SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
1



                 ศักยภาพค้าปลีกไทยในอาเซียน
                                             ดร.ดนั ย เทียนพุฒ

         เม่ ือเราพูดกันถึงเร่ ืองค้าปลีกในเมืองไทย เรามักจะเข้าใจกันในเร่ ือง
ของร้านโชว์ห่วยหรือร้านสะดวกซ้ือแบบดังเดิม ร้านค้าปลีกและร้านค้าส่ง
                                                 ้
(Traditional Trade) ท่ีต่อสู้กับค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) ซ่ ึงไม่แน่ ใจเหมือน
กันว่าในบริบทของโลกท่ีเปล่ียนแปลงในทุกๆ ด้าน คนไทยเราต้องถูกจำากัด
ให้สนั บสนุนและซ้ือสินค้าแพงๆ จาก “ร้านค้าปลีกแบบดังเดิม” ตามท่ีผู้เสีย
                                                                 ้
ประโยชน์ (ผู้ผลิตสินค้าและร้านค้าปลีกจากผู้ผลิตสินค้า ฯลฯ) กับภาครัฐท่ี
เข้ามาต่อสู้ในเร่ ืองนี้ด้วยวิธีทางนิ ติรัฐ (Trade Policies) โดยการออกกฎหมายค้า
ปลีก

              ความจริงแล้ว “ค้าปลีก (Retailing)“ นั ้นมีบริบทท่ีซำาซ้อนกว่าท่ีสาย
                                                                  ้
ตามคนทัวๆ ไปจะมองเห็นได้ เพราะเราเห็นเพียงภาพค้าปลีกท่ีมีคนเดิน
           ่
เข้าไปซ้ือหรือช็อปปิ้ งสินค้า ทังๆ ท่ียังมีซัพพลายเออร์ท่ีส่งสินค้าเข้าร้านค้า
                                  ้
ปลีก มีผู้ได้สิทธิในการเป็ นผ้จำาหน่ วยสินค้าแบรนด์ดังๆ หรือแบรนด์หรู
                                ู
(Luxury Brands) และรีเทลดีเวลลอปเปอร์ (Retail Developer) ซ่ ึงเป็ นผู้พัฒนาท่ีว่าง
เปล่าขึ้นมาเป็ นศูนย์การค้าและมีทีมหรือผู้รับจ้างเข้ามาบริหารสินทรัพย์ (
พ้ืนท่ีอาคาร/พ้ืนท่ีให้เช่า) และนั กลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์

              มิติต่างๆ ท่ีพูดมานี้เป็ นองค์ประกอบท่ีสำาคัญไม่แพ้ช่องทางจัด
จำาหน่ าย เช่น ร้านค้าปลีก (Retailer)

ค้าปลีกไทยจะก้าวท้าชิงในอาเซียน

             ในอนาคต ٢٠١٥ ใกล้ๆ นี้มีทางเป็ นไปได้ไหมท่ียักษ์ คาปลีกไทย้
จะก้าวไปแข่งขันในกลุ่มอาเซียนเพราะเง่ ือนไข AEC Blueprint ท่ีจะทำาให้
อาเซียนเป็ นตลาดเดียวมีกำาลังซ้ือ ٥٧٠ ล้านคนโดยประมาณ ฉะนั ้นเหล่า
บรรดา Central The Mall Future Park Rangsit Siam Discovery Gaysorn Plaza Home pro
หรือแม้กระทัง Index Living Mall มีความพร้อมหรือศักยภาพขนาดไหน อาจเป็ น
              ่
เพียงความสามารถในการไปเปิ ดดำาเนิ นการในจีนและประเทศเพ่ ือนบ้านได้ ٢
٣- สาขาและส่วนใหญ่อาจจำาเป็ นต้องปั กปลักต่อสู้อยู่เฉพาะในประเทศไทย
ด้วยข้อจำากัดในด้านทุน และ โนว์ฮาว์คาปลีก้
2


            การวิจัยตลาดค้าปลีก “How Global is the Business of Retail?“ ประจำาปี ٢
٥٥٢ โดย ซีบีริชาร์ตแอลลิส (CBRE) ( อ้างจาก http://www.thaipr.net, 23 เม.ย.٥٢) ท ่ี
สำา รวจร้านค้าปลีกชันนำ า ระดับโลก ٢٨٠แบรนด์ใน ٦٧ ประเทศทัวโลกพบว่า
                    ้                                                 ่
อังกฤษเป็ นประเทศอันดับ ١ ท่ีมีร้านค้าปลีกข้ามชาติมากท่ีสุดในโลก โดย
ร้านค้าปลีกระดับหรูเป็ นผู้นำาในด้านการมีสาขาครอบคลุมทัวโลก โดยท่ีร้าน
                                                                ่
ค้าปลีกดังกล่าว ٩٠% มีสาขาในต่างประเทศมากกว่า ١٠ แห่งและร้านค้าปลีก ٤
٠% มีสาขามากกว่า ٣٠ ประเทศ

                สำา หรั บ ประเทศไทยร้ า นค้ า ปลี ก ระดั บ โลกมี เ ข้ า มาเปิ ดอยู่ ใ น
อั น ดั บ ท่ี ٣٠ ตามหลั ง ชาติ ใ นเอเชี ย เช่ น จี น ญ่ีปุ่ น สิ ง คโปร์ ฮ่ อ งกงและ
มาเลเซีย ประเทศไทยอยู่ในลำา ดับท่ีค้อนข้างสูงในแง่ของการเปิ ดสาขาใหม่
ของร้านค้าหมวดเส้ือผ้าและรองเท้า รวมถึงการเข้ามาเปิ ดสาขาของแบรนด์
สินค้าระดับหรู
                            Top International Retail Markets

                                         % of International    % of International
       2008                                                                          2007
                      Country            Retailers Present     Retailers Present
       Rank                                                                         Remark
                                               2008                  2007

         1    United Kingdom                   58%                   55%               1
         2    Spain                            48%                   47%               2
         3    France                           46%                   43%               4
         4    United Arab Emirates             45%                   39%               6
         5    Germany                          45%                   44%               3
         6    China                            42%                   37%              10
         7    Russia                           41%                   38%               9
         8    Italy                            41%                   40%               5
         9    Switzerland                      40%                   38%               8
        10    United States                    39%                   39%               7
        14    Japan                            37%                   33%              13
        16    Singapore                        36%                   33%              14
        18    Hong Kong                        34%                   31%              19
        26    Malaysia                         33%                   32%              15
        30    Thailand                         27%                   27%              27
        33    Australia                        26%                   22%              32
        34    Indonesia                        25%                   20%              35
        42    Philippines                      19%                   19%              38
        55    New Zealand                      14%                   14%              50
        63    Vietnam                          9%                     8%              62
           Percentages relate to sample of retailers surveyed for the
     How Global is the Business of Retails? report 2009
    *http://www.thaipr.net (23 เม.ย.52)
3


              สำา หรั บ นั ก พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ด้ า นค้ า ปลี ก (Retail Developer)
หรือรีเทลดีเวลลอปเปอร์ท่ีน่ากลัวหรือมีศักยภาพสูง ซ่ ึงปั จจุบันได้ก้าวเข้ามา
ลงทุ น หรื อ ร่ ว มลงทุ น ในประเทศไทย เช่ น Hong Kong Land (อยู่ ใ นเครื อ ของ
Jardin Matheson Group) มีการร่วมทุนกับกลุ่มเกษร (กลุ่มศรีวิกรม์) โดยปั จจุบัน
ลงทุ น ในประเทศจี น (٥٢%) เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ยงใต้ (٤٣%) ในสหราช
อาณาจักร (2%) และส่วนท่ีเหลือของโลก (٣%) ซ่ ึง Hong Kong Land สร้างผลกำาไร
ในปี ٢٠٠٨ อยู่ท่ี ١٧% ของธุรกิจในกลุ่ม

             อีกกลุ่มจะเป็ น CapitaLand ท่ีเป็ นนั กพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ซ่ึงมุ่ง
ในเมืองท่ีเติบโตในเอเชีย-แปซิฟิค ยุโรป ประเทศ GCC (Gulf Co-operation Council)
ในประเทศไทยได้ ร่ ว มทุ น กั บ กลุ่ ม TCCLand CapitaLand มี จำา นวนมอลล์ (Mall)
มากกว่า ١١٠ ศูนย์และมีรายได้เพ่ิมในกลุ่มนี้ ٣١.٣% จากการลงทุนในพ้ืนท่ี
Clarke Quay และ ศูนย์การค้าในจีน มีรายได้จากค่าธรรมเนี ยมการบริหารพร็อพ
เพอร์ตีจาก China Malls โดยเฉพาะท่ีเพ่ิงเปิ ดใหม่ในสิงคโปร์คือ ION Orchard
        ้




             ผู้เขียนเพ่ิงกลับมาจากสิงคโปร์ (ไปเม่ ือช่วงต้นเดือนตุลาคม ٥٢)
ส่ิงท่ีพบเห็นด้านค้าปลีกของสิงคโปร์แล้วน่ าสนใจทีเดียวครับ

              1)   ถนน Orchard คราวนี้ มีการเปล่ียนแปลงท่ีสูงมากกว่าปี ท่ีผ่านๆ
                   มาเพราะ

                   -   ได้ ป รั บ โฉมเข้ า ไปสู่ “ Prestige Street” แบบระดั บ โลก เช่ น
                       London Paris Tokyo New York, Sydney

                   -   มี ม อลล์ (Mall) หรื อ Shopping Mall เปิ ดใหม่ ห ลายๆ แห่ งโดย
                       เฉพาะการเป็ น Mall ท่ีเน้ น “แบรนด์ห รู (Luxury Brands)” ทั ง้
                       Prada LV Burberry Giorgio Armani
4




                          อีกทังยังแสดงประติมากรรมสมัยใหม่เพ่ ือบ่ง
                               ้
บอกรสนิ ยมของผู้บริโภคชาวสิงคโปร์ว่าขึ้นอีกระดับหน่ ึงด้วย




                                                            ครา
                              ว                             นี้
                                                            หาก
พิจารณาถึงร้านค้าปลีกของไทยว่าจะมีศักยภาพในการแข่งขันขนาดไหนคง
ต้องดูหลาย ๆ ปั จจัย

       ประการแรก เราเช่ียวชาญด้านการค้าปลีกขนาดไหน หากย้อนหลัง
ไปถึงพัฒนาการด้านการค้าขายของไทย

       คำาว่า การค้าขาย หรือการค้า หมายถึงการตกลงแลกเปล่ียนสินค้า
หรือบริการ หรือ ทังสองอย่าง การค้าขายสามารถเรียกอีกอย่างหน่ ึงคือ การ
                    ้
ค้าขายเชิงพาณิ ชย์ (Commerce) กลไกหรือสถานท่ีท่ีสามารถมีการค้าขายเรียก
ว่า ตลาด(market) รูปแบบเร่ิมต้นของการค้าขายเป็ นการแลกเปล่ียนสินค้า
หรือบริการโดยตรงระหว่างผู้ค้า (http;//th.wikipedia.org)

          วิวัฒนาการการค้าของไทย ผู้เขียนได้สรุปไว้เป็ นยุคอย่างได้ดังนี้

           ยุคแรก คือยุคสุโขทัย จะเป็ นลักษณะของการแลกเปล่ียนวัตถุ
ส่ิงของหรือสินค้าท่ีจำาเป้ นในการดำารงชีพของคนในสมัยนั ้นหรือระหว่างครัว
เรือน ดังปรากฏในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำาแหงด้านท่ี ١ ว่า
5


”เม่ ือชัวพ่อขุนรามคำาแหง
         ่                 เมืองสุโขทัยนี้ดี ในนำ ้ ามีปลาในนามีข้าว เจ้าเมืองบ่
เอาจังกอบในไพร่ ลู่ทางเพ่ ือนจูงวัวไปค้า ข่ีม้าไปขาย ใครจักใคร่ค้าช้างค้า ใคร
จักค้าม้าค้า ใครจักค้าเงือนค้าทองค้า ไฟฟ้ าหน้ าใส”
(http://www.info.ru.ac.th/province/sukhothai/srjsd11-4.htm)

     ยุคต่อมาเป็ นยุคอยุธยา การค้าเป็ นการแลกเปล่ียนสินค้าซ่ ึงกันและ
กันมากกว่าการใช้ระบบ

เงินตรา ศูนย์กลางการค้าขายมักอยู่ริมฝั่ งแม่นำ้า ลำาคลอง มีทังบ้านเรือนและ
                                                             ้
เรือนแพ ใช้เรือสัญจรไปมาค้าขายส่วนมากพ่อค้าเป็ นชาวจีนท่ีนำาผ้า ถ้วยชาม
และเคร่ ืองใช้เบ็ดเตล็ดจากเมืองจีนมาแลกข้าว ฝ้ ายและผลผลิตจากคนไทย
ปกติสมัยนั ้นจะเป็ นตลาดเป็ นย่าน ๆ ไป เช่นตลาดย่านป่ ามะพร้าวขาย
มะพร้าว การค้าขายกับตะวันตก จนมีการจัดตังพระคลังข้างท่ีขึ้นเพ่ ือดำาเนิ น
                                             ้
การค้า รวมถึงการแต่งเรือสำาเภาออกไปค้าขายต่างประเทศ

         ยุคกรุงธนบุร ี       เป็ นช่วงการค้าขายไม่ดีเพราะเพ่ิงกู้อิสรภาพขึ้น
มา     จึงเป็ นการฟ้ืนฟูการค้าขายขึ้นมาใหม่โดยเฉพาะทางทะเล

       ยุคกรุงรัตนโกสินทร์สภาพแรกยังเป็ นเหมือน สมัยอยุธยาคือมีทังตลาด ้
นำ ้ าและเรือนแพ และมีตลาดบกท่ีรู้จักว่าย่านสำาเพ็งซ่ ึงพ่อค้าส่วนใหญ่เป็ น
ชาวจีน

       ห้างการค้าหรืออาจจะเรียกว่า ร้านค้าปลีก ถ้ารูปแบบห้างค้าขายของ
ไทยเท่าท่ีมีหลักฐานน่ าจะอยู่ในราวรัชกาลท่ี ٥ เช่นห้างรัตนมาลา ห้าง
ประดิษฐ์สุคนธา
6

More Related Content

Similar to ศักยภาพค้าปลีกไทยในอาเซียน

02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp universitythammasat university
 
It’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้ว
It’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้วIt’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้ว
It’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้วmaruay songtanin
 
ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด
 ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด
ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาดDrDanai Thienphut
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกarm_smiley
 

Similar to ศักยภาพค้าปลีกไทยในอาเซียน (10)

Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university02 การจัดการเชิงกลยุทธ์  version tp university
02 การจัดการเชิงกลยุทธ์ version tp university
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
งานส่ง
งานส่งงานส่ง
งานส่ง
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
It’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้ว
It’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้วIt’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้ว
It’s showtime! ได้เวลาแสดงแล้ว
 
ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด
 ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด
ทำไมธุรกิจจึงต้องทำวิจัยตลาด
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
บทวิเคราะห์สภาพการแข่งขันสินค้าในประเทศ
บทวิเคราะห์สภาพการแข่งขันสินค้าในประเทศบทวิเคราะห์สภาพการแข่งขันสินค้าในประเทศ
บทวิเคราะห์สภาพการแข่งขันสินค้าในประเทศ
 

More from DrDanai Thienphut

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsDrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติDrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutDrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังDrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนDrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyDrDanai Thienphut
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธDrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentDrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 

More from DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

ศักยภาพค้าปลีกไทยในอาเซียน

  • 1. 1 ศักยภาพค้าปลีกไทยในอาเซียน ดร.ดนั ย เทียนพุฒ เม่ ือเราพูดกันถึงเร่ ืองค้าปลีกในเมืองไทย เรามักจะเข้าใจกันในเร่ ือง ของร้านโชว์ห่วยหรือร้านสะดวกซ้ือแบบดังเดิม ร้านค้าปลีกและร้านค้าส่ง ้ (Traditional Trade) ท่ีต่อสู้กับค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) ซ่ ึงไม่แน่ ใจเหมือน กันว่าในบริบทของโลกท่ีเปล่ียนแปลงในทุกๆ ด้าน คนไทยเราต้องถูกจำากัด ให้สนั บสนุนและซ้ือสินค้าแพงๆ จาก “ร้านค้าปลีกแบบดังเดิม” ตามท่ีผู้เสีย ้ ประโยชน์ (ผู้ผลิตสินค้าและร้านค้าปลีกจากผู้ผลิตสินค้า ฯลฯ) กับภาครัฐท่ี เข้ามาต่อสู้ในเร่ ืองนี้ด้วยวิธีทางนิ ติรัฐ (Trade Policies) โดยการออกกฎหมายค้า ปลีก ความจริงแล้ว “ค้าปลีก (Retailing)“ นั ้นมีบริบทท่ีซำาซ้อนกว่าท่ีสาย ้ ตามคนทัวๆ ไปจะมองเห็นได้ เพราะเราเห็นเพียงภาพค้าปลีกท่ีมีคนเดิน ่ เข้าไปซ้ือหรือช็อปปิ้ งสินค้า ทังๆ ท่ียังมีซัพพลายเออร์ท่ีส่งสินค้าเข้าร้านค้า ้ ปลีก มีผู้ได้สิทธิในการเป็ นผ้จำาหน่ วยสินค้าแบรนด์ดังๆ หรือแบรนด์หรู ู (Luxury Brands) และรีเทลดีเวลลอปเปอร์ (Retail Developer) ซ่ ึงเป็ นผู้พัฒนาท่ีว่าง เปล่าขึ้นมาเป็ นศูนย์การค้าและมีทีมหรือผู้รับจ้างเข้ามาบริหารสินทรัพย์ ( พ้ืนท่ีอาคาร/พ้ืนท่ีให้เช่า) และนั กลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ มิติต่างๆ ท่ีพูดมานี้เป็ นองค์ประกอบท่ีสำาคัญไม่แพ้ช่องทางจัด จำาหน่ าย เช่น ร้านค้าปลีก (Retailer) ค้าปลีกไทยจะก้าวท้าชิงในอาเซียน ในอนาคต ٢٠١٥ ใกล้ๆ นี้มีทางเป็ นไปได้ไหมท่ียักษ์ คาปลีกไทย้ จะก้าวไปแข่งขันในกลุ่มอาเซียนเพราะเง่ ือนไข AEC Blueprint ท่ีจะทำาให้ อาเซียนเป็ นตลาดเดียวมีกำาลังซ้ือ ٥٧٠ ล้านคนโดยประมาณ ฉะนั ้นเหล่า บรรดา Central The Mall Future Park Rangsit Siam Discovery Gaysorn Plaza Home pro หรือแม้กระทัง Index Living Mall มีความพร้อมหรือศักยภาพขนาดไหน อาจเป็ น ่ เพียงความสามารถในการไปเปิ ดดำาเนิ นการในจีนและประเทศเพ่ ือนบ้านได้ ٢ ٣- สาขาและส่วนใหญ่อาจจำาเป็ นต้องปั กปลักต่อสู้อยู่เฉพาะในประเทศไทย ด้วยข้อจำากัดในด้านทุน และ โนว์ฮาว์คาปลีก้
  • 2. 2 การวิจัยตลาดค้าปลีก “How Global is the Business of Retail?“ ประจำาปี ٢ ٥٥٢ โดย ซีบีริชาร์ตแอลลิส (CBRE) ( อ้างจาก http://www.thaipr.net, 23 เม.ย.٥٢) ท ่ี สำา รวจร้านค้าปลีกชันนำ า ระดับโลก ٢٨٠แบรนด์ใน ٦٧ ประเทศทัวโลกพบว่า ้ ่ อังกฤษเป็ นประเทศอันดับ ١ ท่ีมีร้านค้าปลีกข้ามชาติมากท่ีสุดในโลก โดย ร้านค้าปลีกระดับหรูเป็ นผู้นำาในด้านการมีสาขาครอบคลุมทัวโลก โดยท่ีร้าน ่ ค้าปลีกดังกล่าว ٩٠% มีสาขาในต่างประเทศมากกว่า ١٠ แห่งและร้านค้าปลีก ٤ ٠% มีสาขามากกว่า ٣٠ ประเทศ สำา หรั บ ประเทศไทยร้ า นค้ า ปลี ก ระดั บ โลกมี เ ข้ า มาเปิ ดอยู่ ใ น อั น ดั บ ท่ี ٣٠ ตามหลั ง ชาติ ใ นเอเชี ย เช่ น จี น ญ่ีปุ่ น สิ ง คโปร์ ฮ่ อ งกงและ มาเลเซีย ประเทศไทยอยู่ในลำา ดับท่ีค้อนข้างสูงในแง่ของการเปิ ดสาขาใหม่ ของร้านค้าหมวดเส้ือผ้าและรองเท้า รวมถึงการเข้ามาเปิ ดสาขาของแบรนด์ สินค้าระดับหรู Top International Retail Markets % of International % of International 2008 2007 Country Retailers Present Retailers Present Rank Remark 2008 2007 1 United Kingdom 58% 55% 1 2 Spain 48% 47% 2 3 France 46% 43% 4 4 United Arab Emirates 45% 39% 6 5 Germany 45% 44% 3 6 China 42% 37% 10 7 Russia 41% 38% 9 8 Italy 41% 40% 5 9 Switzerland 40% 38% 8 10 United States 39% 39% 7 14 Japan 37% 33% 13 16 Singapore 36% 33% 14 18 Hong Kong 34% 31% 19 26 Malaysia 33% 32% 15 30 Thailand 27% 27% 27 33 Australia 26% 22% 32 34 Indonesia 25% 20% 35 42 Philippines 19% 19% 38 55 New Zealand 14% 14% 50 63 Vietnam 9% 8% 62 Percentages relate to sample of retailers surveyed for the How Global is the Business of Retails? report 2009 *http://www.thaipr.net (23 เม.ย.52)
  • 3. 3 สำา หรั บ นั ก พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ด้ า นค้ า ปลี ก (Retail Developer) หรือรีเทลดีเวลลอปเปอร์ท่ีน่ากลัวหรือมีศักยภาพสูง ซ่ ึงปั จจุบันได้ก้าวเข้ามา ลงทุ น หรื อ ร่ ว มลงทุ น ในประเทศไทย เช่ น Hong Kong Land (อยู่ ใ นเครื อ ของ Jardin Matheson Group) มีการร่วมทุนกับกลุ่มเกษร (กลุ่มศรีวิกรม์) โดยปั จจุบัน ลงทุ น ในประเทศจี น (٥٢%) เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ยงใต้ (٤٣%) ในสหราช อาณาจักร (2%) และส่วนท่ีเหลือของโลก (٣%) ซ่ ึง Hong Kong Land สร้างผลกำาไร ในปี ٢٠٠٨ อยู่ท่ี ١٧% ของธุรกิจในกลุ่ม อีกกลุ่มจะเป็ น CapitaLand ท่ีเป็ นนั กพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ซ่ึงมุ่ง ในเมืองท่ีเติบโตในเอเชีย-แปซิฟิค ยุโรป ประเทศ GCC (Gulf Co-operation Council) ในประเทศไทยได้ ร่ ว มทุ น กั บ กลุ่ ม TCCLand CapitaLand มี จำา นวนมอลล์ (Mall) มากกว่า ١١٠ ศูนย์และมีรายได้เพ่ิมในกลุ่มนี้ ٣١.٣% จากการลงทุนในพ้ืนท่ี Clarke Quay และ ศูนย์การค้าในจีน มีรายได้จากค่าธรรมเนี ยมการบริหารพร็อพ เพอร์ตีจาก China Malls โดยเฉพาะท่ีเพ่ิงเปิ ดใหม่ในสิงคโปร์คือ ION Orchard ้ ผู้เขียนเพ่ิงกลับมาจากสิงคโปร์ (ไปเม่ ือช่วงต้นเดือนตุลาคม ٥٢) ส่ิงท่ีพบเห็นด้านค้าปลีกของสิงคโปร์แล้วน่ าสนใจทีเดียวครับ 1) ถนน Orchard คราวนี้ มีการเปล่ียนแปลงท่ีสูงมากกว่าปี ท่ีผ่านๆ มาเพราะ - ได้ ป รั บ โฉมเข้ า ไปสู่ “ Prestige Street” แบบระดั บ โลก เช่ น London Paris Tokyo New York, Sydney - มี ม อลล์ (Mall) หรื อ Shopping Mall เปิ ดใหม่ ห ลายๆ แห่ งโดย เฉพาะการเป็ น Mall ท่ีเน้ น “แบรนด์ห รู (Luxury Brands)” ทั ง้ Prada LV Burberry Giorgio Armani
  • 4. 4 อีกทังยังแสดงประติมากรรมสมัยใหม่เพ่ ือบ่ง ้ บอกรสนิ ยมของผู้บริโภคชาวสิงคโปร์ว่าขึ้นอีกระดับหน่ ึงด้วย ครา ว นี้ หาก พิจารณาถึงร้านค้าปลีกของไทยว่าจะมีศักยภาพในการแข่งขันขนาดไหนคง ต้องดูหลาย ๆ ปั จจัย ประการแรก เราเช่ียวชาญด้านการค้าปลีกขนาดไหน หากย้อนหลัง ไปถึงพัฒนาการด้านการค้าขายของไทย คำาว่า การค้าขาย หรือการค้า หมายถึงการตกลงแลกเปล่ียนสินค้า หรือบริการ หรือ ทังสองอย่าง การค้าขายสามารถเรียกอีกอย่างหน่ ึงคือ การ ้ ค้าขายเชิงพาณิ ชย์ (Commerce) กลไกหรือสถานท่ีท่ีสามารถมีการค้าขายเรียก ว่า ตลาด(market) รูปแบบเร่ิมต้นของการค้าขายเป็ นการแลกเปล่ียนสินค้า หรือบริการโดยตรงระหว่างผู้ค้า (http;//th.wikipedia.org) วิวัฒนาการการค้าของไทย ผู้เขียนได้สรุปไว้เป็ นยุคอย่างได้ดังนี้ ยุคแรก คือยุคสุโขทัย จะเป็ นลักษณะของการแลกเปล่ียนวัตถุ ส่ิงของหรือสินค้าท่ีจำาเป้ นในการดำารงชีพของคนในสมัยนั ้นหรือระหว่างครัว เรือน ดังปรากฏในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำาแหงด้านท่ี ١ ว่า
  • 5. 5 ”เม่ ือชัวพ่อขุนรามคำาแหง ่ เมืองสุโขทัยนี้ดี ในนำ ้ ามีปลาในนามีข้าว เจ้าเมืองบ่ เอาจังกอบในไพร่ ลู่ทางเพ่ ือนจูงวัวไปค้า ข่ีม้าไปขาย ใครจักใคร่ค้าช้างค้า ใคร จักค้าม้าค้า ใครจักค้าเงือนค้าทองค้า ไฟฟ้ าหน้ าใส” (http://www.info.ru.ac.th/province/sukhothai/srjsd11-4.htm) ยุคต่อมาเป็ นยุคอยุธยา การค้าเป็ นการแลกเปล่ียนสินค้าซ่ ึงกันและ กันมากกว่าการใช้ระบบ เงินตรา ศูนย์กลางการค้าขายมักอยู่ริมฝั่ งแม่นำ้า ลำาคลอง มีทังบ้านเรือนและ ้ เรือนแพ ใช้เรือสัญจรไปมาค้าขายส่วนมากพ่อค้าเป็ นชาวจีนท่ีนำาผ้า ถ้วยชาม และเคร่ ืองใช้เบ็ดเตล็ดจากเมืองจีนมาแลกข้าว ฝ้ ายและผลผลิตจากคนไทย ปกติสมัยนั ้นจะเป็ นตลาดเป็ นย่าน ๆ ไป เช่นตลาดย่านป่ ามะพร้าวขาย มะพร้าว การค้าขายกับตะวันตก จนมีการจัดตังพระคลังข้างท่ีขึ้นเพ่ ือดำาเนิ น ้ การค้า รวมถึงการแต่งเรือสำาเภาออกไปค้าขายต่างประเทศ ยุคกรุงธนบุร ี เป็ นช่วงการค้าขายไม่ดีเพราะเพ่ิงกู้อิสรภาพขึ้น มา จึงเป็ นการฟ้ืนฟูการค้าขายขึ้นมาใหม่โดยเฉพาะทางทะเล ยุคกรุงรัตนโกสินทร์สภาพแรกยังเป็ นเหมือน สมัยอยุธยาคือมีทังตลาด ้ นำ ้ าและเรือนแพ และมีตลาดบกท่ีรู้จักว่าย่านสำาเพ็งซ่ ึงพ่อค้าส่วนใหญ่เป็ น ชาวจีน ห้างการค้าหรืออาจจะเรียกว่า ร้านค้าปลีก ถ้ารูปแบบห้างค้าขายของ ไทยเท่าท่ีมีหลักฐานน่ าจะอยู่ในราวรัชกาลท่ี ٥ เช่นห้างรัตนมาลา ห้าง ประดิษฐ์สุคนธา
  • 6. 6