SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ความรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
กุลจิรา บูรณากาญจน์ ม.6/1 เลขที่ 1
2
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ลกษณะเด่นของคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้มีจุดเด่น 4ประการ
เพื่อทดแทนข้อจากัดของมนุษย์ เรียกว่า4Sspecial ดังนี้
1. หน่วยเก็บ (Storage)
หมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลจานวนมากและเป็นเวลานาน นับเป็น
จุดเด่นทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทางานแบบอัตโนมัติของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ทั้งเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องด้วย
2. ความเร็ว (Speed)
หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล (Processing Speed)
โดยใช้เวลาน้อย เป็นจุดเด่นทางโครงสร้างที่ผู้ใช้ทั่วไปมีส่วนเกี่ยวข้องน้อย
ที่สุด เป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สาคัญส่วนหนึ่ง
เช่นกัน
3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting)
หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูลตามลาดับขั้นตอนได้อย่าง
ถูกต้อง
และต่อเนื่องอย่างอัตโนมัติ โดยมนุษย์มีส่วนเกี่ยวข้องเฉพาะในขั้นตอนการ
กาหนด
โปรแกรมคาสั่งและข้อมูลก่อนการประมวลผลเท่านั้น
4. ความน่าเชื่อถือ (Sure)
หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้อง ความ
น่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์
ความสามารถนี้เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคาสั่งและข้อมูลที่มนุษย์กาหนดให้กับ
เครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง
กล่าวคือ หากมนุษย์ป้อนข้อมูลที่ไม่ถูกต้องให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ย่อมได้
ผลลัพธ์ที่ไม่ถูกต้องด้วยเช่น
วิวัฒนาการก่อนจะมาเป็นคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์นั้นมีวิวัฒนาการที่รวดเร็วมาก ตั้งแต่ยุคสมัยดึกดาบรรพ์เป็น
ต้นมา มนุษย์เรามีความพยายามที่จะคิดค้นเครื่องมือให้มาช่วยในการคานวณ
และการนับ ตั้งแต่เริ่มต้นใช้นิ้วมือนับ จนมาใช้ก้อนกรวด หิน มนุษย์จึง
คิดค้นวิธีการที่ง่ายกว่านี้ จนกลายมาเป็นกลไกที่ใช้ในการคานวณ จน
วิวัฒนาการมาเป็นคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน โดยแบ่งเป็น 4 ยุค ดังนี้
ยุคก่อนเครื่องจักรกล (Premachanical) (พ.ศ. 2497-
2501) คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสุญญากาศ (Vacuum
tube) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องยังมีขนาดใหญ่มาก ใช้
กระแสไฟฟ้าจานวนมาก ทาให้เครื่องมีความร้อนสูงจึงมักเกิด
ข้อผิดพลาดง่าย คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ UNIVAC I ,
IBM 600
ยุคเครื่องจักรกล (Mechanical) (พ.ศ. 2502-2507)
คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ทรานซิสเตอร์ (Transistor) เป็นวงจร
อิเล็กทรอนิกส์ และใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วยความจา
คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กกว่ายุคแรก ต้นทุนต่ากว่า ใช้
กระแสไฟฟ้าน้อยกว่า และมีความแม่นยา
ยุคเครื่องจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electromechanical)
(พ.ศ. 2508-2513) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจรไอซี
(Integrated Circuit) เป็นสารกึ่งตัวนาที่สามารถบรรจุ
วงจรทางตรรกะไว้แล้วพิมพ์บนแผ่นซิลิกอน (Silicon) เรียกว่า
"ชิป"
ยุคเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic) (พ.ศ. 2514-
2523) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจร LSI (Large-Scale
Integrated Circuit) เป็นการรวมวงจรไอซีจานวนมากลง
ในแผ่นซิลิกอนชิป 1 แผ่น สามารถบรรจุได้มากกว่า 1 ล้าน
วงจร ด้วยเทคโนโลยีใหม่นี้ทาให้เกิดแนวคิดในการบรรจุวงจรที่
สาคัญสาหรับการทางาน พื้นฐานของคอมพิวเตอร์นั่นคือ CPU
ลงชิปตัวเดียว เรียกว่า "ไมโครโปรเชสเซอร์
3
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุค
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (พ.ศ. 2497-2501)
อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2497 ถึง พ.ศ. 2501 เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศ (Vacuum tube)ซึ่งใช้
กาลังไฟฟ้าสูงมาก ถึงแม้จะมีระบบระบายความร้อนที่ดี แต่จะมีปัญหาในเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย การสั่งงานใช้
ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากและซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ของยุคนี้มีขนาดใหญ่ เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค
(ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 (พ.ศ. 2502-2507)
คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ทรานซิสเตอร์ (Transistor) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วยความจา
คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กกว่ายุคแรก ต้นทุนต่ากว่า ใช้กระแสไฟฟ้าและมีความแม่นยามากกว่า มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสารองในรูปแบบ
ของสื่อแม่เหล็ก สามารถเขียนโปรแกรมระดับสูงได้
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (พ.ศ. 2508-2513)
คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ วงจรไอซี (Integrated Circuit) เป็นสารกึ่งตัวนาที่สามารถบรรจุวงจรทางตรรกะไว้แล้วพิมพ์บน
แผ่นซิลิกอน (Silicon) เรียกว่า "ชิป"
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 (พ.ศ. 2514-2523)
คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ วงจร LSI (Large Scale Integration) เป็นการรวมวงจรไอซีจานวนมากลงในแผ่นซิลิกอน
ชิป 1 แผ่น สามารถบรรจุได้มากกว่า 1 ล้านวงจร ด้วยเทคโนโลยีใหม่นี้ทาให้เกิดแนวคิดในการบรรจุวงจรที่สาคัญสาหรับการ
ทางาน พื้นฐานของคอมพิวเตอร์นั่นคือ CPU ลงชิปตัวเดียว เรียกว่า "ไมโครโพรเซสเซอร์"
คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 (พ.ศ. 2524-ปัจจุบัน)
คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจรVLSI (Very-large-scale integration) เป็นการพัฒนาไมโครโพรเซสเซอร์ให้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น
ENIAC คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกถูกพัฒนาขึ้น
โดยหน่วยงานวิจัยทางทหารของกองทัพบก
สหรัฐอเมริกา
ในปี ค.ศ. 1946 หรือประมาณ 66 ปีมาแล้ว
4
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1.ประโยชน์ด้านการศึกษา ใช้เพื่องานด้านการเรียนการสอนในหลาย
รูปแบบ เช่นการนาบทเรียน การผลิตสื่อการสอน การใช้ซีดีรอมสาหรับการ
เรียนรู้ เกมเพื่อการศึกษา หรือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
2.ด้านความบันเทิง เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อความสนุกสนานบันเทิง
เช่น เล่นเกม ฟังเพลงชมภาพยนต์
3.ด้านการเงิน การธนาคาร ใช้ในการเบิก – ถอนเงินผ่านATM การโอน
เงินด้วยระบบด้วยอัตโนมัติโดยโอนเงินจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยผ่าน
ระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ การดูข้อมูลตลาดหุ้นการทากราฟแสดงยอดขาย
4.ด้านการสื่อสารและคมนาคม ใช้ในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
สื่อสารถ่ายทอดผ่านดาวเทียมการติดต่อสื่อสารผ่านโทรศัพท์ การคมนาคม
ทางเรือ เครื่องบิน
และรถไฟฟ้า
5.ด้านศิลปะและการออกแบบ เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวาดรูป
การ์ตูนออกแบบงานและการสร้างภาพกราฟิกหรือการตกแต่งภาพใน
คอมพิวเตอร์
6.ด้านการแพทย์์ ปัจจุบันมีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยงานด้านการแพทย์
หลายด้าน
เช่น การเก็บประวัติคนไข้ การใช้ทดลองประกอบการวินิจฉันของแพทย์ใช้ใน
การตรวจเลือก ตรวจปัสสาวะ การผ่าตัดหัวใจการตรวจสอบห้องพักผู้ป่วยว่า
ว่างหรือไม่ การควบคุมแสงเลเซอร์การเอ็กซ์เรย์ การตรวจคลื่อนสมองคลื่น
หัวใจ เป็นต้น
7.ด้านวิทยาศาสตร์และเคมี ใช้ในการวิเคราะห์สูตรทางเคมีการคานวณ
สูตรทางวิทยาศาสตร์การค้นคว้าทดลองในห้องวิทยาศาสตร์ การคานวณ
เกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาลและการเกิดปรากฏการณ์เกี่ยวกับดวงดาวต่างๆ
คอมพิวเตอร์ในหน่วยงานของรัฐ คอมพิวเตอร์ช่วยใน
การทาทะเบียนราษฎร์ ช่วยในการนับคะแนนการเลือกตั้ง
และรวบรวมเพื่อประกาศผลการคิดภาษาอากร การบริหาร
ทั่วไป การสวัสดิการต่างๆ การรวบรวมข้อมูลและสถิติ การ
บริหารงาน การทาสาธารณูปโภค ในการทหารอาจจะใช้
ควบคุมการยิงจรวดนาวิถี การยิงปืนใหญ่ การเดินเรือรบ
เป็นต้น
การใช้คอมพิวเตอร์ในวงการอุตสาหกรรม
ในวงการอุตสาหกรรมนับได้ว่าคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามี
บทบาทเป็นอย่างมาก ตั้งแต่การวางแผนการผลิต
กาหนดเวลาการผลิต จนกระทั่งถึงการผลิตสินค้า ควบคุม
ระบบ การผลิตทั้งหมด
ในรายงานทางอุตสาหกรรมได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ใน
การควบคุมการ ทางานของเครื่องจักร เช่น การเจาะ ตัด
ไส กลึง เป็นต้น ตลอดจนโรงงานผลิตรถยนต์ ก็จะใช้
หุ่นยนต์คอมพิวเตอร์ในการทาสี พ่นสี รวมถึงการ
ประกอบรถยนต์ เป็นต้น
การใช้คอมพิวเตอร์ในธุรกิจธนาคาร
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทในการบริหาร และ
การให้บริการในด้านธุรกิจธนาคาร ทาให้ธุรกิจธนาคาร
เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว ซึ่งจุดหลักของธนาคารคือ การ
ให้บริการแก่ลูกค้าที่มาติดต่อด้วยความสะดวก รวดเร็ว
ถูกต้อง จึงมีการนาระบบ On-Line เข้ามาใช้กันอย่าง
กว้างขวาง
5
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจสายการบิน
สายการบินทั่วโลก นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการให้กับ
ลูกค้าหรือผู้โดยสาร เช่น การสารองที่นั่งตารางเที่ยวบิน นอกจากนี้ยังใช้
ในการควบคุมการบินต่างๆ ได้อีกด้วย เช่น ระบบควบคุมการเจรจาทาง
อากาศที่ช่วยอานวยความสะดวกในการจัดระเบียบของเครื่องบินที่บินต่าง
เวลา ต่างความสูงหรือต่างทิศทางกันของเครื่องบิน และใช้ควบคุมใน
หอบังคับการบินด้วย
คอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา
คอมพิวเตอร์ได้ถูกนามาใช้ในสถานศึกษาอย่างแพร่หลาย อาจ
แบ่งออกเป็นการใช้งานเพื่อใช้ในการจัดการการศึกษา และใช้ในการเรียน
การสอน
คอมพิวเตอร์ในงานวิทยาศาสตร์
ได้มีการนาเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยวิเคราะห์ และตรวจสอบ
ข้อมูลต่างๆ ซึ่งมีความแม่นยาถูกต้องและน่าเชื่อถือ ช่วยในการทดลองและ
วิจัยทางวิทยาศาสตร์ คานวณและจาลองแบบ เพื่อสร้างผลงานทาง
วิทยาศาสตร์ในด้านต่างๆ เช่น เคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา นิวเคลียร์ การ
สารวจอวกาศ การสื่อสารผ่านดาวเทียม เป็นต้น
คอมพิวเตอร์กับงานทางด้านการนาเข้าและส่งออกสินค้า
การนาเข้าและส่งออกสินค้า(import/export) เป็นการนา
คอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ เช่น กรณีของพิธีการศุลกากรของกรมศุลกากร
โดยนาระบบ EDI (Electronic Data Interchange) เพื่อทา
ให้ขั้นตอนการออกเอกสารเป็นไปได้ง่ายยิ่งขึ้น ช่วยให้ผู้ประกอบการ
ประหยัดค่าใช้จ่ายและลดเวลาได้เป็นอย่างมาก เช่น การบันทึกข้อมูลใบ
ขนสินค้า เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเบื้องต้น
ประเภทของคอมพิวเตอร์
จาแนกตามลักษณะการใช้งาน
คอมพิวเตอร์ที่แบ่งตามกลุ่มการใช้
งานนี้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท
คือ
แบบใช้งานทั่วไป
เป็นคอมพิวเตอร์กลุ่มที่เราพบเห็นได้
ในการทางานทั่วไป เช่น ตามบ้านหรือ
สานักงาน อาคาร
ห้างร้าน บริษัททั่วไป ซึ่งเป็นการใช้งานแบบ
เอนกประสงค์ ผู้ใช้งานสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้กับงานที่ค่อนข้างหลากหลาย
เช่น งานด้านสานักงาน การแพทย์และ
วิทยาศาสตร์ หรือใช้สาหรับดูหนัง ฟังเพลง
ฯลฯ
คอมพิวเตอร์กลุ่มนี้เป็นที่นิยมใช้กัน
อย่างแพร่หลาย มักมีราคาถูกและหาซื้อได้
ทั่วไป อีกทั้งค่า
บารุงรักษาจะมีราคาต่ากว่าและไม่จาเป็นต้อง
ใช้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะมาดูแล
แบบใช้เฉพาะ
เป็นคอมพิวเตอร์กลุ่มที่ใช้งานแบบเฉพาะ
อย่างหรือเป็นกรณีไปไม่สามารถนาไปใช้กับ
งาน
ไม่สามารถนาไปใช้กับงานอย่างอื่น
ได้ ความยืดหยุ่นมีน้อยกว่าแบบใช้งานทั่วไป มักเป็นอุปกรณ์หรือเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ที
ทางานด้านอุตสาหกรรมหรือโรงงานเป็นหลัก เช่น ระบบควบคุมอัตโนมัติในโรงงาน
เครื่องจักรกลอัตโนมัติ หุ่นยนต์ขนถ่านสินค้า เครื่องตรวจสภาพอากาศ มักมีราคาแพงและใช้งาน
เฉพาะด้านเท่านั้น อาจมีค่าบารุงรักษาเครื่องมือเหล่านี้ที่แพงมาก เพราะต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
6
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
จาแนกตามขนาดและความสามารถ
เป็นการจาแนกประเภทของคอมพิวเตอร์ที่พบเห็นได้มากที่สุดใน
ปัจจุบัน ซึ่งสามารถแบ่งออก
ได้เป็น 5 ประเภท คือ
ซูปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วในประมวลผลสูงที่สุด บางครั้งก็
เรียกว่า เครื่องคอมพิวเตอร์
สมรรถนะสูง(high performance computer) ซึ่งส่วนใหญ่นาไปใช้
กับการ
ทางานเฉพาะทางที่ต้องการความเร็วในการประมวลผลอย่างมาก เช่น งาน
วิเคราะห์และพยากรณื
อากาศ การสารวจอวกาศ งานวิเคราะห์ภาพถ่ายจากดาวเทียม
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะการทางานสูงเช่นเดียวกันไม่
ไม่ได้เน้นความเร็วในการ
คานวณเป็นหลักอย่างซูปเปอร์คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถ
เก็บข้อมูลได้มาก และ
ทางานได้หลายงานพร้อมกัน เหมาะสาหรับการทางานกับองค์กรธุรกิจหรือ
หน่วยงานที่มีบริษัท
สาขาและเกี่ยวข้องกับการประมวลผลข้อมูลในปริมาณมาก
มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสรรถนะรองลงมาจากเครื่องเมนเฟรม
ส่วนใหญ่จะนาไปใช้กับบริษัทหรือธุรกิจขนาดกลางสาหรับใช้บริการแก่เครื่อง
ลูกข่าย(Client) เพื่อใช้บริการข้อมูลต่างๆ
Supper computer
Mainframe computer
Mini computer
Computer Network
ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กที่สุด ราคาถูกที่สุด ใช้งานง่าย และนิยม
มากที่สุดราคาของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์จะอยู่ในช่วงประมาณหมื่นกว่า
ถึง แสนกว่าบาท ในวงการธุรกิจใช้ไมโครคอมพิวเตอร์กับงานทุก ๆ อย่าง
ไมโครคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กพอที่จะตั้งบนโต๊ะ (Desktop) หรือ ใส่ลง
ในกระเป๋าเอกสาร เช่น คอมพิวเตอร์วางบนตัก (Lap top) หรือโน้ตบุ๊ก
(Note book) ไมโครคอมพิวเตอร์สามารถทางานในลักษณะประมวลผล
ได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องเชื่อมโยงกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นเรียกว่า
ระบบแสตนอโลน (Standalone system)มีไว้สาหรับใช้งานส่วนตัวจึง
เรียกเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ได้อีกชื่อหนึ่งว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือ
เครื่องพีซี (PC:Personal Computer) และสามารถ
นาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกับเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ หรือเชื่อมต่อกับเครื่อง
เมนเฟรม เพื่อขยายประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ทาให้เครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์เป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลายอย่างรวดเร็ว
คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld Computer)
เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กที่สุดเมื่อเทียบกับคอมพิวเตอร์
ประเภทอื่นๆ อีกทั้งสามารถพกพาไปยังที่ต่างๆ ได้ง่ายกว่า
เหมาะกับการจัดการข้อมูลประจาวัน การสร้างปฏิทินนัด
หมาย การดูหนังฟังเพลงรวมถึงการรับส่งอีเมล์ บางรุ่นอาจ
มีความสามารถเทียบเคียงได้กับไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น
ปาล์ม พ็อกเก็ตพีซี เป็นต้น นอกจากนี้โทรศัพท์มือถือบาง
รุ่นก็มีความสามารถใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์มือถือในกลุ่ม
นี้ในแง่ของการรันโปรแกรมจัดการกับข้อมูลทั่วไปโดยใช้
ระบบปฏิบัติการ Symbian หรือไม่ก็ Linux
supercomputer
7
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
คอมพิวเตอร์ยุคใหม่
การใช้คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีแนวโน้มที่สูงขึ้นเรื่อยๆ และนามาใช้กับงานที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้นจากที่แต่เดิมบางหน่วยงาน
เอาคอมพิวเตอร์มาช่วยสาหรับงานประมวลผลเล็กๆ เท่านั้น แต่ปัจจุบันได้พัฒนาให้สามารถเชื่องโยงกันได้อย่างทั่วไป
การออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ๆ ได้มีการปรับปรุงขนาดให้เล็กลงและมีรูปที่แปลกมากยิ่งขึ้น และสามารถจาแนกได้
หลายรูปแบบ
เดสก์ท็อป (Desktop)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดตั้งโต๊ะที่ใช้ในสานักงาน
หรือตามบ้านทั่วไป นิยมใช้สาหรับการประมวลผล เช่น การ
พิมพ์รายงาน ดูหนัง ฟังเพลง ท่องอินเทอร์เน็ตหรือเล่นเกม
โน๊ตบุ๊ค (Notebook)
คอมพิวเตอร์น็ตบุ๊คนั้นมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับ
เครื่องพีซี แต่จะมีขนาดเล็กและบางลง มี
น้าหนักสามารถพกพาได้สะดวกมากขึ้น และข้อแตกต่างอีก
ประการหนึ่งคือ โน๊ตบุ๊คจะมีแบตเตอรี่
ไว้ใช้สาหรับการทางาน ที่สาคัญคือราคาถูกลงกว่าเมื่อก่อนนี้มาก
แต่ก็ยังถือว่ามีราคาแพงกว่าเครื่อว
พีซีธรรมดาอยู่ดี
เดสก์โน๊ต (Desknote)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาอีกแบบหนึ่งที่คล้ายๆกับ
เครื่องแบบโน๊ตบุ๊ค แต่ต่างกันตรงที่เดสก์
โน๊ตนั้นไม่มีแบตเตอร์รี่คอยจ่ายไฟให้จึงต้องเสียบปลั๊ก
ตลอดเวลาที่ใช้ อีกทั้งราคาถูกกว่าโน๊ตบุ๊ค
แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์อีกประเภทหนึ่งที่มีคุณสมบัติ
การทางานใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์แบบ
โน๊ตบุ๊คโดยทั่วไป แต่คุณสมบัติที่แตกต่างกับอย่างเห็นได้
ชัดเจนคือ ผู้ใช้สามารถป้อนข้อมูลเข้าไป
ได้โดยการเขียนบนจอภาพเหมือนกันกับการเขียนข้อความลงไป
ในสมุดโน้ตและเครื่องสามารถที่จะ
แปลงข้อมูลต่างเหล่านั้นเก็บไว้ได้
8
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
พีดีเอ (PDA – Personal Digital Assistants)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดพกพาที่ได้รับความนิยม
เป็นอย่างสูงในปัจจุบัน ซึ่งสามารถแบ่ง
ประเภทออกได้เป็น 2 กลุ่ม กลุ่มปาล์มและพ็อกเก็ตพีซี
ปาล์ม (Palm)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาที่เปิดตลาดมาก่อน แต่
เดิมนั้นเน้นเพื่อการใช้งานสาหรับเป็นเครื่อง
บันทึกช่วยจาต่างๆ (organizer) เช่น การนัดหมาย ปฏิทิน
สมุดโทรศัพท์แต่ปัจจุบันได้
พัฒนาให้มีขีดความสามารถต่างๆ เพิ่มมากขึ้น โดยจะใช้
ระบบปฏิบัติการเป็นของตัวเองเรียกว่า
Palm OS (ปัจจุบันหยุดผลิตไปแล้ว)
พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC)
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อานวยความสะดวกในการใช้
งานได้ดีเช่นเดียวกันกับเครื่องปาร์ม โดย
ส่วนใหญ่แล้วมักจะผลิตมาจากบริษัทที่มีชื่อเสียงทางด้าน
คอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการที่ใช้ส่วน
ใหญ่เป็นของค่ายไมโครซอฟท์
สมาร์ทโฟน (Smart Phone)
เป็นกลุ่มของโทรศัพท์มือถือที่พัฒนาขีดความสามารถ
ให้มีการทางานได้ใกล้เคยงกับพีดีเอเป็น
อย่างมาก คุณสมบัติโดยรวมจะคล้ายๆ กับพีดีเอ แต่สมาร์ท
โฟนสามารถที่จะใช้เป็นเครื่องโทรศัพท์
ไปในตัวได้อีกต่างหากรวมถึงความสามารถอื่นๆ เช่น กล้อง
ถ่ายรูป การใช้งานอินเทอร์เน็ต
9
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ปัญหาและข้อจากัดของการใช้งานคอมพิวเตอร์
การนาเอาคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้งานต่างๆ นั้น จะเห็นได้ว่าก่อให้เกิดประโยชน์ที่
หลากหลาย เช่น ช่วยให้การทางานเร็วและสะดวกขึ้น การวินิจฉัยหรือให้ผลลัพธ์มีความแม่นยา
มากกว่าเดิม สามารถแบ่งเบาภาระงานของมนุษย์ลงไปอย่างมาก
การประมวลผลบางอย่งของคอมพิวเตอร์อาจไม่ฉลาดเท่ากับการคิดและตัดสินใจของมนุษย์ได้
เลย เพราะคอมพิวเตอร์จะทางานตามที่ได้รับคาสั่งหรือตามข้อมูลที่ได้รับมาเท่านั้น กล่าวง่ายๆ ก็คือ
ได้ข้อมูลมาอย่างไรก็ทาตามไปแบบนั้น หากได้รับข้อมูลที่ผิดพลาดหรือข้อมูลที่ไม่มีคุณค่าเข้าไปใน
ระบบ ผลลัพธ์ที่ได้ออกมาก็จะผิดพลาดและไม่เป็นประโยชน์ตามไปด้วย
ปัญหาของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่พบมากทที่สุดคือ “ความรู้ไม่ทันเทคโนโลยี” ที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้งานจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่
จะต้องติดตามข่าวสารและปรับตัวให้ทันสมัย ตลอดเวลา และปัญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ซึ่ง
มักเกิดจากคนที่มีความรู้และชานาญทางคอมพิวเตอร์เป็นพิเศษ แต่กลับนามาใช้ทางที่ผิดและสร้าง
ความเสียหายแก่ผู้อื่นอย่างมากมาย

More Related Content

What's hot

ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์nprave
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNOiy Ka
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นTonic Junk
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นTonic Junk
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์jatesada5803
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เทวัญ ภูพานทอง
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้Bhisut Boonyen
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6amphaiboon
 
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์noorinryrinry
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Kriangx Ch
 

What's hot (17)

ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Learnning 04
Learnning 04Learnning 04
Learnning 04
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
Js unit 1
Js unit 1Js unit 1
Js unit 1
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked (8)

Work3 19
Work3 19Work3 19
Work3 19
 
o-net-Work4 19
o-net-Work4 19o-net-Work4 19
o-net-Work4 19
 
Dossier sponsors
Dossier sponsorsDossier sponsors
Dossier sponsors
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
onet computer m 6
onet computer m 6onet computer m 6
onet computer m 6
 
O-net
O-netO-net
O-net
 
Liquidity ratios
Liquidity ratiosLiquidity ratios
Liquidity ratios
 
Air Circuit breaker
Air Circuit breakerAir Circuit breaker
Air Circuit breaker
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศ

การวิเคราะห์เเละพัฒนาระบบ
การวิเคราะห์เเละพัฒนาระบบ การวิเคราะห์เเละพัฒนาระบบ
การวิเคราะห์เเละพัฒนาระบบ tatartarta
 
ใบความรู้ที่ 1 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์krupan
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์sommat
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์Nantawoot Imjit
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nattapon
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Da Arsisa
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการwannuka24
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

การวิเคราะห์เเละพัฒนาระบบ
การวิเคราะห์เเละพัฒนาระบบ การวิเคราะห์เเละพัฒนาระบบ
การวิเคราะห์เเละพัฒนาระบบ
 
ใบความรู้ที่ 1 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่  1 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่  1 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
work 4
work 4work 4
work 4
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Ppp.
Ppp.Ppp.
Ppp.
 
บทที่1 ทวีชัย
บทที่1  ทวีชัยบทที่1  ทวีชัย
บทที่1 ทวีชัย
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์ฮาร์ดแวด์
ฮาร์ดแวด์
 
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
ความรู้เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
work 3
work 3work 3
work 3
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 

More from Ffurn Leawtakoon

More from Ffurn Leawtakoon (7)

template system
template systemtemplate system
template system
 
O NET
O NETO NET
O NET
 
Onet computer
Onet computer Onet computer
Onet computer
 
Onet
OnetOnet
Onet
 
แนวข้อสอบ o-net ม.6
แนวข้อสอบ o-net ม.6แนวข้อสอบ o-net ม.6
แนวข้อสอบ o-net ม.6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ข้อสอบ o - net ม. 6
ข้อสอบ o - net ม. 6ข้อสอบ o - net ม. 6
ข้อสอบ o - net ม. 6
 

เทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 1. 1 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ กุลจิรา บูรณากาญจน์ ม.6/1 เลขที่ 1
  • 2. 2 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ลกษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้มีจุดเด่น 4ประการ เพื่อทดแทนข้อจากัดของมนุษย์ เรียกว่า4Sspecial ดังนี้ 1. หน่วยเก็บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลจานวนมากและเป็นเวลานาน นับเป็น จุดเด่นทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทางานแบบอัตโนมัติของเครื่อง คอมพิวเตอร์ ทั้งเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องด้วย 2. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล (Processing Speed) โดยใช้เวลาน้อย เป็นจุดเด่นทางโครงสร้างที่ผู้ใช้ทั่วไปมีส่วนเกี่ยวข้องน้อย ที่สุด เป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สาคัญส่วนหนึ่ง เช่นกัน 3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูลตามลาดับขั้นตอนได้อย่าง ถูกต้อง และต่อเนื่องอย่างอัตโนมัติ โดยมนุษย์มีส่วนเกี่ยวข้องเฉพาะในขั้นตอนการ กาหนด โปรแกรมคาสั่งและข้อมูลก่อนการประมวลผลเท่านั้น 4. ความน่าเชื่อถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้อง ความ น่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ความสามารถนี้เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคาสั่งและข้อมูลที่มนุษย์กาหนดให้กับ เครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง กล่าวคือ หากมนุษย์ป้อนข้อมูลที่ไม่ถูกต้องให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ย่อมได้ ผลลัพธ์ที่ไม่ถูกต้องด้วยเช่น วิวัฒนาการก่อนจะมาเป็นคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์นั้นมีวิวัฒนาการที่รวดเร็วมาก ตั้งแต่ยุคสมัยดึกดาบรรพ์เป็น ต้นมา มนุษย์เรามีความพยายามที่จะคิดค้นเครื่องมือให้มาช่วยในการคานวณ และการนับ ตั้งแต่เริ่มต้นใช้นิ้วมือนับ จนมาใช้ก้อนกรวด หิน มนุษย์จึง คิดค้นวิธีการที่ง่ายกว่านี้ จนกลายมาเป็นกลไกที่ใช้ในการคานวณ จน วิวัฒนาการมาเป็นคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน โดยแบ่งเป็น 4 ยุค ดังนี้ ยุคก่อนเครื่องจักรกล (Premachanical) (พ.ศ. 2497- 2501) คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ใช้หลอดสุญญากาศ (Vacuum tube) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องยังมีขนาดใหญ่มาก ใช้ กระแสไฟฟ้าจานวนมาก ทาให้เครื่องมีความร้อนสูงจึงมักเกิด ข้อผิดพลาดง่าย คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ UNIVAC I , IBM 600 ยุคเครื่องจักรกล (Mechanical) (พ.ศ. 2502-2507) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ทรานซิสเตอร์ (Transistor) เป็นวงจร อิเล็กทรอนิกส์ และใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วยความจา คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กกว่ายุคแรก ต้นทุนต่ากว่า ใช้ กระแสไฟฟ้าน้อยกว่า และมีความแม่นยา ยุคเครื่องจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electromechanical) (พ.ศ. 2508-2513) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจรไอซี (Integrated Circuit) เป็นสารกึ่งตัวนาที่สามารถบรรจุ วงจรทางตรรกะไว้แล้วพิมพ์บนแผ่นซิลิกอน (Silicon) เรียกว่า "ชิป" ยุคเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic) (พ.ศ. 2514- 2523) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจร LSI (Large-Scale Integrated Circuit) เป็นการรวมวงจรไอซีจานวนมากลง ในแผ่นซิลิกอนชิป 1 แผ่น สามารถบรรจุได้มากกว่า 1 ล้าน วงจร ด้วยเทคโนโลยีใหม่นี้ทาให้เกิดแนวคิดในการบรรจุวงจรที่ สาคัญสาหรับการทางาน พื้นฐานของคอมพิวเตอร์นั่นคือ CPU ลงชิปตัวเดียว เรียกว่า "ไมโครโปรเชสเซอร์
  • 3. 3 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เครื่องคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุค คอมพิวเตอร์ยุคที่ 1 (พ.ศ. 2497-2501) อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2497 ถึง พ.ศ. 2501 เป็นยุคของคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดสุญญากาศ (Vacuum tube)ซึ่งใช้ กาลังไฟฟ้าสูงมาก ถึงแม้จะมีระบบระบายความร้อนที่ดี แต่จะมีปัญหาในเรื่องความร้อนและไส้หลอดขาดบ่อย การสั่งงานใช้ ภาษาเครื่องซึ่งเป็นรหัสตัวเลขที่ยุ่งยากและซับซ้อน เครื่องคอมพิวเตอร์ของยุคนี้มีขนาดใหญ่ เช่น มาร์ค วัน (MARK I), อีนิแอค (ENIAC), ยูนิแวค (UNIVAC คอมพิวเตอร์ยุคที่ 2 (พ.ศ. 2502-2507) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ทรานซิสเตอร์ (Transistor) เป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วยความจา คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กกว่ายุคแรก ต้นทุนต่ากว่า ใช้กระแสไฟฟ้าและมีความแม่นยามากกว่า มีอุปกรณ์เก็บข้อมูลสารองในรูปแบบ ของสื่อแม่เหล็ก สามารถเขียนโปรแกรมระดับสูงได้ คอมพิวเตอร์ยุคที่ 3 (พ.ศ. 2508-2513) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ วงจรไอซี (Integrated Circuit) เป็นสารกึ่งตัวนาที่สามารถบรรจุวงจรทางตรรกะไว้แล้วพิมพ์บน แผ่นซิลิกอน (Silicon) เรียกว่า "ชิป" คอมพิวเตอร์ยุคที่ 4 (พ.ศ. 2514-2523) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ วงจร LSI (Large Scale Integration) เป็นการรวมวงจรไอซีจานวนมากลงในแผ่นซิลิกอน ชิป 1 แผ่น สามารถบรรจุได้มากกว่า 1 ล้านวงจร ด้วยเทคโนโลยีใหม่นี้ทาให้เกิดแนวคิดในการบรรจุวงจรที่สาคัญสาหรับการ ทางาน พื้นฐานของคอมพิวเตอร์นั่นคือ CPU ลงชิปตัวเดียว เรียกว่า "ไมโครโพรเซสเซอร์" คอมพิวเตอร์ยุคที่ 5 (พ.ศ. 2524-ปัจจุบัน) คอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้วงจรVLSI (Very-large-scale integration) เป็นการพัฒนาไมโครโพรเซสเซอร์ให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น ENIAC คอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกถูกพัฒนาขึ้น โดยหน่วยงานวิจัยทางทหารของกองทัพบก สหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. 1946 หรือประมาณ 66 ปีมาแล้ว
  • 4. 4 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ 1.ประโยชน์ด้านการศึกษา ใช้เพื่องานด้านการเรียนการสอนในหลาย รูปแบบ เช่นการนาบทเรียน การผลิตสื่อการสอน การใช้ซีดีรอมสาหรับการ เรียนรู้ เกมเพื่อการศึกษา หรือ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2.ด้านความบันเทิง เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อความสนุกสนานบันเทิง เช่น เล่นเกม ฟังเพลงชมภาพยนต์ 3.ด้านการเงิน การธนาคาร ใช้ในการเบิก – ถอนเงินผ่านATM การโอน เงินด้วยระบบด้วยอัตโนมัติโดยโอนเงินจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยผ่าน ระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ การดูข้อมูลตลาดหุ้นการทากราฟแสดงยอดขาย 4.ด้านการสื่อสารและคมนาคม ใช้ในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต สื่อสารถ่ายทอดผ่านดาวเทียมการติดต่อสื่อสารผ่านโทรศัพท์ การคมนาคม ทางเรือ เครื่องบิน และรถไฟฟ้า 5.ด้านศิลปะและการออกแบบ เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวาดรูป การ์ตูนออกแบบงานและการสร้างภาพกราฟิกหรือการตกแต่งภาพใน คอมพิวเตอร์ 6.ด้านการแพทย์์ ปัจจุบันมีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยงานด้านการแพทย์ หลายด้าน เช่น การเก็บประวัติคนไข้ การใช้ทดลองประกอบการวินิจฉันของแพทย์ใช้ใน การตรวจเลือก ตรวจปัสสาวะ การผ่าตัดหัวใจการตรวจสอบห้องพักผู้ป่วยว่า ว่างหรือไม่ การควบคุมแสงเลเซอร์การเอ็กซ์เรย์ การตรวจคลื่อนสมองคลื่น หัวใจ เป็นต้น 7.ด้านวิทยาศาสตร์และเคมี ใช้ในการวิเคราะห์สูตรทางเคมีการคานวณ สูตรทางวิทยาศาสตร์การค้นคว้าทดลองในห้องวิทยาศาสตร์ การคานวณ เกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาลและการเกิดปรากฏการณ์เกี่ยวกับดวงดาวต่างๆ คอมพิวเตอร์ในหน่วยงานของรัฐ คอมพิวเตอร์ช่วยใน การทาทะเบียนราษฎร์ ช่วยในการนับคะแนนการเลือกตั้ง และรวบรวมเพื่อประกาศผลการคิดภาษาอากร การบริหาร ทั่วไป การสวัสดิการต่างๆ การรวบรวมข้อมูลและสถิติ การ บริหารงาน การทาสาธารณูปโภค ในการทหารอาจจะใช้ ควบคุมการยิงจรวดนาวิถี การยิงปืนใหญ่ การเดินเรือรบ เป็นต้น การใช้คอมพิวเตอร์ในวงการอุตสาหกรรม ในวงการอุตสาหกรรมนับได้ว่าคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามี บทบาทเป็นอย่างมาก ตั้งแต่การวางแผนการผลิต กาหนดเวลาการผลิต จนกระทั่งถึงการผลิตสินค้า ควบคุม ระบบ การผลิตทั้งหมด ในรายงานทางอุตสาหกรรมได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ใน การควบคุมการ ทางานของเครื่องจักร เช่น การเจาะ ตัด ไส กลึง เป็นต้น ตลอดจนโรงงานผลิตรถยนต์ ก็จะใช้ หุ่นยนต์คอมพิวเตอร์ในการทาสี พ่นสี รวมถึงการ ประกอบรถยนต์ เป็นต้น การใช้คอมพิวเตอร์ในธุรกิจธนาคาร ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทในการบริหาร และ การให้บริการในด้านธุรกิจธนาคาร ทาให้ธุรกิจธนาคาร เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว ซึ่งจุดหลักของธนาคารคือ การ ให้บริการแก่ลูกค้าที่มาติดต่อด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง จึงมีการนาระบบ On-Line เข้ามาใช้กันอย่าง กว้างขวาง
  • 5. 5 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจสายการบิน สายการบินทั่วโลก นาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการจัดการให้กับ ลูกค้าหรือผู้โดยสาร เช่น การสารองที่นั่งตารางเที่ยวบิน นอกจากนี้ยังใช้ ในการควบคุมการบินต่างๆ ได้อีกด้วย เช่น ระบบควบคุมการเจรจาทาง อากาศที่ช่วยอานวยความสะดวกในการจัดระเบียบของเครื่องบินที่บินต่าง เวลา ต่างความสูงหรือต่างทิศทางกันของเครื่องบิน และใช้ควบคุมใน หอบังคับการบินด้วย คอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา คอมพิวเตอร์ได้ถูกนามาใช้ในสถานศึกษาอย่างแพร่หลาย อาจ แบ่งออกเป็นการใช้งานเพื่อใช้ในการจัดการการศึกษา และใช้ในการเรียน การสอน คอมพิวเตอร์ในงานวิทยาศาสตร์ ได้มีการนาเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยวิเคราะห์ และตรวจสอบ ข้อมูลต่างๆ ซึ่งมีความแม่นยาถูกต้องและน่าเชื่อถือ ช่วยในการทดลองและ วิจัยทางวิทยาศาสตร์ คานวณและจาลองแบบ เพื่อสร้างผลงานทาง วิทยาศาสตร์ในด้านต่างๆ เช่น เคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา นิวเคลียร์ การ สารวจอวกาศ การสื่อสารผ่านดาวเทียม เป็นต้น คอมพิวเตอร์กับงานทางด้านการนาเข้าและส่งออกสินค้า การนาเข้าและส่งออกสินค้า(import/export) เป็นการนา คอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ เช่น กรณีของพิธีการศุลกากรของกรมศุลกากร โดยนาระบบ EDI (Electronic Data Interchange) เพื่อทา ให้ขั้นตอนการออกเอกสารเป็นไปได้ง่ายยิ่งขึ้น ช่วยให้ผู้ประกอบการ ประหยัดค่าใช้จ่ายและลดเวลาได้เป็นอย่างมาก เช่น การบันทึกข้อมูลใบ ขนสินค้า เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเบื้องต้น ประเภทของคอมพิวเตอร์ จาแนกตามลักษณะการใช้งาน คอมพิวเตอร์ที่แบ่งตามกลุ่มการใช้ งานนี้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ แบบใช้งานทั่วไป เป็นคอมพิวเตอร์กลุ่มที่เราพบเห็นได้ ในการทางานทั่วไป เช่น ตามบ้านหรือ สานักงาน อาคาร ห้างร้าน บริษัททั่วไป ซึ่งเป็นการใช้งานแบบ เอนกประสงค์ ผู้ใช้งานสามารถนาไป ประยุกต์ใช้กับงานที่ค่อนข้างหลากหลาย เช่น งานด้านสานักงาน การแพทย์และ วิทยาศาสตร์ หรือใช้สาหรับดูหนัง ฟังเพลง ฯลฯ คอมพิวเตอร์กลุ่มนี้เป็นที่นิยมใช้กัน อย่างแพร่หลาย มักมีราคาถูกและหาซื้อได้ ทั่วไป อีกทั้งค่า บารุงรักษาจะมีราคาต่ากว่าและไม่จาเป็นต้อง ใช้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะมาดูแล แบบใช้เฉพาะ เป็นคอมพิวเตอร์กลุ่มที่ใช้งานแบบเฉพาะ อย่างหรือเป็นกรณีไปไม่สามารถนาไปใช้กับ งาน ไม่สามารถนาไปใช้กับงานอย่างอื่น ได้ ความยืดหยุ่นมีน้อยกว่าแบบใช้งานทั่วไป มักเป็นอุปกรณ์หรือเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ที ทางานด้านอุตสาหกรรมหรือโรงงานเป็นหลัก เช่น ระบบควบคุมอัตโนมัติในโรงงาน เครื่องจักรกลอัตโนมัติ หุ่นยนต์ขนถ่านสินค้า เครื่องตรวจสภาพอากาศ มักมีราคาแพงและใช้งาน เฉพาะด้านเท่านั้น อาจมีค่าบารุงรักษาเครื่องมือเหล่านี้ที่แพงมาก เพราะต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
  • 6. 6 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved จาแนกตามขนาดและความสามารถ เป็นการจาแนกประเภทของคอมพิวเตอร์ที่พบเห็นได้มากที่สุดใน ปัจจุบัน ซึ่งสามารถแบ่งออก ได้เป็น 5 ประเภท คือ ซูปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วในประมวลผลสูงที่สุด บางครั้งก็ เรียกว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ สมรรถนะสูง(high performance computer) ซึ่งส่วนใหญ่นาไปใช้ กับการ ทางานเฉพาะทางที่ต้องการความเร็วในการประมวลผลอย่างมาก เช่น งาน วิเคราะห์และพยากรณื อากาศ การสารวจอวกาศ งานวิเคราะห์ภาพถ่ายจากดาวเทียม เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะการทางานสูงเช่นเดียวกันไม่ ไม่ได้เน้นความเร็วในการ คานวณเป็นหลักอย่างซูปเปอร์คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถ เก็บข้อมูลได้มาก และ ทางานได้หลายงานพร้อมกัน เหมาะสาหรับการทางานกับองค์กรธุรกิจหรือ หน่วยงานที่มีบริษัท สาขาและเกี่ยวข้องกับการประมวลผลข้อมูลในปริมาณมาก มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสรรถนะรองลงมาจากเครื่องเมนเฟรม ส่วนใหญ่จะนาไปใช้กับบริษัทหรือธุรกิจขนาดกลางสาหรับใช้บริการแก่เครื่อง ลูกข่าย(Client) เพื่อใช้บริการข้อมูลต่างๆ Supper computer Mainframe computer Mini computer Computer Network ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กที่สุด ราคาถูกที่สุด ใช้งานง่าย และนิยม มากที่สุดราคาของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์จะอยู่ในช่วงประมาณหมื่นกว่า ถึง แสนกว่าบาท ในวงการธุรกิจใช้ไมโครคอมพิวเตอร์กับงานทุก ๆ อย่าง ไมโครคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กพอที่จะตั้งบนโต๊ะ (Desktop) หรือ ใส่ลง ในกระเป๋าเอกสาร เช่น คอมพิวเตอร์วางบนตัก (Lap top) หรือโน้ตบุ๊ก (Note book) ไมโครคอมพิวเตอร์สามารถทางานในลักษณะประมวลผล ได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องเชื่อมโยงกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นเรียกว่า ระบบแสตนอโลน (Standalone system)มีไว้สาหรับใช้งานส่วนตัวจึง เรียกเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ได้อีกชื่อหนึ่งว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือ เครื่องพีซี (PC:Personal Computer) และสามารถ นาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อกับเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ หรือเชื่อมต่อกับเครื่อง เมนเฟรม เพื่อขยายประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ทาให้เครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์เป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลายอย่างรวดเร็ว คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กที่สุดเมื่อเทียบกับคอมพิวเตอร์ ประเภทอื่นๆ อีกทั้งสามารถพกพาไปยังที่ต่างๆ ได้ง่ายกว่า เหมาะกับการจัดการข้อมูลประจาวัน การสร้างปฏิทินนัด หมาย การดูหนังฟังเพลงรวมถึงการรับส่งอีเมล์ บางรุ่นอาจ มีความสามารถเทียบเคียงได้กับไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ปาล์ม พ็อกเก็ตพีซี เป็นต้น นอกจากนี้โทรศัพท์มือถือบาง รุ่นก็มีความสามารถใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์มือถือในกลุ่ม นี้ในแง่ของการรันโปรแกรมจัดการกับข้อมูลทั่วไปโดยใช้ ระบบปฏิบัติการ Symbian หรือไม่ก็ Linux supercomputer
  • 7. 7 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved คอมพิวเตอร์ยุคใหม่ การใช้คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีแนวโน้มที่สูงขึ้นเรื่อยๆ และนามาใช้กับงานที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้นจากที่แต่เดิมบางหน่วยงาน เอาคอมพิวเตอร์มาช่วยสาหรับงานประมวลผลเล็กๆ เท่านั้น แต่ปัจจุบันได้พัฒนาให้สามารถเชื่องโยงกันได้อย่างทั่วไป การออกแบบเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ๆ ได้มีการปรับปรุงขนาดให้เล็กลงและมีรูปที่แปลกมากยิ่งขึ้น และสามารถจาแนกได้ หลายรูปแบบ เดสก์ท็อป (Desktop) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดตั้งโต๊ะที่ใช้ในสานักงาน หรือตามบ้านทั่วไป นิยมใช้สาหรับการประมวลผล เช่น การ พิมพ์รายงาน ดูหนัง ฟังเพลง ท่องอินเทอร์เน็ตหรือเล่นเกม โน๊ตบุ๊ค (Notebook) คอมพิวเตอร์น็ตบุ๊คนั้นมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับ เครื่องพีซี แต่จะมีขนาดเล็กและบางลง มี น้าหนักสามารถพกพาได้สะดวกมากขึ้น และข้อแตกต่างอีก ประการหนึ่งคือ โน๊ตบุ๊คจะมีแบตเตอรี่ ไว้ใช้สาหรับการทางาน ที่สาคัญคือราคาถูกลงกว่าเมื่อก่อนนี้มาก แต่ก็ยังถือว่ามีราคาแพงกว่าเครื่อว พีซีธรรมดาอยู่ดี เดสก์โน๊ต (Desknote) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาอีกแบบหนึ่งที่คล้ายๆกับ เครื่องแบบโน๊ตบุ๊ค แต่ต่างกันตรงที่เดสก์ โน๊ตนั้นไม่มีแบตเตอร์รี่คอยจ่ายไฟให้จึงต้องเสียบปลั๊ก ตลอดเวลาที่ใช้ อีกทั้งราคาถูกกว่าโน๊ตบุ๊ค แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์อีกประเภทหนึ่งที่มีคุณสมบัติ การทางานใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์แบบ โน๊ตบุ๊คโดยทั่วไป แต่คุณสมบัติที่แตกต่างกับอย่างเห็นได้ ชัดเจนคือ ผู้ใช้สามารถป้อนข้อมูลเข้าไป ได้โดยการเขียนบนจอภาพเหมือนกันกับการเขียนข้อความลงไป ในสมุดโน้ตและเครื่องสามารถที่จะ แปลงข้อมูลต่างเหล่านั้นเก็บไว้ได้
  • 8. 8 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved พีดีเอ (PDA – Personal Digital Assistants) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดพกพาที่ได้รับความนิยม เป็นอย่างสูงในปัจจุบัน ซึ่งสามารถแบ่ง ประเภทออกได้เป็น 2 กลุ่ม กลุ่มปาล์มและพ็อกเก็ตพีซี ปาล์ม (Palm) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาที่เปิดตลาดมาก่อน แต่ เดิมนั้นเน้นเพื่อการใช้งานสาหรับเป็นเครื่อง บันทึกช่วยจาต่างๆ (organizer) เช่น การนัดหมาย ปฏิทิน สมุดโทรศัพท์แต่ปัจจุบันได้ พัฒนาให้มีขีดความสามารถต่างๆ เพิ่มมากขึ้น โดยจะใช้ ระบบปฏิบัติการเป็นของตัวเองเรียกว่า Palm OS (ปัจจุบันหยุดผลิตไปแล้ว) พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อานวยความสะดวกในการใช้ งานได้ดีเช่นเดียวกันกับเครื่องปาร์ม โดย ส่วนใหญ่แล้วมักจะผลิตมาจากบริษัทที่มีชื่อเสียงทางด้าน คอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการที่ใช้ส่วน ใหญ่เป็นของค่ายไมโครซอฟท์ สมาร์ทโฟน (Smart Phone) เป็นกลุ่มของโทรศัพท์มือถือที่พัฒนาขีดความสามารถ ให้มีการทางานได้ใกล้เคยงกับพีดีเอเป็น อย่างมาก คุณสมบัติโดยรวมจะคล้ายๆ กับพีดีเอ แต่สมาร์ท โฟนสามารถที่จะใช้เป็นเครื่องโทรศัพท์ ไปในตัวได้อีกต่างหากรวมถึงความสามารถอื่นๆ เช่น กล้อง ถ่ายรูป การใช้งานอินเทอร์เน็ต
  • 9. 9 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ปัญหาและข้อจากัดของการใช้งานคอมพิวเตอร์ การนาเอาคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้งานต่างๆ นั้น จะเห็นได้ว่าก่อให้เกิดประโยชน์ที่ หลากหลาย เช่น ช่วยให้การทางานเร็วและสะดวกขึ้น การวินิจฉัยหรือให้ผลลัพธ์มีความแม่นยา มากกว่าเดิม สามารถแบ่งเบาภาระงานของมนุษย์ลงไปอย่างมาก การประมวลผลบางอย่งของคอมพิวเตอร์อาจไม่ฉลาดเท่ากับการคิดและตัดสินใจของมนุษย์ได้ เลย เพราะคอมพิวเตอร์จะทางานตามที่ได้รับคาสั่งหรือตามข้อมูลที่ได้รับมาเท่านั้น กล่าวง่ายๆ ก็คือ ได้ข้อมูลมาอย่างไรก็ทาตามไปแบบนั้น หากได้รับข้อมูลที่ผิดพลาดหรือข้อมูลที่ไม่มีคุณค่าเข้าไปใน ระบบ ผลลัพธ์ที่ได้ออกมาก็จะผิดพลาดและไม่เป็นประโยชน์ตามไปด้วย ปัญหาของผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่พบมากทที่สุดคือ “ความรู้ไม่ทันเทคโนโลยี” ที่มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้งานจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่ จะต้องติดตามข่าวสารและปรับตัวให้ทันสมัย ตลอดเวลา และปัญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ซึ่ง มักเกิดจากคนที่มีความรู้และชานาญทางคอมพิวเตอร์เป็นพิเศษ แต่กลับนามาใช้ทางที่ผิดและสร้าง ความเสียหายแก่ผู้อื่นอย่างมากมาย