SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
โจเซกิ
            โจเซกิเป็นภาษาญีปุ่น แปลเป็นไทยว่า สูตรการเดินมาตรฐานซึ่งเราเรียกโดยทั่วไปว่าสูตรมุม
                            ่
เพราะ
โจเซกิโดยส่วนใหญ่ 90 % จะเกิดขึ้นบริเวณมุม โจเซกิมีมากมายนับหมื่นรูปแบบถ้าเราคิดจะจำาให้
หมดคงไม่สามารถทำาได้โดยง่าย และก็ไม่มีความจำาเป็นที่เราต้องจำาได้ให้หมดด้วย แต่เราจำาเป็นต้อง
ศึกษาโจเซกิเบืองต้นทีต้องใช้บอยๆเพื่อให้การเดินของเรามีรูปแบบมาตรฐาน และไม่ตกเป็นฝ่ายเสีย
                ้       ่      ่
เปรียบโดยง่ายเมื่อถูกโจมตีแย่งมุม การที่เราจะใช้โจเซกิให้ได้ดีนั้นเราจะต้องคำานึงถึงความเหมาะสมของ
สภาพแวดล้อมคือเม็ดหมากที่อยู่รอบข้างเป็นสำาคัญ ในหนังสือเบื้องต้นเล่มนี้จะยังไม่อธิบายอย่างละเอียด
ลึกซึ้ง มีแต่เพียงลำาดับการเดินต่อเนื่องของโจเซกิในรูปแบบต่างๆเท่านั้น แต่ผู้ฝกหัดเล่นก็สามารถ
                                                                              ึ
ทดลองนำาไปใช้ในการเล่นได้

จุดที่นิยมวางยึดมุม
การยึดมุมที่ดีหมากของเราควรวางอยู่บนเส้น      3     เส้น   4   จุดที่นิยมวางยึดมุมโดยทั่วไปมีอยู่   2   จุดคือ จุด
4-4 กับจุด 3-4 ในหนังสือเล่มนี้ยกตัวอย่างเฉพาะโจเซกิพื้นฐานที่เกี่ยวกับการยึดมุมที่จด 3-3, 3-
                                                                                    ุ
4 และ 4-4 เท่านั้น




การยึดมุมที่จุด   4-4                 การยึดมุมทีจุด
                                                 ่         3-4                           การยึดมุมที่จุด   3-3



                                     โจเซกิที่จุด   4-4

                                     หมากขาวยึดมุมอยู่ที่จุด        4-4 หมากดำาเข้าโจมตีมุมแบบตาม้า
                                     หมากขาว 2 เดินต่อสองรับมือ
        4                    6       หมากดำา 3 เดินลงที่เส้นสองเข้าแย่งมุม
   3               2
                                     หมากขาว 4 เดินป้องกันจุด 3-3
        1                            หมากดำา 5 ขยายเว้นห่าง 2 เส้นสร้างรูปร่างที่ดีให้กับกลุ่มหมาก
                                     หมากขาว 6 ขยายโครงสร้างให้ใหญ่ขึ้น หมากขาว 6 นี้จะวาง
หรือไม่วาง
        5                            ก็ได้ถามีตำาแหน่งอื่นที่สามารถพัฒนาได้ควรวางยึดตำาแหน่งนั้นก่อน
                                           ้
            โจเซกิที่   1            เพราะเพียงแค่หมากขาว           3   เม็ดก็อยูในรูปร่างที่ดีมากแล้ว
                                                                                 ่
หมากขาวยึดมุมอยู่ที่จุด   4-4   หมากดำา    1    เข้าแย่งมุมที่จด
                                                                                                        ุ   3-3
       9 10
        11                   เมื่อเดิน
     1 2    12
     3
                                         ตามลำาดับการเดินจบที่หมากขาว     12      เราจะเห็นชัดเจนถึงการแลก
                             เปลี่ยน
   5 4
   7 6                                   ที่เกิดขึ้น หมากดำาจะได้พื้นที่ที่มุมประมาณ    8- 10     คะแนน
     8                                   หมากขาวจะได้อิทธิพลภายนอกที่มีคุณค่าไม่นอยกว่า 20 คะแนน
                                                                                      ้
                                         ข้อสังเกตสำาคัญ ถ้ามีหมากขาวเม็ดที่มมีเครื่องหมายสามเหลี่ยมอยู่
                                         เมื่อหมากดำาบุกเข้ามาหมากขาวต้องเลือกปิดในทิศทางที่สัมพันธ์กับ
                                         หมากขาวเม็ดที่มีเคื่องหมายสามเหลี่ยมเพื่อให้เกิดรูปร่างโครงสร้าง
                             พื้นที่
             โจเซกิที่2                  ที่มีขนาดใหญ่ การเดินปิดทีผิดทิศทางจะทำาให้หมากขาวเม็ดที่มี
                                         เครื่องหมายสามเหลี่ยมลดคุณค่าลงตามรูปประกอบข้างล่าง
                                         รูปประกอบนี้แสดงให้เห็นการเดินที่ไม่สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม
         5 7                             ทำาให้หมากขาวเม็ดที่มีเครื่องหมายสามเหลี่ยมลดคุณค่าลง
  11 1 3 4 6 8
   9 2
  10
        12

             รูปประกอบ


                                         หมากดำา   1   เดินเข้าโจมตีมุม หมากขาว     2   รับมือด้วยการหนีบ
โจมตี
  9 3 5   11
                                         หมากดำา   3   กระโดดเข้ามุมยอมสละทิ้งหมากดำา      1   เมื่อเดินจบที่
  7 4
หมากดำา 6
  8 10
    1                                    11    เราจะเห็นผลดังนี้คือ หมากดำาจะได้พื้นที่ที่มุม ประมาณ
10 แต้มขึ้น
        2                                หมากขาวจะได้ความแข็งแรงภายนอกและเป็นฝ่ายได้เลือกเดินต่อ
ในเกม
                                         หมากล้อมการเป็ยฝ่ายได้เลือกเดินต่อมีคุณค่ามาก การเดินในรูป
                                         แบบนี้ถึงแม้วาหมากขาวจะยังไม่มีพื้นที่ที่ชัดเจนแต่หมากขาวก็พอใจ
                                                      ่


             โจเซกิที่   3

                                         หมากดำา   1   เข้าโจมตีมุม หมากขาว   2   หนีบโจมตี หมากดำา      3
กระโดดเข้า
   3 4                                   มุม ลำาดับการเดินสามเม็ดนี้เหมือนกับโจเซกิที่   3     แต่เนื่องจากมี
   5                         หมาก
     6
 7 1                                     ขาวเม็ดที่มีเครืองหมายสามเหลี่ยมอยู่ หมากขาว
                                                         ่                                   4   จึงควรเดินปิด
              8              พื้นที่
    2                                    ให้สัมพันธ์กับการมีอยู่ของหมากขาวสามเหลี่ยม เมื่อเดินจบที่หมาก
                             ขาว
                                         8   เราจะเห็นผลดังนี้คือ หมากขาวจะได้โครงสร้างพื้นที่ขนาดใหญ่
                             มาก
                                         หมากดำาจะได้พื้นที่ที่มุมและเป็นฝ่ายได้เลือกเดินต่อ


             โจเซกิที่   4
หมากดำา 1 เดินเข้าโจมตีมุม หมากขาว           2    หนีบโจมตี ลำาดับการ
เดินนี้

                        4
                                         เหมือนกับโจเซกิที่   3   และโจเซกิที่   4   แต่โจเซกินี้หมากดำา   3   จะไม่
                                กระโดด
          1    3                         เข้ามุมแต่เลือกทีจะกระโดด
                                                          ่            1   เข้ากลางกระดานแทน หมากขาว               4
             B A                ต่อ
          2 8 9                          สองรับมือ ไม่ให้ถกหมากดำาปิดล้อม หมากดำา
                                                          ู                                  5   วกกลับมาคำ้าบ่า
          6 5                   โจมตี
          10 7
                                         หมากขาว เมื่อเดินจบที่หมากขาว 12 เราจะเห็นผลดังนี้
               11
                                         หมากขาวจะได้พื้นที่
          12
                                         หมากดำาจะได้อิทธิพลภายนอกและเป็นฝ่ายได้เลือกเดินต่อ หมากดำา
                    C           อาจ
                                         เลือกเดินต่อในตำาแหน่ง     A,B,C        ตามแผนการเล่น หรืออาจจะเลือก
                                เดินใน
                                         ที่อื่นๆก็ได้ ส่วนหมากขาวถ้าหมากดำาเลือกเดินในที่อื่น ตำาแหน่ง A
                                เป็น
                                         ตำาแหน่งที่เหมาะสมที่สุดที่หมากขาวสามารถเดินตัดหมากดำา


               โจเซกิที่    5

                                         หมากดำา 1 ดินเข้าโจมตีมุม หมากขาว 2 เดินตีหัวหมากดำา นี่เป้
                                         นรูปแบบการเล่นแบบหนึ่ง แน่นอนว่าหมากขาวจำาเป็นที่ต้องเดินเงย
                                         หัวขึ้นรับมือการเดินแบบนี้จะนำาไปสู่โจเซกิอกจำานวนหนึ่ง ซึ่งเราจะ
                                                                                    ี
                                         ได้ศกษาในโอกาสต่อไป
                                             ึ

          1 2
            3




                                         โจเซกิที่จุด   3-4

                                         หมาขาวยึดมุมอยู่ทจุด
                                                          ี่      3-4      หมากดำา     1   เดินเข้าโจมตีมุม

                        6
                                         หมากขาว  2 เดินเข้ากระแทกหมากดำา
          4                              หมากดำา 3 เดินชิดด้วย หมากขาว 4 เดินต่อสองให้แข็งแรง
          2 1                            หมากดำา 5 เดินต่อเชื่อมเพื่อให้แข็งแรงเช่นเดียวกัน
          3 5
                                         หมากขาว 6 กระโดด 1 ให้กลุ่มหมากอยู่ในรูปร่างที่ดี
                                         หมากดำา 7 กระโดดห่าง 3 เส้นทำาให้กลุ่มหมากอยู่ในรูปร่างที่ดี
                                เช่นเดียว
               7                         กัน เมื่อเดินจบแล้วเราจะเห็นผลดังนี้ หมากขาวจะได้พื้นที่ที่มุม
                                ขนาด
                                         ใหญ่      หมากดำาจะได้พื้นที่บริเวณด้านข้างและได้อิทธิส่งออกสู่
                                         กลาง
               โจเซกิที่    6            กระดานด้วย
4       6                            หมากดำา   1 เดินเข้าโจมตีมุม
          3                                    หมากขาว 2 เดินรับมือแบบตาม้าเล็ก
          5           2
                                               เมื่อเดินจบที่หมากดำา 7 เราจะเห็นผลได้ดังนี้
              1
                                               หมากดำาจะได้ขยายโครงสร้างพื้นที่ออกสู่ด้านข้าง
                                               หมากขาวยึดมุมไว้และพัฒนากลุ่มหมากให้อยูในรูปร่างที่แข็งแรง
                                                                                         ่


          7
              โจเซกิที่   7

                                               หมากดำา   1 เดินเข้าโจมตีมุม
                                               หมากขาว 2 เดินหนีบโจมตีเว้นห่างสอง
                      4       6                หมากดำา 3 กระโดด 1 เข้ากลางกระดาน
              1       3       5                หมากขาว 4 กระโดด 1 รับมือ
                                               เมื่อเดินจบที่หมากดำา 7 เราจะเห็นผลดังนี้
                                               หมากขาวจะได้พื้นที่ที่มุม หมากดำาจะได้โอกาสขยายอิทธิพลออกสู่
              2                       กลาง
                                               กระดาน และได้โจมตีหมากขาว        2    ด้วยหมากดำา   7
              7

              โจเซกิที่   8

                                               หมากดำา   1    เดินเข้าโจมตีมุม หมากขาว   2   เดินหนีบโจมตี หมาก
ดำา   3   เดิน
                                               แทยงรับมือ ป้องกันไม่ให้หมกาดำาเดินต่อเชื่อมที่ตำาแหน่ง   A   การ
              A 1                     เดินใน
                      3                        รูปแบบนี้จะนำาไปสู่โจเซกิอีกจำานวนหนึ่ง
              2




                                               โจเซกิที่จุด   3-3

                                               หมากขาวยึดมุมที่จด
                                                                ุ    3-3         1 เดินเข้าประชิดโจมตี
                                                                           หมากดำา
                          4
                  2                            หหมากขาว 2 เดดินชิดด้วยรับมือเมือเดินจบที่ หมากดำา 7 เราจะ
                                                                               ่
เห็นผล            1 3             5
      6

                  7
ดังนี้ หมากขาวจะได้พื้นที่ที่มุม และเป็นฝ่ายได้เลือกเดินต่อ
                          หมากดำาจะได้อิทธิพลภายนอก




โจเซกิที่   9

More Related Content

What's hot

การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนPrachyanun Nilsook
 
สูตรการหาพื้นที่
สูตรการหาพื้นที่สูตรการหาพื้นที่
สูตรการหาพื้นที่guest63819e
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลChavalit Deeudomwongsa
 
ประวัติวอลเลย์บอล
ประวัติวอลเลย์บอลประวัติวอลเลย์บอล
ประวัติวอลเลย์บอลTepasoon Songnaa
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
1แผนที่2
1แผนที่21แผนที่2
1แผนที่2yaowaluk
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...yindee Wedchasarn
 
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25Rittikai Kim
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2Chattichai
 

What's hot (20)

แผนภาพต้นไม้11
แผนภาพต้นไม้11แผนภาพต้นไม้11
แผนภาพต้นไม้11
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
 
สูตรการหาพื้นที่
สูตรการหาพื้นที่สูตรการหาพื้นที่
สูตรการหาพื้นที่
 
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปลรวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
รวมบทสวดพระพุทธมนต์ พร้อมคำแปล
 
ค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐานค่ามาตรฐาน
ค่ามาตรฐาน
 
ประวัติวอลเลย์บอล
ประวัติวอลเลย์บอลประวัติวอลเลย์บอล
ประวัติวอลเลย์บอล
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2
 
1แผนที่2
1แผนที่21แผนที่2
1แผนที่2
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25
แบบฝึกทักษะ คณิตฯ อัตราส่วน ม.2 หน้า 1 25
 
Math3tpc3
Math3tpc3Math3tpc3
Math3tpc3
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)ความเร่ง (Acceleration)
ความเร่ง (Acceleration)
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.
 
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2
บทที่ 2 ทฤษฏีการวัดและความคลาดเคลื่อน 2
 

Joseki

  • 1. โจเซกิ โจเซกิเป็นภาษาญีปุ่น แปลเป็นไทยว่า สูตรการเดินมาตรฐานซึ่งเราเรียกโดยทั่วไปว่าสูตรมุม ่ เพราะ โจเซกิโดยส่วนใหญ่ 90 % จะเกิดขึ้นบริเวณมุม โจเซกิมีมากมายนับหมื่นรูปแบบถ้าเราคิดจะจำาให้ หมดคงไม่สามารถทำาได้โดยง่าย และก็ไม่มีความจำาเป็นที่เราต้องจำาได้ให้หมดด้วย แต่เราจำาเป็นต้อง ศึกษาโจเซกิเบืองต้นทีต้องใช้บอยๆเพื่อให้การเดินของเรามีรูปแบบมาตรฐาน และไม่ตกเป็นฝ่ายเสีย ้ ่ ่ เปรียบโดยง่ายเมื่อถูกโจมตีแย่งมุม การที่เราจะใช้โจเซกิให้ได้ดีนั้นเราจะต้องคำานึงถึงความเหมาะสมของ สภาพแวดล้อมคือเม็ดหมากที่อยู่รอบข้างเป็นสำาคัญ ในหนังสือเบื้องต้นเล่มนี้จะยังไม่อธิบายอย่างละเอียด ลึกซึ้ง มีแต่เพียงลำาดับการเดินต่อเนื่องของโจเซกิในรูปแบบต่างๆเท่านั้น แต่ผู้ฝกหัดเล่นก็สามารถ ึ ทดลองนำาไปใช้ในการเล่นได้ จุดที่นิยมวางยึดมุม การยึดมุมที่ดีหมากของเราควรวางอยู่บนเส้น 3 เส้น 4 จุดที่นิยมวางยึดมุมโดยทั่วไปมีอยู่ 2 จุดคือ จุด 4-4 กับจุด 3-4 ในหนังสือเล่มนี้ยกตัวอย่างเฉพาะโจเซกิพื้นฐานที่เกี่ยวกับการยึดมุมที่จด 3-3, 3- ุ 4 และ 4-4 เท่านั้น การยึดมุมที่จุด 4-4 การยึดมุมทีจุด ่ 3-4 การยึดมุมที่จุด 3-3 โจเซกิที่จุด 4-4 หมากขาวยึดมุมอยู่ที่จุด 4-4 หมากดำาเข้าโจมตีมุมแบบตาม้า หมากขาว 2 เดินต่อสองรับมือ 4 6 หมากดำา 3 เดินลงที่เส้นสองเข้าแย่งมุม 3 2 หมากขาว 4 เดินป้องกันจุด 3-3 1 หมากดำา 5 ขยายเว้นห่าง 2 เส้นสร้างรูปร่างที่ดีให้กับกลุ่มหมาก หมากขาว 6 ขยายโครงสร้างให้ใหญ่ขึ้น หมากขาว 6 นี้จะวาง หรือไม่วาง 5 ก็ได้ถามีตำาแหน่งอื่นที่สามารถพัฒนาได้ควรวางยึดตำาแหน่งนั้นก่อน ้ โจเซกิที่ 1 เพราะเพียงแค่หมากขาว 3 เม็ดก็อยูในรูปร่างที่ดีมากแล้ว ่
  • 2. หมากขาวยึดมุมอยู่ที่จุด 4-4 หมากดำา 1 เข้าแย่งมุมที่จด ุ 3-3 9 10 11 เมื่อเดิน 1 2 12 3 ตามลำาดับการเดินจบที่หมากขาว 12 เราจะเห็นชัดเจนถึงการแลก เปลี่ยน 5 4 7 6 ที่เกิดขึ้น หมากดำาจะได้พื้นที่ที่มุมประมาณ 8- 10 คะแนน 8 หมากขาวจะได้อิทธิพลภายนอกที่มีคุณค่าไม่นอยกว่า 20 คะแนน ้ ข้อสังเกตสำาคัญ ถ้ามีหมากขาวเม็ดที่มมีเครื่องหมายสามเหลี่ยมอยู่ เมื่อหมากดำาบุกเข้ามาหมากขาวต้องเลือกปิดในทิศทางที่สัมพันธ์กับ หมากขาวเม็ดที่มีเคื่องหมายสามเหลี่ยมเพื่อให้เกิดรูปร่างโครงสร้าง พื้นที่ โจเซกิที่2 ที่มีขนาดใหญ่ การเดินปิดทีผิดทิศทางจะทำาให้หมากขาวเม็ดที่มี เครื่องหมายสามเหลี่ยมลดคุณค่าลงตามรูปประกอบข้างล่าง รูปประกอบนี้แสดงให้เห็นการเดินที่ไม่สัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม 5 7 ทำาให้หมากขาวเม็ดที่มีเครื่องหมายสามเหลี่ยมลดคุณค่าลง 11 1 3 4 6 8 9 2 10 12 รูปประกอบ หมากดำา 1 เดินเข้าโจมตีมุม หมากขาว 2 รับมือด้วยการหนีบ โจมตี 9 3 5 11 หมากดำา 3 กระโดดเข้ามุมยอมสละทิ้งหมากดำา 1 เมื่อเดินจบที่ 7 4 หมากดำา 6 8 10 1 11 เราจะเห็นผลดังนี้คือ หมากดำาจะได้พื้นที่ที่มุม ประมาณ 10 แต้มขึ้น 2 หมากขาวจะได้ความแข็งแรงภายนอกและเป็นฝ่ายได้เลือกเดินต่อ ในเกม หมากล้อมการเป็ยฝ่ายได้เลือกเดินต่อมีคุณค่ามาก การเดินในรูป แบบนี้ถึงแม้วาหมากขาวจะยังไม่มีพื้นที่ที่ชัดเจนแต่หมากขาวก็พอใจ ่ โจเซกิที่ 3 หมากดำา 1 เข้าโจมตีมุม หมากขาว 2 หนีบโจมตี หมากดำา 3 กระโดดเข้า 3 4 มุม ลำาดับการเดินสามเม็ดนี้เหมือนกับโจเซกิที่ 3 แต่เนื่องจากมี 5 หมาก 6 7 1 ขาวเม็ดที่มีเครืองหมายสามเหลี่ยมอยู่ หมากขาว ่ 4 จึงควรเดินปิด 8 พื้นที่ 2 ให้สัมพันธ์กับการมีอยู่ของหมากขาวสามเหลี่ยม เมื่อเดินจบที่หมาก ขาว 8 เราจะเห็นผลดังนี้คือ หมากขาวจะได้โครงสร้างพื้นที่ขนาดใหญ่ มาก หมากดำาจะได้พื้นที่ที่มุมและเป็นฝ่ายได้เลือกเดินต่อ โจเซกิที่ 4
  • 3. หมากดำา 1 เดินเข้าโจมตีมุม หมากขาว 2 หนีบโจมตี ลำาดับการ เดินนี้ 4 เหมือนกับโจเซกิที่ 3 และโจเซกิที่ 4 แต่โจเซกินี้หมากดำา 3 จะไม่ กระโดด 1 3 เข้ามุมแต่เลือกทีจะกระโดด ่ 1 เข้ากลางกระดานแทน หมากขาว 4 B A ต่อ 2 8 9 สองรับมือ ไม่ให้ถกหมากดำาปิดล้อม หมากดำา ู 5 วกกลับมาคำ้าบ่า 6 5 โจมตี 10 7 หมากขาว เมื่อเดินจบที่หมากขาว 12 เราจะเห็นผลดังนี้ 11 หมากขาวจะได้พื้นที่ 12 หมากดำาจะได้อิทธิพลภายนอกและเป็นฝ่ายได้เลือกเดินต่อ หมากดำา C อาจ เลือกเดินต่อในตำาแหน่ง A,B,C ตามแผนการเล่น หรืออาจจะเลือก เดินใน ที่อื่นๆก็ได้ ส่วนหมากขาวถ้าหมากดำาเลือกเดินในที่อื่น ตำาแหน่ง A เป็น ตำาแหน่งที่เหมาะสมที่สุดที่หมากขาวสามารถเดินตัดหมากดำา โจเซกิที่ 5 หมากดำา 1 ดินเข้าโจมตีมุม หมากขาว 2 เดินตีหัวหมากดำา นี่เป้ นรูปแบบการเล่นแบบหนึ่ง แน่นอนว่าหมากขาวจำาเป็นที่ต้องเดินเงย หัวขึ้นรับมือการเดินแบบนี้จะนำาไปสู่โจเซกิอกจำานวนหนึ่ง ซึ่งเราจะ ี ได้ศกษาในโอกาสต่อไป ึ 1 2 3 โจเซกิที่จุด 3-4 หมาขาวยึดมุมอยู่ทจุด ี่ 3-4 หมากดำา 1 เดินเข้าโจมตีมุม 6 หมากขาว 2 เดินเข้ากระแทกหมากดำา 4 หมากดำา 3 เดินชิดด้วย หมากขาว 4 เดินต่อสองให้แข็งแรง 2 1 หมากดำา 5 เดินต่อเชื่อมเพื่อให้แข็งแรงเช่นเดียวกัน 3 5 หมากขาว 6 กระโดด 1 ให้กลุ่มหมากอยู่ในรูปร่างที่ดี หมากดำา 7 กระโดดห่าง 3 เส้นทำาให้กลุ่มหมากอยู่ในรูปร่างที่ดี เช่นเดียว 7 กัน เมื่อเดินจบแล้วเราจะเห็นผลดังนี้ หมากขาวจะได้พื้นที่ที่มุม ขนาด ใหญ่ หมากดำาจะได้พื้นที่บริเวณด้านข้างและได้อิทธิส่งออกสู่ กลาง โจเซกิที่ 6 กระดานด้วย
  • 4. 4 6 หมากดำา 1 เดินเข้าโจมตีมุม 3 หมากขาว 2 เดินรับมือแบบตาม้าเล็ก 5 2 เมื่อเดินจบที่หมากดำา 7 เราจะเห็นผลได้ดังนี้ 1 หมากดำาจะได้ขยายโครงสร้างพื้นที่ออกสู่ด้านข้าง หมากขาวยึดมุมไว้และพัฒนากลุ่มหมากให้อยูในรูปร่างที่แข็งแรง ่ 7 โจเซกิที่ 7 หมากดำา 1 เดินเข้าโจมตีมุม หมากขาว 2 เดินหนีบโจมตีเว้นห่างสอง 4 6 หมากดำา 3 กระโดด 1 เข้ากลางกระดาน 1 3 5 หมากขาว 4 กระโดด 1 รับมือ เมื่อเดินจบที่หมากดำา 7 เราจะเห็นผลดังนี้ หมากขาวจะได้พื้นที่ที่มุม หมากดำาจะได้โอกาสขยายอิทธิพลออกสู่ 2 กลาง กระดาน และได้โจมตีหมากขาว 2 ด้วยหมากดำา 7 7 โจเซกิที่ 8 หมากดำา 1 เดินเข้าโจมตีมุม หมากขาว 2 เดินหนีบโจมตี หมาก ดำา 3 เดิน แทยงรับมือ ป้องกันไม่ให้หมกาดำาเดินต่อเชื่อมที่ตำาแหน่ง A การ A 1 เดินใน 3 รูปแบบนี้จะนำาไปสู่โจเซกิอีกจำานวนหนึ่ง 2 โจเซกิที่จุด 3-3 หมากขาวยึดมุมที่จด ุ 3-3 1 เดินเข้าประชิดโจมตี หมากดำา 4 2 หหมากขาว 2 เดดินชิดด้วยรับมือเมือเดินจบที่ หมากดำา 7 เราจะ ่ เห็นผล 1 3 5 6 7