SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
โดย
ครูเอกสิทธิ์ ยางดอน
การขับร้อง หมายถึง ศิลปะการใช้เสียงที่
ถ่ายทอดความรู้สึกหรืออารมณ์ต่างๆ โดยใช้
ถ้อยคาบรรยายหรือพรรณนาเนื้อหาสาระที่
ต้องการบอกให้ผู้อื่นรู้ ซึ่งเรียกว่าเนื้อร้องหรือคา
ร้องประกอบลีลาจังหวะและแนวทานองเพลง
- การขับร้องเพลงไทยจะถูกแบ่งออกเป็น การขับร้องเดี่ยว
และการขับร้องหมู่
 เพลงเถา คือ เพลงที่นามาร้องขับร้องและบรรเลงรวมกันทั้ง ๓ อัตราจังหวะ คือ
๓ ชั้น ๒ชั้น และชั้นเดียว เช่น เพลงแขกบรเทศ เถา เพลงโสมส่องแสงเถา ฯลฯ
 เพลงตับ คือ เพลงอัตราจังหวะ ๒ ชั้น หรือ ๓ ชั้นซึ่งนามาขับร้องและบรรเลง
ติดกันไปหลายๆเพลง มี ๒ ชนิด คือ ตับเพลง และตับเรื่อง
 เพลงเกร็ด คือ เพลงที่แยกออกมาขับร้องเป็นเพลงๆ ไปโดยไม่ต้องบรรเลงเป็น
ชุด เช่น เพลงเขมรไทรโยค เพลงนกขมิ้น ๓ ชั้น เพลงลาวดวงเดือน ๒ ชั้น ฯลฯ
 เพลงลา คือ เพลงที่บรรเลงเป็นอันดับสุดท้ายก่อนที่การบรรเลงจะจบลง
ลักษณะของเพลงจะแฝงไปด้วยความหมายในทางอาลา อาลัย เช่น เพลงอกทะเล
เพลงเต่ากินผักบุ้ง เพลงพระอาทิตย์ชิงดวง ฯลฯ
เพลงไทยจะไพเราะได้ เนื่องจากผู้ร้องต้องมีวิธีการร้องเพลงไทยที่ถูกต้อง
ดังนั้นในการร้องเพลงไทยให้ไพเราะจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยดังต่อไปนี้
 การนั่ง ควรนั่งพับเพียบ ตัวตรง ไม่ก้มหน้า การนั่งตัวตรงจะช่วยให้ระบบการ
หายใจเข้าออกได้สะดวก
 การใช้กาลังเสียง กาลังเสียง หมายถึง การออกเสียงดังอย่างเต็มที่ในช่วงระยะลม
หายใจแต่ละช่วง การร้องเพลงไทยต้องร้องเต็มเสียงไม่ออมแรง
 จังหวะ ร้องเพลงให้มีจังหวะแน่นอนและถูกต้อง สามารถรู้ว่าการร้องตอนใดลง
จังหวะ ฉิ่ง หรือ ฉับ ผู้ฝึกร้องควรเคาะจังหวะเองในเวลาฝึกร้องทุกครั้ง
 การเอื้อน สัญลักษณ์ของเพลงไทย คือ การทาให้เกิดเป็นทานองเรียกว่าเสียง
“เอื่อน” เอื่อนอาจร้องเริ่มต้นเพลง หรืออยู่ระหว่างคาร้อง เช่น เออ เอย เอ๋ย อือ เฮอ
คาร้อง : คุณหญิงชิ้น ศิลปะบรรเลง
ธูปเทียนทองสองมือ ถือไว้ตั้งใจวันทา (ซ้า)
น้อมเคารพบูชา พระศาสดาของชาวพุทธ (ซ้า)
พระปัญญาเลิศล้น ทรงค้นพบสัจธรรม
พระการุณเลิศล้า ทรงน้อมธรรมสู่มนุษย์
พระองค์เลิศล้วนบริสุทธิ์ สอนชนเพื่อหลุดพ้นทางทุกทน (ซ้า)
จากบทละครเรื่อง “อิเหนา” ตอนบุษบาเสี่ยงเทียน
ประพันธ์เพลงโดย หลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)

More Related Content

What's hot

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงานparichat441
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์Krawchai Santadwattana
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาMontree Dangreung
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560ครู กรุณา
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตkroojaja
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกPikaya
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 

What's hot (20)

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
แผนภาพต้นไม้11
แผนภาพต้นไม้11แผนภาพต้นไม้11
แผนภาพต้นไม้11
 
4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงาน
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
การสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัยการสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัย
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 

สื่อการสอนวิชาดนตรีไทย

  • 2. การขับร้อง หมายถึง ศิลปะการใช้เสียงที่ ถ่ายทอดความรู้สึกหรืออารมณ์ต่างๆ โดยใช้ ถ้อยคาบรรยายหรือพรรณนาเนื้อหาสาระที่ ต้องการบอกให้ผู้อื่นรู้ ซึ่งเรียกว่าเนื้อร้องหรือคา ร้องประกอบลีลาจังหวะและแนวทานองเพลง
  • 4.  เพลงเถา คือ เพลงที่นามาร้องขับร้องและบรรเลงรวมกันทั้ง ๓ อัตราจังหวะ คือ ๓ ชั้น ๒ชั้น และชั้นเดียว เช่น เพลงแขกบรเทศ เถา เพลงโสมส่องแสงเถา ฯลฯ  เพลงตับ คือ เพลงอัตราจังหวะ ๒ ชั้น หรือ ๓ ชั้นซึ่งนามาขับร้องและบรรเลง ติดกันไปหลายๆเพลง มี ๒ ชนิด คือ ตับเพลง และตับเรื่อง  เพลงเกร็ด คือ เพลงที่แยกออกมาขับร้องเป็นเพลงๆ ไปโดยไม่ต้องบรรเลงเป็น ชุด เช่น เพลงเขมรไทรโยค เพลงนกขมิ้น ๓ ชั้น เพลงลาวดวงเดือน ๒ ชั้น ฯลฯ  เพลงลา คือ เพลงที่บรรเลงเป็นอันดับสุดท้ายก่อนที่การบรรเลงจะจบลง ลักษณะของเพลงจะแฝงไปด้วยความหมายในทางอาลา อาลัย เช่น เพลงอกทะเล เพลงเต่ากินผักบุ้ง เพลงพระอาทิตย์ชิงดวง ฯลฯ
  • 5. เพลงไทยจะไพเราะได้ เนื่องจากผู้ร้องต้องมีวิธีการร้องเพลงไทยที่ถูกต้อง ดังนั้นในการร้องเพลงไทยให้ไพเราะจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยดังต่อไปนี้  การนั่ง ควรนั่งพับเพียบ ตัวตรง ไม่ก้มหน้า การนั่งตัวตรงจะช่วยให้ระบบการ หายใจเข้าออกได้สะดวก  การใช้กาลังเสียง กาลังเสียง หมายถึง การออกเสียงดังอย่างเต็มที่ในช่วงระยะลม หายใจแต่ละช่วง การร้องเพลงไทยต้องร้องเต็มเสียงไม่ออมแรง  จังหวะ ร้องเพลงให้มีจังหวะแน่นอนและถูกต้อง สามารถรู้ว่าการร้องตอนใดลง จังหวะ ฉิ่ง หรือ ฉับ ผู้ฝึกร้องควรเคาะจังหวะเองในเวลาฝึกร้องทุกครั้ง  การเอื้อน สัญลักษณ์ของเพลงไทย คือ การทาให้เกิดเป็นทานองเรียกว่าเสียง “เอื่อน” เอื่อนอาจร้องเริ่มต้นเพลง หรืออยู่ระหว่างคาร้อง เช่น เออ เอย เอ๋ย อือ เฮอ
  • 6. คาร้อง : คุณหญิงชิ้น ศิลปะบรรเลง ธูปเทียนทองสองมือ ถือไว้ตั้งใจวันทา (ซ้า) น้อมเคารพบูชา พระศาสดาของชาวพุทธ (ซ้า) พระปัญญาเลิศล้น ทรงค้นพบสัจธรรม พระการุณเลิศล้า ทรงน้อมธรรมสู่มนุษย์ พระองค์เลิศล้วนบริสุทธิ์ สอนชนเพื่อหลุดพ้นทางทุกทน (ซ้า) จากบทละครเรื่อง “อิเหนา” ตอนบุษบาเสี่ยงเทียน ประพันธ์เพลงโดย หลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง)