SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
1
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน โรคกรดไหลย้อนห้ามกินอะไร ไม่อยากลาบากกาย(GERD)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาวภัทจิรา หัตถกอง เลขที่ 16 ชั้น ม.6 ห้อง 6
2. นางสาวธีระนาฎ สิทธิชัย เลขที่ 32 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวภัทจิรา หัตถกอง เลขที่ 16 ชั้น ม.6 ห้อง 6
2. นางสาวธีระนาฎ สิทธิชัย เลขที่ 32 ชั้น ม.6 ห้อง 6
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย)
โรคกรดไหลย้อนห้ามกินอะไรไม่อยากลาบากกาย
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ)
(GERD ; Gastro-Esophageal Reflux Disease)
ประเภทโครงงาน วิทยาศาสตร์สุขภาพ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวภัทจิรา หัตถกอง, นางสาวธีระนาฎ สิทธิชัย
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
โ ร ค ก ร ด ไ ห ล ย้ อ น ( GERD ; Gastro-Esophageal Reflux Disease)
พ บ ไ ด้ ตั้ ง แ ต่ เ ด็ ก ท า ร ก ไ ป จ น ถึ ง ผู้ ใ ห ญ่
เป็นภาวะที่น้าย่อยจากกระเพาะอาหารไหลย้อนกลับขึ้นไปในหลอดอาหาร
อาจทาให้เกิดอาการแสบ ร้อนบริเวณหน้าอกหรืออาการขย้อนจนรบกวนชีวิตประจาวันได้
ส า เ ห ตุ ส่ ว น ใ ห ญ่ ม า จ า ก
3
1.ความผิดปกติของหูรูดส่วนปลายหลอดอาหารที่ทาหน้าที่ป้องกันกรดไหลย้อนจากกระเพาะอ
า ห า ร มี ค ว า ม ดั น ข อ ง หู รู ด ต่ า ห รื อ เปิ ด บ่ อ ย ก ว่ า ใ น ค น ป ก ติ
ความผิดปกติเหล่านี้อาจเกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ และยาบางชนิด เช่น
ยารักษาโรคหอบหืดบางตัว 2.ความผิดปกติในการบีบตัวของหลอดอาหาร
ท า ใ ห้ อ า ห า ร ที่ รั บ ป ร ะ ท า น ล ง ช้ า ห รื อ อ า ห า ร ที่ ไ ห ล ย้ อ น ขึ้ น ม า
จ า ก ก ร ะ เพ า ะ อ า ห า ร ค้ า ง อ ยู่ ใ น ห ล อ ด อ า ห า ร น า น ก ว่ า ป ก ติ
3.ค ว า ม ผิ ด ป ก ติ ข อ ง ก า ร บี บ ตั ว ข อ ง ก ร ะ เพ า ะ อ า ห า ร
ท า ใ ห้ อ า ห า ร ค้ า ง อ ยู่ ใ น ก ร ะ เพ า ะ อ า ห า ร น า น ก ว่ า ป ก ติ
ทาให้เพิ่มโอกาสการไหลย้อนของกรดจากกระเพาะอาหารสู่หลอดอาหารมากขึ้น
อาหารประเภทไขมันสูงและ ช็อกโกแลตจะทาให้กระเพาะอาหารบีบตัวลดลง
ดั ง นั้ น ท า ง ผู้ จั ด ท า จึ ง คิ ด ว่ า
หากมีการท านอาห ารที่ถูกต้องจะ สามารถลด อาการกรดไห ลย้อนลงได้
เนื่องจากสาเหตุส่วนใหญ่ เกิดจากการรับประทานอาหารและระบบย่อยอาหารในร่างกาย
วัตถุประสงค์
1.ลดจานวนผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อน
2.เพื่อให้ผู้ป่วยมีการดาเนินชีวิตที่ดีขึ้น
3.เพื่อป้องกันความเสี่ยงเป็นโรคกรดไหลย้อน
ขอบเขตโครงงาน
1.ผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อน
2.เด็กปกติ
3.ผู้ใหญ่ปกติ
4.รับประทานอาหารที่เหมือนกันจานวน 2 สัปดาห์
หลักการและทฤษฎี
4
โรคกรดไหลย้อน (ภาษาอังกฤษ – Gastro-Esophageal Reflux Disease; GERD)
คือ ภาวะที่มีกรด หรือน้าย่อยในกระเพาะอาหาร ไหลย้อนขึ้นมา บริเวณหลอดอาหาร
ซึ่งหลอดอาหาร เป็นอวัยวะที่ไม่ทนต่อกรด จึงทาให้เกิดการอักเสบ ของหลอดอาหาร
โดยปกติแล้ว หลอดอาหาร จะมีการบีบตัวไล่อาหารลงด้านล่าง และ หู รูด
ทาหน้าที่ป้องกันการไหลย้อนของน้าย่อย กรด หรืออาหาร ไม่ให้ไหลย้อนขึ้นมา
บริเวณหลอดอาหาร
1. อาการทางคอหอยและหลอดอาหาร
1.1 เกิดอาการแสบร้อนบริเวณกลางหน้าอกและลิ้นปี่
บางครั้งอาจร้าวไปจนถึงบริเวณคอได้ซึ่งจะเป็นมากขึ้น
ภายหลังรับประทานอาหารมื้อหนักการโน้มตัวไปข้างหน้า การยกของหนัก
หรือการนอนงาย
1.2 รู้สึกคล้ายมีก้อนอยู่ในคอ หรือแน่นคอ
1.3 กลืนลาบาก กลืนเจ็บ หรือกลืนติดขัด คล้ายสะดุดสิ่งแปลกปลอมในคอ
1.4 เจ็บคอ แสบช่องคอ หรือแสบลิ้นเรื้อรัง โดยเฉพาะในตอนเช้า
1.5 รู้สึกเหมือนมีรสขมของน้าดี หรือรสเปรี้ยวของกรดในคอหรือปาก
1.6 มีเสมหะอยู่ในลาคอหรือระคายคอตลอดเวลา
1.7 เรอบ่อย คลื่นไส้ คล้ายมีอาหารหรือน้าย่อยไหลย้อนขึ้นมาในอกหรือลาคอ
1.8 รู้สึกจุกแน่นอยู่ในหน้าอก คล้ายอาหารไม่ย่อย
1.9 มีน้าลายมากผิดปกติมีกลิ่นปากเสียวฟัน หรือมีฟันผุได้
2. อาการทางกล่องเสียงและหลอดลม
2.1 เสียงแหบเรื้อรัง หรือ แหบเฉพาะตอนเช้า หรือมีเสียงผิดปกติไปจากเดิม 2.2
ไอเรื้อรัง โดยเฉพาะหลังรับประทานอาหาร หรือขณะนอน
2.3 ไอ หรือรู้สึกสาลักน้าลายหรือหายใจไม่ออกในเวลากลางคืน
2.4 อาหารหอบหืดที่เคยเป็นอยู่แย่ลง หรือไม่ดีขึ้น
2.5 เจ็บหน้าอก
2.6 เป็นโรคปอดอักเสบ เป็นๆ หายๆ
5
3. อาการทางจมูกและหู
3.1 คัน จาม คัดจมูกน้ามูกไหลหรือมีน้ามูก หรือเสมหะไหลลงคอ
3.2 หูอื้อ เป็นๆ หายๆ หรือ ปวดหู
อาหารที่คนเป็นกรดไหลย้อนควรหลีกเลี่ยง
1. อาหารไขมันสูงผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อนควรงดอาหารไขมันสูง เช่น อาหารทอด ๆ
อาหารมัน ช็อกโกแลต ฟาสต์ฟู้ด อาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง เช่น กะทิ นม เนย ชีส
ไ อ ศ ก รี ม ห รื อ ไ ข มั น จ า ก เ นื้ อ สั ต ว์ เ ป็ น ต้ น
เนื่องจากไขมันจากอาหารเหล่านี้จะไปรวมกับกรดในกระเพาะอาหาร
ทาให้เกิดอาการจุก แน่น หรือร้อนที่กลางอก
2. อาหารที่มีแก๊สมาก
ทั้งน้าอัดลม ชา กาแฟ โซดา เครื่องดื่มชูกาลัง อาหารที่มีรสเปรี้ยวจัด อาหารรสเผ็ดจัด
ถั่ว เพราะเป็นอาหารที่กระตุ้นการสร้างน้าย่อยมากขึ้น
3. น้าส้มสายชูน้าส้มสายชูจัด เป็นเครื่องป รุงรสที่มีกรด ม ากเช่นกัน
ดังนั้นผู้ป่วยโรค กรด ไห ลย้อนก็ไม่ค วรเติม น้าส้มสายชูลงในอาห าร
เพราะจะเป็นการเพิ่มกรดในกระเพาะอาหารมากขึ้น
4. เครื่องดื่มแอลกอฮอลเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไม่ว่าจะเป็นเบียร์ สุรา ไวน์ ค็อกเทล
ห รื อ เ ค รื่ อ ง ดื่ ม ที่ ผ ส ม แ อ ล ก อ ฮ อ ล์ ทุ ก ช นิ ด
เพราะเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เหล่านี้มีฤทธิ์กระตุ้นให้กล้ามเนื้อหูรูดของหลอดอาหารเปิด
ออก ทาให้กรดจากกระเพาะอาหารไหลย้อนกลับไปที่หลอดอาหารได้ง่ายขึ้น
5 .
ผลไม้ที่มีกรดมากผลไม้ที่คนเป็นกรดไหลย้อนห้ามกินหรือควรเลี่ยงไว้เป็นดีจะเป็นกลุ่มผ
ลไม้ที่มีกรด มาก เช่น ส้ม องุ่น มะนาว เลมอน มะเขือเท ศ สับ ปะรด
หรือแม้กระทั่งน้าผลไม้รสเปรี้ยวจัดและซอสมะเขือเทศก็ควรหลีกเลี่ยง
6. ผักที่มีกรดแก๊สมากเช่น หอมหัวใหญ่ดิบ กระเทียม พริก พริกไทย หอมแดง
เปปเปอร์มินต์ ห รือสะระแหน่ รวมทั้งผักดิบ ทุกชนิดก็ควรเลี่ยงนะคะ
เพ ร า ะ ผั ก เห ล่ า นี้ จ ะ ไ ป เพิ่ ม ก ร ด แ ก๊ ส ใ น ก ร ะ เพ า ะ อ า ห า ร
ทาให้เกิดอาการแสบร้อนกลางอก
6
7. อาหารหมักดองอาหารหมักดองอย่างปลาร้า หน่อไม้ดอง ผักกาดดอง ผลไม้ดอง
ผลไม้แช่อิ่ม กิมจิ ซูชิบางชนิดที่มีผักดอง ก็มีส่วนเพิ่มแก๊สในกระเพาะอาหาร
ก่อให้เกิดอาการจุดเสียดแน่นท้อง
8. อา ห าร เสริม ไขมันสูงแม้แต่อาห ารเสริม บ า งชนิด ก็ค วรเลี่ยงค่ ะ
โดยคนป็นกรดไหลย้อนจะไม่แนะนาให้กินน้ามันตับปลา สารสกัดจากกระเทียม
วิตามินอี หรือวิตามินซีก็เสี่ยงเพิ่มกรดในกระเพาะ
9. ห ม า ก ฝ รั่ ง ก า ร เคี้ ย ว ห ม า ก ฝ รั่ ง จ ะ เพิ่ ม ก า ร ห ลั งน้ า ล า ย
ท า ใ ห้ เ ร า ต้ อ ง ก ลื น น้ า ล า ย ล ง ท้ อ ง ม า ก ขึ้ น
ซึ่งก็เท่ากับจะได้กลืนลมลงกระเพาะอาหารมากขึ้นด้วย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.ตั้งหัวข้อที่ต้องการศึกษา
2.ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3.จัดทาโครงร่างโครงงาน
4.ลงมือปฏิบัติ
5.ทดสอบและปรับปรุง
6.นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.กระดาษ A4
3.อุปกรณ์เครื่องเขียน
งบประมาณ
ไม่เสียงบประมาณในการจัดทาโครงงาน
7
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช
อบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน / / ภัทจิรา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้
อมูล
/ / ภัทจิรา
3 จัดทาโครงร่างงาน / / / ภัทจิรา
4 ปฏิบัติการสร้างโคร
งงาน
/ / / ภัทจิรา,
ธีระนาฎ
5 ปรับปรุงทดสอบ / / ธีระนาฎ
6 การทาเอกสารรายง
าน
/ / / ธีระนาฎ
7 ประเมินผลงาน / ธีระนาฎ
8 นาเสนอโครงงาน / ภัทจิรา,
ธีระนาฎ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อนมีอาการดีขึ้น
2.ผู้ป่วยกรดไหลย้อนสามารถดูแลตนเองและรับประทานอาหารที่ถูกต้อง
3.ลดความเสี่ยงโรคกรดไหลย้อนในเด็กและผู้ใหญ่
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2.บ้านของผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อน
8
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
2.กลุ่มสาระสุขศึกษา
3.กลุ่มสาระคอมพิวเตอร์
แหล่งอ้างอิง
1. https://health.kapook.com/view176443.html
2. https://www.bumrungrad.com/th/digestive-diseases-gi-center-treatment-
bangkok-thailand/conditions/gerd-gastroesophageal-reflux-disease

More Related Content

Similar to Xxx66666

อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดUsableLabs
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
ความลับของจมูกข้าว
ความลับของจมูกข้าวความลับของจมูกข้าว
ความลับของจมูกข้าวSakdinon Jaikanong
 
ความลับของจมูกข้าว
ความลับของจมูกข้าวความลับของจมูกข้าว
ความลับของจมูกข้าวSakdinon Jaikanong
 
ความล บของน ำซาวข_าว
ความล บของน ำซาวข_าวความล บของน ำซาวข_าว
ความล บของน ำซาวข_าวSakdinon Jaikanong
 
ความล บของน ำซาวข_าว
ความล บของน ำซาวข_าวความล บของน ำซาวข_าว
ความล บของน ำซาวข_าวSakdinon Jaikanong
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน24LIFEYES
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610Pichnaree Suta
 
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติPostharvest Technology Innovation Center
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารWan Ngamwongwan
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectMaryW6
 

Similar to Xxx66666 (20)

อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
 
2560 project 9,22
2560 project 9,222560 project 9,22
2560 project 9,22
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
ความลับของจมูกข้าว
ความลับของจมูกข้าวความลับของจมูกข้าว
ความลับของจมูกข้าว
 
ความลับของจมูกข้าว
ความลับของจมูกข้าวความลับของจมูกข้าว
ความลับของจมูกข้าว
 
ความล บของน ำซาวข_าว
ความล บของน ำซาวข_าวความล บของน ำซาวข_าว
ความล บของน ำซาวข_าว
 
ความล บของน ำซาวข_าว
ความล บของน ำซาวข_าวความล บของน ำซาวข_าว
ความล บของน ำซาวข_าว
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
 
C-Moocy
C-MoocyC-Moocy
C-Moocy
 
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
โรคแผลในกระเพราะอาหารที่เกิดจากบุหรี่
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหารโรคแผลในกระเพาะอาหาร
โรคแผลในกระเพาะอาหาร
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 
Obesity
ObesityObesity
Obesity
 
Obesity
ObesityObesity
Obesity
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 

Xxx66666

  • 1. 1 รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน โรคกรดไหลย้อนห้ามกินอะไร ไม่อยากลาบากกาย(GERD) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาวภัทจิรา หัตถกอง เลขที่ 16 ชั้น ม.6 ห้อง 6 2. นางสาวธีระนาฎ สิทธิชัย เลขที่ 32 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวภัทจิรา หัตถกอง เลขที่ 16 ชั้น ม.6 ห้อง 6 2. นางสาวธีระนาฎ สิทธิชัย เลขที่ 32 ชั้น ม.6 ห้อง 6 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) โรคกรดไหลย้อนห้ามกินอะไรไม่อยากลาบากกาย ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) (GERD ; Gastro-Esophageal Reflux Disease) ประเภทโครงงาน วิทยาศาสตร์สุขภาพ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวภัทจิรา หัตถกอง, นางสาวธีระนาฎ สิทธิชัย ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน โ ร ค ก ร ด ไ ห ล ย้ อ น ( GERD ; Gastro-Esophageal Reflux Disease) พ บ ไ ด้ ตั้ ง แ ต่ เ ด็ ก ท า ร ก ไ ป จ น ถึ ง ผู้ ใ ห ญ่ เป็นภาวะที่น้าย่อยจากกระเพาะอาหารไหลย้อนกลับขึ้นไปในหลอดอาหาร อาจทาให้เกิดอาการแสบ ร้อนบริเวณหน้าอกหรืออาการขย้อนจนรบกวนชีวิตประจาวันได้ ส า เ ห ตุ ส่ ว น ใ ห ญ่ ม า จ า ก
  • 3. 3 1.ความผิดปกติของหูรูดส่วนปลายหลอดอาหารที่ทาหน้าที่ป้องกันกรดไหลย้อนจากกระเพาะอ า ห า ร มี ค ว า ม ดั น ข อ ง หู รู ด ต่ า ห รื อ เปิ ด บ่ อ ย ก ว่ า ใ น ค น ป ก ติ ความผิดปกติเหล่านี้อาจเกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ และยาบางชนิด เช่น ยารักษาโรคหอบหืดบางตัว 2.ความผิดปกติในการบีบตัวของหลอดอาหาร ท า ใ ห้ อ า ห า ร ที่ รั บ ป ร ะ ท า น ล ง ช้ า ห รื อ อ า ห า ร ที่ ไ ห ล ย้ อ น ขึ้ น ม า จ า ก ก ร ะ เพ า ะ อ า ห า ร ค้ า ง อ ยู่ ใ น ห ล อ ด อ า ห า ร น า น ก ว่ า ป ก ติ 3.ค ว า ม ผิ ด ป ก ติ ข อ ง ก า ร บี บ ตั ว ข อ ง ก ร ะ เพ า ะ อ า ห า ร ท า ใ ห้ อ า ห า ร ค้ า ง อ ยู่ ใ น ก ร ะ เพ า ะ อ า ห า ร น า น ก ว่ า ป ก ติ ทาให้เพิ่มโอกาสการไหลย้อนของกรดจากกระเพาะอาหารสู่หลอดอาหารมากขึ้น อาหารประเภทไขมันสูงและ ช็อกโกแลตจะทาให้กระเพาะอาหารบีบตัวลดลง ดั ง นั้ น ท า ง ผู้ จั ด ท า จึ ง คิ ด ว่ า หากมีการท านอาห ารที่ถูกต้องจะ สามารถลด อาการกรดไห ลย้อนลงได้ เนื่องจากสาเหตุส่วนใหญ่ เกิดจากการรับประทานอาหารและระบบย่อยอาหารในร่างกาย วัตถุประสงค์ 1.ลดจานวนผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อน 2.เพื่อให้ผู้ป่วยมีการดาเนินชีวิตที่ดีขึ้น 3.เพื่อป้องกันความเสี่ยงเป็นโรคกรดไหลย้อน ขอบเขตโครงงาน 1.ผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อน 2.เด็กปกติ 3.ผู้ใหญ่ปกติ 4.รับประทานอาหารที่เหมือนกันจานวน 2 สัปดาห์ หลักการและทฤษฎี
  • 4. 4 โรคกรดไหลย้อน (ภาษาอังกฤษ – Gastro-Esophageal Reflux Disease; GERD) คือ ภาวะที่มีกรด หรือน้าย่อยในกระเพาะอาหาร ไหลย้อนขึ้นมา บริเวณหลอดอาหาร ซึ่งหลอดอาหาร เป็นอวัยวะที่ไม่ทนต่อกรด จึงทาให้เกิดการอักเสบ ของหลอดอาหาร โดยปกติแล้ว หลอดอาหาร จะมีการบีบตัวไล่อาหารลงด้านล่าง และ หู รูด ทาหน้าที่ป้องกันการไหลย้อนของน้าย่อย กรด หรืออาหาร ไม่ให้ไหลย้อนขึ้นมา บริเวณหลอดอาหาร 1. อาการทางคอหอยและหลอดอาหาร 1.1 เกิดอาการแสบร้อนบริเวณกลางหน้าอกและลิ้นปี่ บางครั้งอาจร้าวไปจนถึงบริเวณคอได้ซึ่งจะเป็นมากขึ้น ภายหลังรับประทานอาหารมื้อหนักการโน้มตัวไปข้างหน้า การยกของหนัก หรือการนอนงาย 1.2 รู้สึกคล้ายมีก้อนอยู่ในคอ หรือแน่นคอ 1.3 กลืนลาบาก กลืนเจ็บ หรือกลืนติดขัด คล้ายสะดุดสิ่งแปลกปลอมในคอ 1.4 เจ็บคอ แสบช่องคอ หรือแสบลิ้นเรื้อรัง โดยเฉพาะในตอนเช้า 1.5 รู้สึกเหมือนมีรสขมของน้าดี หรือรสเปรี้ยวของกรดในคอหรือปาก 1.6 มีเสมหะอยู่ในลาคอหรือระคายคอตลอดเวลา 1.7 เรอบ่อย คลื่นไส้ คล้ายมีอาหารหรือน้าย่อยไหลย้อนขึ้นมาในอกหรือลาคอ 1.8 รู้สึกจุกแน่นอยู่ในหน้าอก คล้ายอาหารไม่ย่อย 1.9 มีน้าลายมากผิดปกติมีกลิ่นปากเสียวฟัน หรือมีฟันผุได้ 2. อาการทางกล่องเสียงและหลอดลม 2.1 เสียงแหบเรื้อรัง หรือ แหบเฉพาะตอนเช้า หรือมีเสียงผิดปกติไปจากเดิม 2.2 ไอเรื้อรัง โดยเฉพาะหลังรับประทานอาหาร หรือขณะนอน 2.3 ไอ หรือรู้สึกสาลักน้าลายหรือหายใจไม่ออกในเวลากลางคืน 2.4 อาหารหอบหืดที่เคยเป็นอยู่แย่ลง หรือไม่ดีขึ้น 2.5 เจ็บหน้าอก 2.6 เป็นโรคปอดอักเสบ เป็นๆ หายๆ
  • 5. 5 3. อาการทางจมูกและหู 3.1 คัน จาม คัดจมูกน้ามูกไหลหรือมีน้ามูก หรือเสมหะไหลลงคอ 3.2 หูอื้อ เป็นๆ หายๆ หรือ ปวดหู อาหารที่คนเป็นกรดไหลย้อนควรหลีกเลี่ยง 1. อาหารไขมันสูงผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อนควรงดอาหารไขมันสูง เช่น อาหารทอด ๆ อาหารมัน ช็อกโกแลต ฟาสต์ฟู้ด อาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง เช่น กะทิ นม เนย ชีส ไ อ ศ ก รี ม ห รื อ ไ ข มั น จ า ก เ นื้ อ สั ต ว์ เ ป็ น ต้ น เนื่องจากไขมันจากอาหารเหล่านี้จะไปรวมกับกรดในกระเพาะอาหาร ทาให้เกิดอาการจุก แน่น หรือร้อนที่กลางอก 2. อาหารที่มีแก๊สมาก ทั้งน้าอัดลม ชา กาแฟ โซดา เครื่องดื่มชูกาลัง อาหารที่มีรสเปรี้ยวจัด อาหารรสเผ็ดจัด ถั่ว เพราะเป็นอาหารที่กระตุ้นการสร้างน้าย่อยมากขึ้น 3. น้าส้มสายชูน้าส้มสายชูจัด เป็นเครื่องป รุงรสที่มีกรด ม ากเช่นกัน ดังนั้นผู้ป่วยโรค กรด ไห ลย้อนก็ไม่ค วรเติม น้าส้มสายชูลงในอาห าร เพราะจะเป็นการเพิ่มกรดในกระเพาะอาหารมากขึ้น 4. เครื่องดื่มแอลกอฮอลเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ไม่ว่าจะเป็นเบียร์ สุรา ไวน์ ค็อกเทล ห รื อ เ ค รื่ อ ง ดื่ ม ที่ ผ ส ม แ อ ล ก อ ฮ อ ล์ ทุ ก ช นิ ด เพราะเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เหล่านี้มีฤทธิ์กระตุ้นให้กล้ามเนื้อหูรูดของหลอดอาหารเปิด ออก ทาให้กรดจากกระเพาะอาหารไหลย้อนกลับไปที่หลอดอาหารได้ง่ายขึ้น 5 . ผลไม้ที่มีกรดมากผลไม้ที่คนเป็นกรดไหลย้อนห้ามกินหรือควรเลี่ยงไว้เป็นดีจะเป็นกลุ่มผ ลไม้ที่มีกรด มาก เช่น ส้ม องุ่น มะนาว เลมอน มะเขือเท ศ สับ ปะรด หรือแม้กระทั่งน้าผลไม้รสเปรี้ยวจัดและซอสมะเขือเทศก็ควรหลีกเลี่ยง 6. ผักที่มีกรดแก๊สมากเช่น หอมหัวใหญ่ดิบ กระเทียม พริก พริกไทย หอมแดง เปปเปอร์มินต์ ห รือสะระแหน่ รวมทั้งผักดิบ ทุกชนิดก็ควรเลี่ยงนะคะ เพ ร า ะ ผั ก เห ล่ า นี้ จ ะ ไ ป เพิ่ ม ก ร ด แ ก๊ ส ใ น ก ร ะ เพ า ะ อ า ห า ร ทาให้เกิดอาการแสบร้อนกลางอก
  • 6. 6 7. อาหารหมักดองอาหารหมักดองอย่างปลาร้า หน่อไม้ดอง ผักกาดดอง ผลไม้ดอง ผลไม้แช่อิ่ม กิมจิ ซูชิบางชนิดที่มีผักดอง ก็มีส่วนเพิ่มแก๊สในกระเพาะอาหาร ก่อให้เกิดอาการจุดเสียดแน่นท้อง 8. อา ห าร เสริม ไขมันสูงแม้แต่อาห ารเสริม บ า งชนิด ก็ค วรเลี่ยงค่ ะ โดยคนป็นกรดไหลย้อนจะไม่แนะนาให้กินน้ามันตับปลา สารสกัดจากกระเทียม วิตามินอี หรือวิตามินซีก็เสี่ยงเพิ่มกรดในกระเพาะ 9. ห ม า ก ฝ รั่ ง ก า ร เคี้ ย ว ห ม า ก ฝ รั่ ง จ ะ เพิ่ ม ก า ร ห ลั งน้ า ล า ย ท า ใ ห้ เ ร า ต้ อ ง ก ลื น น้ า ล า ย ล ง ท้ อ ง ม า ก ขึ้ น ซึ่งก็เท่ากับจะได้กลืนลมลงกระเพาะอาหารมากขึ้นด้วย วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.ตั้งหัวข้อที่ต้องการศึกษา 2.ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3.จัดทาโครงร่างโครงงาน 4.ลงมือปฏิบัติ 5.ทดสอบและปรับปรุง 6.นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.กระดาษ A4 3.อุปกรณ์เครื่องเขียน งบประมาณ ไม่เสียงบประมาณในการจัดทาโครงงาน
  • 7. 7 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช อบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน / / ภัทจิรา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้ อมูล / / ภัทจิรา 3 จัดทาโครงร่างงาน / / / ภัทจิรา 4 ปฏิบัติการสร้างโคร งงาน / / / ภัทจิรา, ธีระนาฎ 5 ปรับปรุงทดสอบ / / ธีระนาฎ 6 การทาเอกสารรายง าน / / / ธีระนาฎ 7 ประเมินผลงาน / ธีระนาฎ 8 นาเสนอโครงงาน / ภัทจิรา, ธีระนาฎ ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อนมีอาการดีขึ้น 2.ผู้ป่วยกรดไหลย้อนสามารถดูแลตนเองและรับประทานอาหารที่ถูกต้อง 3.ลดความเสี่ยงโรคกรดไหลย้อนในเด็กและผู้ใหญ่ สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2.บ้านของผู้ป่วยโรคกรดไหลย้อน