SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้มีจุดเด่น 4 ประการ เพื่อทดแทนข้อจากัดของมนุษย์
เรียกว่า 4 S special ดังนี้
1. หน่วยเก็บ(Storage)
ความสามารถในการเก็บข้อมูลจานวนมากและเป็นเวลานานนับเป็นจุดเด่นทางโครงสร้าง
และเป็นหัวใจของการทางานแบบอัตโนมัติของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพ
ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องด้วย
2. ความเร็ว (Speed)
ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล(ProcessingSpeed)โดยใช้เวลาน้อยเป็นจุดเด่นทางโครงสร้างที่
ผู้ใช้ทั่วไปมีส่วนเกี่ยวข้องน้อยที่สุดเป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สาคัญส่วนหนึ่ง
เช่นกัน
3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting)
ความสามารถในการประมวลผลข้อมูลตามลาดับขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่องอย่างอัตโนมัติ
โดยมนุษย์มีส่วนเกี่ยวข้องเฉพาะในขั้นตอนการกาหนดโปรแกรมคาสั่งและข้อมูลก่อนการประมวลผล
เท่านั้น
4. ความน่าเชื่อถือ (Sure)
ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้องความน่าเชื่อถือนับเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในการ
ทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ความสามารถนี้เกี่ยวข้องกับโปรแกรมคาสั่งและข้อมูลที่มนุษย์กาหนดให้
กับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรงกล่าวคือหากมนุษย์ป้อนข้อมูลที่ไม่ถูกต้องให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ก็ย่อ
มได้ผลลัพธ์ที่ไม่ถูกต้องด้วยเช่นกัน
วิวัฒนาการก่อนจะมาเป็นคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์นั้นมีวิวัฒนาการที่รวดเร็วมากตั้งแต่ยุคสมัยดึกดาบรรพ์เป็นต้นมา มนุษย์เรา
มีความพยายามที่จะคิดค้นเครื่องมือให้มาช่วยในการคานวณและการนับตั้งแต่เริ่มต้นใช้นิ้วมือนับจนมา
ใช้ก้อนกรวดหินมนุษย์จึงคิดค้นวิธีการที่ง่ายกว่านี้จนกลายมาเป็นกลไกที่ใช้ในการคานวณ
จนวิวัฒนาการมาเป็นคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน โดยแบ่งเป็น 4ยุค ดังนี้
1. ยุคก่อนเครื่องจักรกล (Premachanical)
2. ยุคเครื่องจักรกล (Mechanical)
3. ยุคเครื่องจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electromechanical)
4. ยุคเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic)
ยุคก่อนเครื่องจักรกล(Premechanical)

-แผ่นหินอ่อนซาลามิสเป็นแผ่นกระดานหินอ่อนขนาดใหญ่เพื่อช่วยนับค่าตัวเลข

-
แท่งคานวณของเนเปียร์ซึ่งป็นเครื่องมือที่ประกอบไปด้วยแท่งไม้ตีเส้นเป็นตารางไว้ใช้สาหรับการคา
นวณ
 -ลูกคิดเป็นอุปกรณ์ที่มีการนาไปใช้ในเชิงพาณิชย์มากยิ่งขึ้นใช้สาหรับการคานวณเช่นกัน

 -ไม้บรรทัดคานวฯ โดยใช้การเขียนค่าต่างๆบนแท่งไม้ เมื่อนามาเลื่อนต่อกันจะสามารถหาผลลัพธ์ได้
ยุคเครื่องจักรกล(Premechanical)

 -นาฬิกาคานวณ ทางานโดยอาศัยตัวเลขต่างๆมาบรรจุบนทรงกระบอกจานวน6ชุดแล้วใช้ฟันเฟื่อง
เครื่องหมุนทดลองเวลาคูณเลข

 -เครื่องคานวณจองปาสคาลใช้การหมุนของฟันเฟืองเช่นกันเป็นเครื่องมือที่ช่วยในการบวกเลข

 -
เครื่องคานวณของไลบ์นีช ได้ทาการปรับปรุงเครื่องคานวณของปาสคาลโดยมีการปรับใหม่ให้สามารถ
คูณและหารได้อีกด้วย

 - เครื่องทอผ้าของแจคการ์ด ได้พัฒนาเป็นเครื่องทอผ้าให้ควบคุมลวดลายที่ต้องการแบบอัตโนมัติ
 -
เครื่อง Different Engine เป็นเครื่องคานวณต้นแบบที่คานวณในงานที่ซับซ้อนมากๆ
 - เครื่อง
Analytical Engine
ใช้แนวคิดของการแจกการ์ดที่เอาบัตรเจาะรูมาช่วยควบคุมลวดลายการทอผ้าให้ได้ตามที่ต้องการ
ยุคเครื่องจักรกลระบบอิเลคทรอนิกส์

 - Tablating Machine เป็นระบบสามะโนประชากรของประเทศสหรัฐ
- ABC Atanasoff-Berry-Computer
เป็นเครื่องมือประมวลผลที่ใช้ระบบการทางานของหลอด
 สุญญากาศ
-เครื่องColossusเป็นเครื่องถอดรหัสลับของฝ่ายทหารเยอรมันที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในสงครามโลก

 ครั้งที่ 2
 - เครื่อง Mark I หรือ IBM Automatic Sequence Controlled Calculator
ยุคคอมพิวเตอร์อิเลคทรอนิกส์
- ENIAC เป็นเครื่องคานวณวิถีกระสุนปืนใหญ่แต่ใช้งานยุ่งยาก เพราะต้องป้อนคาสั่งใหม่ทุกครั้ง
 -
EDSACเป็นชุดคาสั่งซึ่งไว้ทางานภายในได้เองโดยมีการเขียนชุดคาสั่งการทางานแบ่งออกเป็น
 ส่วนย่
อยๆเเรียกว่าsubroutinesเพื่อช่วยในการทางาน

 -EDVACเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ตามแนวสถาปัตยกรรมของนิวแมน

 - UNIVAC
ถือว่าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นแรกที่ใช้ในเชิงธุรกิจ
 เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์

 - IBM 1620 มีการนามาใช้ในเมืองไทยครั้งแรกที่ภาควิชาสถิติ และการบัญชีมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์

 - IBM 1404 สานักงานแห่งชาตินามาใช้งานด้านสามะโนประชากร
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ (Transistor)
ยุคนี้อยู่ระหว่าง พ.ศ. 2502 - 2506 เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคนี้ใช้ทรานซิสเตอร์ (transistor)
เป็นองค์ประกอบหลักของวงจรไฟฟ้าแทนหลอดสุญญกาศโดยผู้ที่คิดค้นทรานซิสเตอร์คือนักวิทยาศาส
ตร์สามคนของห้องปฏิบัติการเบลล์ (Bell Laboratories) แห่งสหรัฐอเมริกา ได้แก่บาร์ดีน (J.Bardeen)
แบรทเทน(H.W.Brattain)และชอคเลย์(W.Shockley)การใช้ทรานซิสเตอร์ในการผลิตคอมพิวเตอร์แทน
หลอดสุญญกาศทาให้ตัวคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงกว่าเดิมมากโดยทรานซิสเตอร์ที่พัฒนาขึ้นเป็นครั้งแ
รกมีขนาด1ใน100ของหลอดสูญญากาศเท่านั้นนอกจากขนาดเล็กแล้วยังมีคุณสมบัติที่ดีอีกหลายประกา
รคือไม่เปลืองกระแสไฟฟ้าไม่ต้องใช้เวลาอุ่นเครื่องเมื่อแรกเปิดเครื่องทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์มีประสิท
ธิภาพและความเร็วเพิ่มขึ้น จนกระทั่งสามารถบวกจานวน จานวนได้ในเวลาประมาณหนึ่งในล้านวินาที
(microsecond) โดยที่ทรานซิสเตอร์เป็นปัจจัยในการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ที่สาคัญยิ่ง
จึงทาให้นักวิทยาศาสตร์ทั้งสามคนได้รับรางวัลโนเบล
ครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวม(IC)
เครื่องคอมพิวเตอร์ในยุคต่อมาได้รับการพัฒนาให ้มีขีดความสามารถที่ดีขึ้น
เรื่อยๆแต่การผลิตเครื่องโดยใช ้ทรานซิสเตอร์แยกเป็ นตัวๆทาให ้ต ้นทุนในการผลิตสูง
มากต่อมาจึงได้มีการเปลี่ยนมาใช ้แผงวงจรรวมหรือที่เรียกว่าIC(Integrated
Curcuit) ที่ประกอบด ้วยทรานซิสเตอร์นับพันตัวรวมกันขึ้นในปี ค.ศ.1965
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวมขนาดใหญ่ (LSIและVLSI)
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวมขนาดใหญ่(LSI และLVSI) ในยุคนี้คือปลายศตวรรษ
1970มีการนาไมโครโปรเซสเซอร์(microprocessor)ซึ่งเป็นวงจรรวมขนาดใหญ่ที่ผลิตโดยอา
ศัยเทคโนโลยีที่เรียกว่าLSI (Large Scale Integrated) และVLSI (Very Large Scale
Integrated)เข้ามาแทนแผงวงจรรวมหรือICแบบเดิมเนื่องจากสามารถบรรจุทรานซิสเตอร์ได้
มากกว่าโดยบรรจุวงจรทรานซิสเตอร์นับหมื่นแสนหรือล้านตัวลงในชิ้นสารซิลิกอน(silicon
)เล็กๆไมโครโปรเซสเซอร์นี้คิดค้นขึ้นโดยบริษัทอินเทล(Intel)ซึ่งยังเป็นผู้ผลิตไมโครโปรเซ
สเซอร์ชั้นนาในปัจจุบันและทาให้เกิดการผลิตคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กสาหรับการใช้งานทั่วไ
ปที่เรียกว่า“ไมโครคอมพิวเตอร์(microcomputer)”ซึ่งได้รับความนิยมแพร่หลายไปทั่วโลกใ
นเวลาต่อมา
เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย(Network)
การใช้งานไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับความนิยามอย่างแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทยด้วย
มีการออกแบบและพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ให้มีขนาดเล็กลงพร้อมๆกับประสิทธิภาพในการใช้งานที่
มุ่งเน้นให้เกิดการเชื่อมต่อเป็นเครือข่าย(Network)มากยิ่งขึ้นบริษัทหรือองค์กรธุรกิจได้นาเอาไมโครคอ
มพิวเตอร์หลาย ๆตัวมาเชื่อมต่อและแลกเปลี่ยนข้อมูลกันในบริเวณใกล้หรือในสานักงานเดียวกัน
เรียกว่า “
เครือข่ายเฉพาะที่”หรือLAN(LocalAreaNetwork)จากนั้นก็ได้พัฒนาให้การเชื่อมต่อเข้าหากันได้มากขึ้น
โดยกระจายบริเวณออกไปในระยะที่กว้างกว่าเดิม เรียกว่า “ เครือข่ายระยะไกล” หรือ WAN (Wide
Area Network)
และในที่สุดก็พัฒนาไปสู่การเชื่อมต่อกันโดยไม่จากัดระยะทางไปยังผู้ใช้งานทั่วโลกที่เรียกว่า “
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต” (Internet)ในที่สุด
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1.ประโยชน์ด้านการศึกษา
ใช้เพื่องานด้านการเรียนการสอนในหลายรูปแบบ เช่นการนาบทเรียน การผลิตสื่อการสอน
การใช้ซีดีรอมสาหรับการเรียนรู้ เกมเพื่อการศึกษาหรือคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
2.ด้านความบันเทิง
เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อความสนุกสนานบันเทิง เช่นเล่นเกมฟังเพลงชมภาพยนต์
3.ด้านการเงิน การธนาคาร
ใช้ในการเบิก ถอนเงินผ่านเครื่องATMการโอนเงินด้วยระบบด้วยอัตโนมัติโดยโอนเงินจากที่หนึ่งไป
ยังอีกที่หนึ่งโดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การดูข้อมูลตลาดหุ้นการทากราฟแสดงยอดขาย
4.ด้านการสื่อสารและคมนาคม
ใช้ในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต สื่อสารถ่ายทอดผ่านดาวเทียมการติดต่อสื่อสารผ่านโทรศัพท์
การคมนาคมทางเรือ เครื่องบินและรถไฟฟ้า
5.ด้านศิลปะและการออกแบบ
เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการวาดรูปการ์ตูนออกแบบงานและการสร้างภาพกราฟิกหรือการตกแต่ง
ภาพในคอมพิวเตอร์
6.ด้านการแพทย์์์์
ปัจจุบันมีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยงานด้านการแพทย์หลายด้านเช่น การเก็บประวัติคนไข้
การใช้ทดลองประกอบการวินิจฉันของแพทย์ใช้ในการตรวจเลือก ตรวจปัสสาวะ
การผ่าตัดหัวใจการตรวจสอบห้องพักผู้ป่วยว่าว่างหรือไม่ การควบคุมแสงเลเซอร์การเอ็กซ์เรย์
การตรวจคลื่อนสมองคลื่นหัวใจ
7.ด้านวิทยาศาสตร์และเคมี
ใช้ในการวิเคราะห์สูตรทางเคมีการคานวณสูตรทางวิทยาศาสตร์การค้นคว้าทดลองในห้องวิทยาศาสตร์
การคานวณเกี่ยวกับระบบสุริยะจักรวาลและการเกิดปรากฏการณ์เกี่ยวกับดวงดาวต่างๆ
คอมพิวเตอร์ในสถานศึกษา
ปัจจุบันตามสถานศึกษาต่างๆ ได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอนอย่างมากมาย
รวมทั้งใช้คอมพิวเตอร์ในงานบริหารของโรงเรียน เช่น การจัดทาประวัตินักเรียน ประวัติครูอาจารย์
การคัดคะแนนสอบ การจัดทาตารางสอน ใช้คอมพิวเตอร์ ในงานห้องสมุด การจัดทาตารางสอ น
เป็นต้นตัวอย่างในการประยุกต์ด้านการศึกษาเช่นโปรแกรมรายงานการลงทะเบียนเรียนโปรแกรมตรวจ
ข้อสอบเป็นต้น
คอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรม
คอมพิวเตอร์สามารถจะทางานในด้านวิศวกรรมได้ตั้งแต่ขั้นตอนการลอกเขียนแบบ
จนกระทั่งถึงการออกแบบโครงสร้างของสถาปัตยกรรมต่างๆ ต ลอดจน ช่วยคานวณโครงสร้าง
ช่วยในการวางแผน และควบคุมการสร้าง
คอมพิวเตอร์ในงานวิทยาศาสตร์
คอมพิวเตอร์สามารถทางานร่วมกับเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ เช่น เครื่องมือวิเคราะห์สารเคมี
เครื่องมือการทดลองต่างๆ แม้กระทั่งการเดินทางของยานอวกาศต่างๆ การถ่ายพื้นผิวโลกบนดาวอังคาร
เป็นต้น
คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ
คอมพิวเตอร์สามารถจัดเก็บข้อมูลได้มากมาย มีความรวดเร็ว และถูกต้อง
ทาให้สามารถได้ข้อมูลที่ช่วยให้สามารถตัดสินใจในการ ดาเนินธุรกิจ
ตลอดจนงานทางด้านเอกสารงานพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น
คอมพิวเตอร์ในงานธนาคาร
ในแวดวงธนาคารนับได้ว่าคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทมากที่สุด เพราะธนาคารจะมีการนาข้อมูล <
Transaction > เป็นประจะทุกวัน การหาอัตราดอกเบี้ยต่างๆ นอกจากนี้การใช้บริการ ATM
ซึ่งลูกค้าสามารถฝากถอนเงินได้จากเครื่องอัตโนมัติ ซึ่งมาให้สะดวกแก่ผู้ใช้บริการเป็นอย่างยิ่ง
และเป็นที่นิยมแพร่หลายในปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์ในร้านค้าปลีก
ปัจจุบันเห็นได้ว่า ได้มีธุรกิจร้านค้าปลีกหรือที่เรียกว่า " เฟรนไซน์" เป็นจานวนมาก
ได้มีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการ ให้บริการลูกค้า เช่น ให้บริการชาระ ค่าน้า - ไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์
เป็นต้นจะเห็นได้ว่ามีการonlineระหว่างร้านค้าเหล่านั้นกับหน่วยงานนั้นๆเพื่อสามารถตัดยอดบัญชีได้เ
ป็นต้น
คอมพิวเตอร์ในวงการแพทย์
คอมพิวเตอร์ได้ถูกนามาใช้ในการเก็บประวัติของคนไข้ ควบคุมการรับ และจ่ายยา
ตลอดจนยังอยู่ในอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ เช่น เครื่องมือผ่าตัด บันทึกการเต้นของหัวใจ
ตรวจคลื่นสมอง และด้านการหาตาแหน่งของอวัยวะก่อนการผ่าตัด เป็นต้น
คอมพิวเตอร์ในการคมนาคมและการสื่อสาร
ในยุคปัจจุบันเราเรียกว่าเป็นยุคที่เป็นการสื่อสารแบบไร้พรมแดนจะเห็นได้ว่ามีการสื่อสารในรูปแบบ
ต่างๆในเครือข่ายสาธาระณะที่เรียกว่าเครือข่ายอินเทอร์เน็ตซึ่งสามารถที่จะสื่อสารกับทุกคนได้ทั่วมุม
โลก โดยผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์นี้ และยังมีโปรแกรมที่สามารถจะใช้ในการพูดคุยกันได้
ไม่ว่าจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกันใช้คุยกันหรือจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์สื่อสารกับเครื่องโทรศัพ
ท์ที่บ ์้านหรือที่ทางานหรือแม้กระทั่งการส่งpagerในปัจจุบันสามารถส่งทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไปยั
งเครื่องลูกได้
คอมพิวเตอร์ในงานด้านอุตสาหกรรม
ในวงการอุตสาหกรรมนับได้ว่าคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมากตั้งแต่การวางแผนการ
ผลิตกาหนดเวลาการผลิตจนกระทั่งถึงการผลิตสินค้าควบคุมระบบการผลิตทั้งหมดในรายงานทางอุตส
าหกรรมได้มีการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการควบคุมการ ทางานของเครื่องจักร เช่น การเจาะ ตัด ไส
กลึง
เป็นต้นตลอดจนโรงงานผลิตรถยนต์ก็จะใช้หุ่นยนต์คอมพิวเตอร์ในการทาสีพ่นสีรวมถึงการประกอบน
รถยนต์
คอมพิวเตอร์ในวงราชการ
คอมพิวเตอร์ถูกนามาใช้ในงานทะเบียนราษฏร์ ช่วยในการนับคะแนนการ เลือกตั้ง
และการประกาศผลเลือกตั้ง การคิดภาษีอากร การเก็บข้อมูล สถิติสัมมโนประชากร
การเก็บเงินค่าไฟฟ้า น้าประปา ค่าใช้โทรศัพท์ เป็นต้น
ประเภทของคอมพิวเตอร์แบ่งตามลักษณะของข้อมูล ได้ 3ประเภทคือ
1. อนาลอกคอมพิวเตอร์ (Analog Computer)
2. ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer)
3. ไฮบริดคอมพิวเตอร์ (Hybrid Computer)
คอมพิวเตอร์ยุคใหม่

 การใช้คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีแนวโน้มที่สูงขึ้นเรื่อยๆ และนามาใช้กับงานที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น
จากที่แต่เดิมบางหน่วยงานเอาคอมพิวเตอร์เ เพื่อมาช่วยสาหรับงานประมวลผลเล็กๆเท่านั้น เช่น
งานการจัดพิมพ์เอกสารหรืองานสานักงาน ซึ่งยังไม่ค่อยสนับสนุนไนเรื่องของการเชื่อมโยงกันเป็นเครื
อข่ายมากนัก แต่ปัจจุบันได้พัฒนาให้สามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างทั่วถึง
เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องซึ่งสามารถโอนถ่ายข้อมูลถึงกันได้อย่างรวดเร็วภายใต้ระบบการสื่อสาร
ที่ดีขึ้น

 เดสก์ท็อป(Desktop)

เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดตั้งโต๊ะที่ใช้ในสานักงานหรือตามบ้านทั่วไป นิยมใช้สาหรับการประมวลผล
เช่น พิมพ์รายงาน ดูหนัง ท่องอินเทอร์เน็ตหรือเล่นเกม เป็นต้น
ตัวเครื่องและจอภาพสามารถจัดวางเพื่อทางานบนโต๊ะอย่างสบายซึ่งปัจจุบันจะมีการผลิตที่เน้นให้มีควา
มสวยงาม น่าใช้มากยิ่งขึ้น และได้รับความนิยมในการใช้งานมากเนื่องจากมีราคาที่ถูกลง

โน้ตบุ๊ค (Notebook)

คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊คนั้นที่คุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับเครื่องพีซี แต่จะมีขนาดเล็กและบางลง
มีน้าหนักเบาสามารถพกพาได้สะดวกมากขึ้น และข้อแตกต่างอีกประการหนึ่งคือ
โน้ตบุ๊คจะมีแบตเตอรี่ไว้ใช้สาหรับการทางานด้วย ที่สาคัญคือราคาถูกลงกว่าเมื่อก่อนนี้มาก
แต่ก็ยังถือว่ามีราคาแพงกว่าเครื่องพีซีธรรมดาอยู่
ดี
 เดสก์โน้ต
(Desknote)
 เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาอีกแบบหนึ่งที่คล้ายๆกับเครื่องโน้ตบุ๊ค
แต่ต่างกันตรงที่เดสก์โน้ตนั้นไม่มีแบตเตอรี่ที่คอยจ่ายไฟให้จึงต้องเสียบปลั๊กตลอดเวลาที่ใช้อีกทั้งราคา
สูงกว่าโน้ตบุ๊คเหมาะกับผู้ใช้ที่มีสานักงานหลายๆที่และเดินทางไปมาบ่อยๆเครื่องคอมพิวเตอร์แบบนี้จ
ะมีคุณสมบัติต่างๆเหมือนกับเครื่องโน้ตบุ๊คเพียงแต่ตัวเครื่องจะมีขนาดที่หนากว่าโน้ตบุ๊คเพียงเล็กน้อย
เท่านั้น

แท็บเล็ตพีซี(TabletPC)

 เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์อีกประเภทหนึ่งที่มีคุณสมบัติการทางานใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ๊
คโดยทั่วไปแต่คุณสมบัติก็แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดก็คือผู้ใช้สามารถป้อนข้อมูลเข้าไปได้โดยการเขีย
นบนจอภาพเหมือนกับการเขียนข้อความลงไปในสมุดโน้ต และเครื่องสามารถที่จะแปลข้อมูลต่างๆ
เหล่านั้นเก็บไว้ได้
โน้ตบุ๊คและเดสก์โน้ต
 พีดีเอ(PDA-PersonalDigital Assistants)

เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดพกพาที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงในปัจจุบัน
คอมพิวเตอร์ในอนาคต
อย่างที่กอร์ดอนมัวร์ผู้ก่อตั้งบริษัทอินเทลกล่าวไว้ว่า"จานวนของทรานซิสเตอร์ซึ่งบรรจุอยู่บนแผ่นวง
จรรวมหรือไมโครชิพนี้จะเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าทุกๆ18เดือน"คากล่าวอันสร้างชื่อแก่เขาในฐานะกฎของมั
วร์ (Moore's Law) แล้วในอีก 10 ปีข้างหน้าคอมพิวเตอร์จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร
น่าสนใจใช่ไหมครับ
ในบทนี้ผมจะพาสารวจเทคโนโลยีที่จะนามาสร้างคอมพิวเตอร์ในอนาคตอันใกล้นี้รวมทั้งซอฟต์แวร์ขอ
งคอมพิวเตอร์และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในอานาคตซึ่งเราควรรู้ไว้เพื่อเตรียมตัวใช้งานคอมพิวเตอร์แบบ
ใหม่โดยรู้ทันล่วงหน้าครับ
ปัญหาและข้อจากัดที่พบ
ในส่วนนี้จะมีลักษณะเฉพาะและข้อจากัดของการติดตั้งและการตั้งค่า Tivoli Monitoring
บนสภาพแวดล้อมของWindowsและผลกระทบที่มีต่อการตั้งค่าคลัสเตอร์ในระหว่างการทดสอบการรับ
รองสาหรับการทาคลัสเตอร์ Tivoli Monitoring
เกิดปัญหาเมื่อการตั้งค่าสภาพแวดล้อมแบบคลัสเตอร์ได้รับการรายงานว่าเป็นข้อบกพร่อง
โดยทั่วไปแล้ว ข้อบกพร่องเหล่านี้จะเกี่ยวข้องกับการตั้งค่า Tivoli Monitoring
ในลักษณะที่ไม่ใช่ค่าดีฟอลต์ แทนการระบุเฉพาะเจาะจงไปยังสภาพแวดล้อมของคลัสเตอร์
ข้อบกพร่องเหล่านี้ได้รับการจัดการเป็นส่วนหนึ่งของสตรีมบริการ Tivoli Monitoring
ดูที่รายการต่อไปนี้ ของปัญหาที่พบและวิธีแก้ไขปัญหา
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการติดตั้ง:
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการกาหนดค่า:
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินการ:
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการดูแลรักษา:

More Related Content

What's hot

ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
jumphu9
 

What's hot (14)

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
 
การวิเคราะห์เเละพัฒนาระบบ
การวิเคราะห์เเละพัฒนาระบบ การวิเคราะห์เเละพัฒนาระบบ
การวิเคราะห์เเละพัฒนาระบบ
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
Doc1 4
Doc1 4Doc1 4
Doc1 4
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
 
Com
ComCom
Com
 
Intro to Comp
Intro to CompIntro to Comp
Intro to Comp
 
Com
ComCom
Com
 

Similar to Computer1234

หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
Jirayu Pansagul
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
Jirayu Pansagul
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
Ammarirat
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
Ammarirat
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
gotchagon
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
Ammarirat
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
Ammarirat
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
Ammarirat
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
Ammarirat
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
noooom
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
Ammarirat
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
Ammarirat
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
NaluemonPcy
 

Similar to Computer1234 (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
Com
ComCom
Com
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
หน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผลหน่วยประมวลผล
หน่วยประมวลผล
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 

Computer1234