สุด Smartphone Laptop/Notebook PC/MAC ipad/Tablet ความถี่ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในแต่ละวัน 1 - 2 ครั้ง 3 - 4 ครั้ง 5 - 6 ครั้ง 205 98 404 71 61 55 12 115 91 513 12 2 16 16 2 58 1 0 0 0 2 0 472 196 157 72 447 66 73 36 180 166 94 33.00 15.80 65.00 11.40 9.80 8.80 1.90 18.50 14.60 82.50 1.90 0.30 2.60 2.60 0.30 9.30 0.20 0.00 0.00 0.00 0.30 0.00 75.90 31.50 25.20 11.60 71.90 10.60 11.70 5.80 28.90 26.70 15.10
  • 9. เปิดตลอดทั้งวัน ช่วงเวลาที่ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์บ่อยที่สุด 6 โมงเช้า – 9 โมงเช้า 9 โมงเช้า – เที่ยงวัน ช่วงพักกลางวัน บ่ายโมง - บ่าย 3 โมง 4 โมงเย็น – 6 โมงเย็น 6 โมงเย็น – 3 ทุ่ม 4 ทุ่ม – เที่ยงคืน เที่ยงคืนเป็นต้นไป ระยะเวลาในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในแต่ละวัน น้อยกว่า 30 นาที 30 นาที - 1 ช.ม. 1 - 2 ช.ม. 2 - 3 ช.ม. 3 - 4 ช.ม. 4 - 5 ช.ม. มากกว่า 5 ช.ม. วัตถุประสงค์ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) โพสต์ข้อความ/รูปภาพ เช็คอิน เล่นเกม ติดตามเพื่อน/คนอื่นๆ ติดตามข่าวสาร/งาน แลกเปลี่ยนข้อมูลสิ่งสนใจ พูดคุยกับเพื่อน ประชาสัมพันธ์สินค้า/บริษัท ซื้อสินค้าออนไลน์ หาเพื่อนใหม่ ใช้ตามกระแสนิยม วัตถุประสงค์ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ โพสต์ข้อความ/รูปภาพ เช็คอิน เล่นเกม ติดตามเพื่อน/คนอื่นๆ ติดตามข่าวสาร/งาน แลกเปลี่ยนข้อมูลสิ่งสนใจ 182 61 46 92 34 97 195 49 48 59 136 90 71 116 51 99 344 249 242 242 230 104 408 75 75 121 74 215 56 62 27 64 16 29.30 9.80 7.40 14.80 5.50 15.60 31.40 7.90 7.70 9.50 21.90 14.50 11.40 18.60 8.20 15.90 55.30 40.00 38.90 38.90 37.00 16.70 65.60 12.10 12.10 19.50 11.90 34.60 9.00 10.00 4.30 10.30 2.60
  • 10. พูดคุยกับเพื่อน ประชาสัมพันธ์สินค้า/บริษัท ซื้อสินค้าออนไลน์ หาเพื่อนใหม่ ใช้ตามกระแสนิยม คุณสมบัติของเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ชอบ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) มีแอพพลิเคชั่นหลากหลาย ทราบข่าวสารรวดเร็ว ซื้อสินค้าได้ง่ายและสะดวก ประหยัดค่าใช้จ่ายในการทาธุรกิจ นาเสนอตนเองโดยข้อความ/รูปภาพ ติดตามเพื่อน เล่นเกมออนไลน์ แลกเปลี่ยนข้อมูลในสิ่งที่สนใจร่วมกัน เช็คอิน ใช้งานง่าย/ไม่ซับซ้อน ติดตามข่าวสาร/งาน คุณสมบัติของเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ชอบมากที่สุด มีแอพพลิเคชั่นหลากหลาย ทราบข่าวสารรวดเร็ว ซื้อสินค้าได้ง่ายและสะดวก ประหยัดค่าใช้จ่ายในการทาธุรกิจ นาเสนอตนเองโดยข้อความ/รูปภาพ ติดตามเพื่อน เล่นเกมออนไลน์ แลกเปลี่ยนข้อมูลในสิ่งที่สนใจร่วมกัน เช็คอิน ใช้งานง่าย/ไม่ซับซ้อน ติดตามข่าวสาร/งาน แหล่งหรือสื่อที่ทาให้สนใจใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อนแนะนา เว็บไซต์ นิตยสาร 164 7 1 5 5 282 277 124 105 179 182 219 108 183 132 140 172 135 18 24 60 48 65 10 39 29 22 284 325 13 26.40 1.10 0.20 0.80 0.80 45.30 44.50 19.90 16.90 28.80 29.30 35.20 17.40 29.40 21.20 22.50 27.70 21.70 2.90 3.90 9.60 7.70 10.50 1.60 6.30 4.70 3.50 45.70 52.30 2.10 รวม 622 100.00
  • 11. ส่วนที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคมของประชาชนในเขต อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มตัวอย่างผู้ใช้สังคมออนไลน์ในอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ส่วนใหญ่คิดว่า ด้านเวลา ทราบข้อมูลข่าวสารสะดวกและรวดเร็ว ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.20 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อย ละ 0.20 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 9.50 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 55.60 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 34.60 ทาให้มีเวลาส่วนตัวลด น้อยลง ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.50 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 3.40 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 26.20 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 50.50 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 19.50 ทาให้ความตั้งใจในการทางาน/เรียนลดลง ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 1.40 ไม่ เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 6.10 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 26.50 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 47.40 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 18.50 พูดคุย กับเพื่อนและครอบครัวลดน้อยลง ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 1.40 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 6.80 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 28.30 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 47.30 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 16.20 ทาให้ติดต่อสื่อสารกันได้สะดวกรวดเร็วขึ้น ไม่เห็น ด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.00 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 0.30 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 14.00 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 52.60 เห็นด้วย ที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 33.10 ด้านตนเอง เป็นสื่อในการนาเสนอผลงานของตัวเอง เช่น รูปภาพ วิดีโอต่างๆ ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ ที่ร้อยละ 0.60 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 1.60 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 21.10 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 51.90 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อย ละ 25.70 เป็นพื้นที่ระบายอารมณ์และแสดงความคิดเห็น ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 1.10 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 2.60 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 24.10 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 46.80 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 25.40 ประหยัดค่าใช้จ่ายในการ ติดต่อสื่อสาร ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.60 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 2.10 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 20.10 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อย ละ 54.20 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 23.00 อยู่กับหน้าจอเป็นเวลานานอาจเสียสายตา ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.00 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 1.90 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 18.20 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 50.50 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 29.40 เป็น ช่องทางที่ดีในการหางานทา ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 2.30 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 5.10 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 27.50 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 46.90 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 18.20 ด้านสังคม สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจ ร่วมกันได้ ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.00 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 1.90 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 14.30 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 54.70 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 29.10 สร้างความสัมพันธ์ที่ดีจากเพื่อนสู่เพื่อนได้ ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.00 ไม่ เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 2.40 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 14.30 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 58.20 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 25.10 แบ่งปัน ความคิดเห็นกับผู้อื่นได้ง่าย ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.00 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 0.80 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 15.60 เห็น ด้วยอยู่ที่ร้อยละ 58.20 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 25.40 เป็นแหล่งเผยแพร่สื่อที่ไม่เหมาะสม ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 1.00 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 4.00 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 24.90 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 48.60 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 21.50 ก่อให้เกิดอาชญากรรมได้ง่ายขึ้น ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 1.10 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 5.10 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 26.50 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 46.90 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 20.30 ด้านบันเทิง ช่วยให้ผ่อนคลายจากความตึงเครียด ไม่เห็น ด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.00 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 1.10 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 15.40 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 52.60 เห็นด้วย ที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 30.90 เป็นแหล่งความบันเทิง ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.20 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 1.10 เฉยๆอยู่ที่ ร้อยละ 13.80 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 54.20 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 30.70 เป็นแหล่งพูดคุยกับกลุ่มเพื่อน ไม่เห็นด้วย ที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.00 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 1.80 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 12.20 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 53.50 เห็นด้วยที่สุด อยู่ที่ร้อยละ 32.50 เป็นแหล่งสืบค้นข้อมูลข่าวสารต่างๆ ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 0.20 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 2.30 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 19.80 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 49.70 เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 28.10 ช่วยในการค้นหาสินค้าหรือบริการ ไม่เห็นด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 1.80 ไม่เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 1.80 เฉยๆอยู่ที่ร้อยละ 19.00 เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 51.60 เห็น ด้วยที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 25.90 ดังตารางที่ 3
  • 12. ตารางที่ 3 ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคม จานวน (คน) ร้อยละ ด้านเวลา 1. ทราบข้อมูลข่าวสารสะดวกและรวดเร็ว ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 2. ทาให้มีเวลาส่วนตัวลดน้อยลง ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 3. ทาให้ความตั้งใจในการทางาน/เรียนลดลง ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 4. พูดคุยกับเพื่อนและครอบครัวลดน้อยลง ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 5. ทาให้ติดต่อสื่อสารกันได้สะดวกรวดเร็วขึ้น ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด ด้านตนเอง 1. เป็นสื่อในการนาเสนอผลงานของตัวเอง เช่น รูปภาพ วิดีโอต่างๆ ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย 1 1 59 346 215 3 21 163 314 121 9 38 165 295 115 9 42 176 294 101 0 2 87 327 206 4 10 0.20 0.20 9.50 55.60 34.60 0.50 3.40 26.20 50.50 19.50 1.40 6.10 26.50 47.40 18.50 1.40 6.80 28.30 47.30 16.20 0.00 0.30 14.00 2.70 33.10 0.60 1.60
  • 13. เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 2. เป็นพื้นที่ระบายอารมณ์และแสดงความคิดเห็น ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 3. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 4. อยู่กับหน้าจอเป็นเวลานานอาจเสียสายตา ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 5. เป็นช่องทางที่ดีในการหางานทา ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด ด้านสังคม 1. สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจร่วมกันได้ ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 2. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีจากเพื่อนสู่เพื่อนได้ ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย 125 323 160 7 16 150 291 158 4 13 125 337 143 0 12 113 314 183 14 32 171 292 113 0 12 89 340 181 0 15 20.10 51.90 25.70 1.10 2.60 24.10 46.80 25.40 0.60 2.10 20.10 54.20 23.00 0.00 1.90 18.20 50.50 29.40 2.30 5.10 27.50 46.90 18.20 0.00 1.90 14.30 54.70 29.10 0.00 2.40
  • 14. เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 3. แบ่งปันความคิดเห็นกับผู้อื่นได้ง่าย ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 4. เป็นแหล่งเผยแพร่สื่อที่ไม่เหมาะสม ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 5. ก่อให้เกิดอาชญากรรมได้ง่ายขึ้น ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด ด้านบันเทิง 1. ช่วยให้ผ่อนคลายจากความตึงเครียด ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 2. เป็นแหล่งความบันเทิง ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 3. เป็นแหล่งพูดคุยกับกลุ่มเพื่อน ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย 89 362 156 0 5 97 362 158 6 25 155 302 134 7 32 165 292 126 0 7 96 327 192 1 7 86 337 191 0 11 14.30 58.20 25.10 0.00 0.80 15.60 58.20 25.40 1.00 4.00 24.90 48.60 21.50 1.10 5.10 26.50 46.90 20.30 0.00 1.10 15.40 52.60 30.90 0.20 1.10 13.80 54.20 30.70 0.00 1.80
  • 15. เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 4. เป็นแหล่งสืบค้นข้อมูลข่าวสารต่างๆ ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 5. ช่วยในการค้นหาสินค้าหรือบริการ ไม่เห็นด้วยที่สุด ไม่เห็นด้วย เฉยๆอยู่ เห็นด้วย เห็นด้วยที่สุด 76 333 202 1 14 123 309 175 11 11 118 321 161 12.20 53.50 32.50 0.20 2.30 19.80 49.70 28.10 1.80 1.80 19.00 51.60 25.90 รวม 622 100.00 สรุปและอภิปรายผล จากการวิจัยในเรื่อง พฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา สามารถอภิปรายผลได้ดังนี้ 1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ผลการศึกษาข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม อาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา พบว่า ผู้ใช้สังคม ออนไลน์ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 20-29 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา ซึ่ง สอดคล้องกับงานวิจัยของ เอมิกา เหมมินทร์ (2556) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการใช้และความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้ จากการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Media) ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า กลุ่ม ตัวอย่าง ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 20-24 ปี 2) พฤติกรรมในการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคมของประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ผลการศึกษาข้อมูลพฤติกรรมในการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคมของประชาชนอาเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ 4 ปีขึ้นไป สูงถึงร้อยละ 27.20 โดย Facebook เป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีการใช้มากที่สุดถึง ร้อยละ 82.50 Smartphone กลายเป็น ช่องทางที่ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 71.90 และประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 29.30 เปิดเครือข่ายสังคมออนไลน์ไว้ตลอด ทั้งวัน ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 31.40 โดยซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ เอมิกา เหมมินทร์ (2556) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการใช้และความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Media) ของประชาชนใน เขตกรุงเทพมหานคร มีการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในช่วงเวลา 18.00-21.00 น.มากที่สุด ประชาชนมีการใช้เครือข่ายสังคม ออนไลน์ 30 นาที -1 ชั่วโมงต่อวันมากที่สุด ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 34.60 ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อโพสต์
  • 16. ข้อความ/รูปภาพมากที่สุด คุณสมบัติของเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 27.70 ชอบมากที่สุดคือมี แอพพลิเคชั่นที่หลากหลาย นอกจากนี้เว็บไซต์เป็นแหล่งหรือสื่อที่ทาให้ประชาชนส่วนใหญ่ร้อยละ 52.30 สนใจใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์มากที่สุด เพราะสามารถเข้าถึงได้ง่าย เข้าถึงได้ทุกที่ ทุกเวลาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่มีอย่าง แพร่หลายทั่วประเทศ ด้วยเหตุนี้เว็บไซต์จึงกลายเป็นแหล่งข้อมูลสาคัญในการค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติม หรือตอบข้อ สงสัยในเรื่องต่างๆ มากที่สุด 3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคมของประชาชนอาเภอ เมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ผลการศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้แอพพลิเคชั่นที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสังคมของ ประชาชนอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ส่วนใหญ่พบว่า ด้านเวลา ทราบข้อมูลข่าวสารสะดวกและรวดเร็ว เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 55.60 ทาให้มีเวลาส่วนตัวลดน้อยลง เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 50.50 ทาให้ความตั้งใจในการทางาน/ เรียนลดลง เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 47.40 พูดคุยกับเพื่อนและครอบครัวลดน้อยลง เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 47.30 ทาให้ ติดต่อสื่อสารกันได้สะดวกรวดเร็วขึ้น เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 52.60 ด้านตนเอง เป็นสื่อในการนาเสนอผลงานของตัวเอง เช่น รูปภาพ วิดีโอต่างๆ เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 51.90 เป็นพื้นที่ระบายอารมณ์และแสดงความคิดเห็น เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 46.80 ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 54.20 อยู่กับหน้าจอเป็นเวลานานอาจเสียสายตา เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 50.50 เป็นช่องทางที่ดีในการหางานทา เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 46.90 ด้านสังคม สามารถแลกเปลี่ยน ข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจร่วมกันได้ เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 54.70 สร้างความสัมพันธ์ที่ดีจากเพื่อนสู่เพื่อนได้ เห็นด้วยอยู่ที่ ร้อยละ 58.20 แบ่งปันความคิดเห็นกับผู้อื่นได้ง่าย เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 58.20 เป็นแหล่งเผยแพร่สื่อที่ไม่เหมาะสม เห็น ด้วยอยู่ที่ร้อยละ 48.60 ก่อให้เกิดอาชญากรรมได้ง่ายขึ้น เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 46.90 ด้านบันเทิง ช่วยให้ผ่อนคลายจาก ความตึงเครียด เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 52.60 เป็นแหล่งความบันเทิง เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 54.20 เป็นแหล่งพูดคุยกับกลุ่ม เพื่อน เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 53.50 เป็นแหล่งสืบค้นข้อมูลข่าวสารต่างๆ เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 49.70 ช่วยในการค้นหา สินค้าหรือบริการ เห็นด้วยอยู่ที่ร้อยละ 51.60 ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1) ควรมีการศึกษาพฤติกรรมการใช้สังคมออนไลน์ ของผู้ใช้บริการในจังหวัดอื่นๆ นอกเหนือจาก จังหวัด ฉะเชิงเทรา ทั้งนี้เพื่อทาให้ได้ภาพรวมที่กว้างขึ้นเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้งานด้านข้อมูลและความคิดเห็นที่มีต่อสังคม ออนไลน์ ของผู้ใช้บริการที่แตกต่างกันหรืออาจจะศึกษาเชิงเปรียบเทียบเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้งานด้านข้อมูลและความ คิดเห็นที่มีต่อสังคมออนไลน์จังหวัดที่แตกต่างกัน 2) ในการวิจัยครั้งต่อไป ควรมีการศึกษาปัจจัยอื่นๆ เพิ่มเติมนอกเหนือจากลักษณะทางประชากรที่ผู้วิจัยได้ ทาการศึกษา เพื่อให้งานวิจัยกว้างขวางและสมบูรณ์มากขึ้น 3) ควรทาการศึกษาปัญหาและผลกระทบของเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีต่อสังคมเพิ่มเติม เพื่อให้งานวิจัยมี ความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้นในเรื่องคุณประโยชน์ของเครือข่ายสังคมออนไลน์ทั้งด้านบวกและด้านลบ 4) การศึกษาวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยศึกษาพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ทั่วไปมิได้มุ่งศึกษาพฤติกรรมการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ ดังนั้นในการศึกษาวิจัยครั้งต่อไปควรมีการใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบ อื่นๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกมากขึ้น
  • 17. เอกสารอ้างอิง เอมิกา เหมมินทร์. (2556). พฤติกรรมการใช้และความคิดเห็นเกี่ยวกับผลที่ได้จากการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Media) ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สถิติประยุกต์), สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพเทพมหานคร. จันทร์ศิลา สีเมฆนอก. (2556). สารวจพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในเขตอาเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัด ฉะเชิงเทรา. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, ฉะเชิงเทรา.