SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
การสอบประเมินมาตรฐานอาชีพ และคุณวุฒิวิชาชีพ
สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
สาขาซอฟต์แวร์และการประยุกต์ (Software and Applications)
อ า ชี พ นั ก พั ฒ น า ร ะ บ บ ชั้ น 3 ( D e v e l o p e r ) ห น้ า 4 | 8
อาชีพนักพัฒนาระบบ ชั้น 3 (Developer)
คุณลักษณะของผลการเรียนรู้
เป็นผู้ที่มีสมรรถนะในการดาเนินการพัฒนาโปรแกรม สามารถแปลงหน้าจอ (GUI) และ/หรือลาดับงาน (Work
Flow) เป็นผังไหล (Flowchart) พัฒนาโปรแกรมตามผังไหล (Flowchart) เป็นผู้ที่มีสมรรถนะในการทดสอบโปรแกรมย่อย
สามารถออกแบบ บททดสอบโปรแกรมย่อย (Unit Test Script) ตรวจสอบบททดสอบโปรแกรมย่อย ทดสอบโปรแกรมย่อย
(Unit Test: UT) ตามบททดสอบ บันทึกข้อผิดพลาดจากการทดสอบโปรแกรมย่อย
คุณสมบัติผู้เข้ารับการประเมิน
1. นักศึกษา ที่กาลังศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ถึงระดับอุดมศึกษา ในสถาบันการศึกษา
ภาครัฐ และเอกชน ในสาขาที่เกี่ยวข้อง
2. มีบัตรประจาตัวประชาชน และบัตรประจาตัวนักศึกษา และมีสัญชาติไทย
3. มีความรู้พื้นฐานในการใช้งานโปรแกรม Microsoft Access, Microsoft Word, Microsoft Visio เป็นต้น
4. สิทธิ์ในการประเมินมาตรฐานอาชีพได้ 1 อาชีพ/คน และมาตรฐานสมรรถนะได้ 1 ครั้ง/คน
กลุ่มอาชีพที่เกี่ยวข้อง (Target Group)
นักพัฒนาซอฟต์แวร์ นักพัฒนาเว็บไซต์และสื่อผสม โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์และพัฒนาซอฟต์แวร์ และโปรแกรม
ประยุกต์ ซึ่งไม่ได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น ผู้ฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยสมรรถนะที่ใช้ในการประเมิน
1. ดาเนินการพัฒนาโปรแกรม
2. ทดสอบโปรแกรมย่อย
การสอบประเมิน
1. ภาคทฤษฎี ข้อสอบปรนัย แบบเลือกตอบ
2. ภาคปฏิบัติ ข้อสอบแบบปฏิบัติ ตามที่โจทย์กาหนด บนเครื่องคอมพิวเตอร์
ระยะเวลาการประเมิน
จานวน 6 ชั่วโมง 30 นาที
การสอบประเมินมาตรฐานอาชีพ และคุณวุฒิวิชาชีพ
สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
สาขาซอฟต์แวร์และการประยุกต์ (Software and Applications)
อ า ชี พ นั ก พั ฒ น า ร ะ บ บ ชั้ น 3 ( D e v e l o p e r ) ห น้ า 5 | 8
กาหนดการประเมิน
09.00 – 11.00 น. แนะนา และอธิบายกระบวนการประเมิน พร้อมแนวทางการสอบประเมิน
- ออกแบบบททดสอบโปรแกรมย่อย (Unit Test Script) เช่น Select Insert Update Delete
- อ่านแบบร่างหน้าจอ (GUI) ลาดับงาน (Work Flow) ได้อย่างถูกต้อง
- เขียนผังไหล (Flowchart) ได้ตามที่กาหนด
- การดาเนินการพัฒนาโปรแกรมตาม แบบร่างหน้าจอ (GUI) ได้อย่างถูกต้อง
11.00 – 11.30 น. สอบภาคทฤษฎี
11.30 – 12.30 น. พักเที่ยง
12.30 – 16.30 น. สอบภาคปฏิบัติ
อุปกรณ์ที่ต้องใช้สาหรับ อาชีพนักพัฒนาระบบ ชั้น 3 (Developer)
ลาดับ อุปกรณ์ จานวน หมายเหตุ
1 คอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง เครื่องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่องต่อผู้เข้ารับการประเมิน 1 คน
2 ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการประเมิน 4 ซอฟท์แวร์
Microsoft Word, Microsoft Access, Microsoft Visio
หรือ Libreoffice Draw
รายละเอียดของแต่ละอุปกรณ์
1. คอมพิวเตอร์ที่พร้อมใช้งานรายละเอียดดังนี้
1.1. มีหน่วยความจาไม่น้อยกว่า 4 GB
1.2. ติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows 7 sp1 / Windows 8.1 / Windows 10
2. ซอฟต์แวร์ที่พร้อมใช้งานรายละเอียดดังนี้
2.1 Microsoft Word Version
2010 / 2013 / 2016
2.2 Microsoft Access Version
2010 / 2013 / 2016
2.3 Microsoft Visio Version
2010 / 2013 / 2016
2.4 Libreoffice Draw
** ผู้เข้ารับการประเมิน เลือกซอฟต์แวร์อย่างใด อย่างหนึ่ง ในการสอบภาคปฏิบัติ ตามความถนัด**
การสอบประเมินมาตรฐานอาชีพ และคุณวุฒิวิชาชีพ
สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
สาขาซอฟต์แวร์และการประยุกต์ (Software and Applications)
อ า ชี พ นั ก พั ฒ น า ร ะ บ บ ชั้ น 3 ( D e v e l o p e r ) ห น้ า 6 | 8
หน่วยสมรรถนะของคุณวุฒิวิชาชีพนี้
หน่วยสมรรถนะ สมรรถนะย่อย เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน
Key Functions Element of Competency Performance Criteria
คาอธิบาย รหัส คาอธิบาย คาอธิบาย
ทดสอบโปรแกรมย่อย 10302.01 ออกแบบบททดสอบโปรแกรมย่อย
(Unit Test Script)
1.1 อ่านผังไหลได้อย่างถูกต้อง
1.2 เขียนโปรแกรมตามผังไหลได้อย่าง
ถูกต้อง
10302.02 ตรวจสอบทดสอบโปรแกรมย่อย 2.1 อธิบายการทางานของแต่ละ Function
ของโปรแกรมได้อย่างถูกต้อง
2.2 เขียนแบบทดสอบโปรแกรม ในแต่ละ
Function ได้
2.3 เขียนแผนการทดสอบโปรแกรมย่อยได้
10302.03 ทดสอบโปรแกรมย่อย
(Unit Test : UT) ตามบททดสอบ
3.1 อธิบายการรับ และส่งข้อมูลของแต่ละ
Function ได้
3.2 อธิบายผลลัพธ์ของแต่ละ Function ได้
3.3 ระบุสาเหตุข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นของแต่
ละ Function ได้
10302.04 บันทึกข้อผิดพลาดจากการทดสอบ
โปรแกรมย่อย
4.1 เขียนแจกแจงปัญหาที่เกิดขึ้นในการ
ทดสอบของแต่ละ Function ได้
4.2 อธิบายกระบวนการทดสอบที่ทาให้เกิด
ข้อผิดพลาดขึ้นได้อย่างเป็นขั้นตอน
การดาเนินการพัฒนา
โปรแกรม
10301.01 แปลงหน้าจอ (GUI) และ/หรือ
ลาดับงาน (Work Flow)
เป็นผังไหล (Flow Chart)
1.1 อ่านแบบร่างหน้าจอ (GUI) และ/หรือ
ลาดับงาน (Work Flow) ได้ถูกต้อง
1.2 ทบทวน และแก้ไขแบบร่างหน้าจอ
(GUI) และ/หรือลาดับงาน (Work Flow)
ได้ถูกต้อง
1.3 เขียนผังไหล (Flow Chart) ได้ตามที่
กาหนด
10301.02 พัฒนาโปรแกรมตามผังไหล
(Flow Chart)
2.1 อ่านผังไหลได้อย่างถูกต้อง
2.2 เขียนโปรแกรมตามผังไหลได้อย่าง
ถูกต้อง
การสอบประเมินมาตรฐานอาชีพ และคุณวุฒิวิชาชีพ
สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
สาขาซอฟต์แวร์และการประยุกต์ (Software and Applications)
อ า ชี พ นั ก พั ฒ น า ร ะ บ บ ชั้ น 3 ( D e v e l o p e r ) ห น้ า 7 | 8
ชื่อหน่วยสมรรถนะ ทดสอบโปรแกรมย่อย
คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
เป็นผู้ที่มีสามารถ ออกแบบบททดสอบโปรแกรมย่อย ( Unit Test Script ) ตรวจสอบทดสอบโปรแกรมย่อย
ทดสอบโปรแกรมย่อย (Unit Test : UT) ตามบททดสอบ และบันทึกข้อผิดพลาดจากการทดสอบโปรแกรมย่อยได้
ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) ไม่มี
สมรรถนะย่อย
Element of Competency
เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน
Performance Criteria
ออกแบบบททดสอบโปรแกรมย่อย
(Unit Test Script)
1.1 อ่านผังไหลได้อย่างถูกต้อง
ตรวจสอบทดสอบโปรแกรมย่อย 2.1 อธิบายการทางานของแต่ละ Function ของโปรแกรมได้อย่างถูกต้อง
2.2 เขียนแบบทดสอบโปรแกรมในแต่ละ Function ได้
2.3 เขียนแผนการทดสอบโปรแกรมย่อยได้
ทดสอบโปรแกรมย่อย (Unit Test : UT)
ตามบททดสอบ
3.1 อธิบายการรับและส่งข้อมูลของ แต่ละ Function ได้
3.2 อธิบายผลลัพธ์ของแต่ละ Function ได้
3.3 ระบุสาเหตุข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นของแต่ละ Function ได้
บันทึกข้อผิดพลาดจากการทดสอบโปรแกรมย่อย 4.1 เขียนแจกแจงปัญหาที่เกิดขึ้นในการทดสอบของแต่ละ Function ได้
4.2 อธิบายกระบวนการทดสอบที่ทาให้เกิดข้อผิดพลาดขึ้นได้อย่างเป็นขั้นตอน
ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)
(ก) ความต้องการด้านทักษะ (ข) ความต้องการด้านความรู้
1. ความสามารถในการอธิบายการทางานของแต่ละ
Function ของโปรแกรม
1. ความรู้ในการออกแบบทดสอบ
2. ความสามารถในการออกแบบทดสอบ 2. ความรู้เกี่ยวกับการทดสอบโปรแกรม
3. ความสามารถในการจัดสร้างบททดสอบย่อยของโปรแกรม 3. ความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
4. ความสามารถในการใช้ Function รับ-ส่งข้อมูล 4. ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของ Function
5. ความสามารถในการอ่านและเขียน Function 5. ความรู้เกี่ยวกับการรับ-ส่งข้อมูลของFunction
6. ความสามารถในการเขียนและเลือกใช้โปรแกรมย่อยได้
เหมาะสมกับงาน
6. ความรู้ในการอ่าน เขียน และแก้ไข
ข้อผิดพลาดของ Function
7. ความสามารถในการบันทึกและอธิบายผลลัพธ์
จากการทดสอบได้ถูกต้อง
7. ความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมย่อย
8. ความสามารถในอธิบายโครงสร้างของโปรแกรมย่อยได้ถูกต้อง 8. ความรู้เกี่ยวกับการทดสอบโปรแกรมย่อย
9. ความสามารถในการแจกแจงปัญหาที่เกิดขึ้นในการทดสอบ
ของแต่ละ Function ได้ถูกต้อง
9. ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างโปรแกรม
10. ความสามารถในการสื่อสาร 10. ความรู้เกี่ยวกับการทดสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรม
11. ความสามารถในลาดับความสาคัญของข้อผิดพลาด 11. ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม
การสอบประเมินมาตรฐานอาชีพ และคุณวุฒิวิชาชีพ
สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
สาขาซอฟต์แวร์และการประยุกต์ (Software and Applications)
อ า ชี พ นั ก พั ฒ น า ร ะ บ บ ชั้ น 3 ( D e v e l o p e r ) ห น้ า 8 | 8
ชื่อหน่วยสมรรถนะ การดาเนินการพัฒนาโปรแกรม
คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
เป็นผู้ที่มีสามารถแปลงหน้าจอ (GUI) และ/หรือลาดับงาน (Work Flow) เป็นผังไหล (Flow Chart) และพัฒนา
โปรแกรมตามผังไหล (Flow Chart) ได้
ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) ไม่มี
สมรรถนะย่อย
Element of Competency
เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน
Performance Criteria
แปลงหน้าจอ (GUI) และ/หรือลาดับงาน
(Work Flow) เป็นผังไหล (Flow Chart)
1.1 อ่านแบบร่างหน้าจอ (GUI) และ/หรือลาดับงาน (Work Flow)
ได้ถูกต้อง
1.2 ทบทวนและแก้ไขแบบร่างหน้าจอ (GUI) และ/หรือลาดับงาน
(Work Flow) ได้ถูกต้อง
1.3 เขียนผังไหล (Flow Chart) ได้ตามที่กาหนด
พัฒนาโปรแกรมตามผังไหล (Flow Chart) 2.1 อ่านผังไหลได้อย่างถูกต้อง
2.2 เขียนโปรแกรมตามผังไหลได้อย่างถูกต้อง
ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)
(ก) ความต้องการด้านทักษะ (ข) ความต้องการด้านความรู้
1. ความสามารถในการอ่านลาดับงาน (Work Flow) 1. ความรู้เกี่ยวกับสัญลักษณ์ของลาดับงาน (Work Flow)
2. ความสามารถในการเขียนผังไหล (Flow Chart) 2. ความรู้เกี่ยวกับสัญลักษณ์ของแบบร่างหน้าจอ (GUI)
3. ความสามารถในการอ่านผังไหล (Flow Chart) 3. ความรู้เกี่ยวกับการจัดลาดับผังไหล (Flow Chart)
4. ความสามารถในการนาผังไหล (Flow Chart)
ไปเขียนโปรแกรม
4. ความรู้เกี่ยวกับการตีความหมายของลาดับงาน
(Work Flow) เพื่อเขียนผังไหล (Flow Chart)
5. ความรู้เกี่ยวกับสัญลักษณ์ของหน้าจอ (GUI)

More Related Content

What's hot

กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมdraught
 
System Development Life Cycle S D L C
System  Development  Life  Cycle   S D L CSystem  Development  Life  Cycle   S D L C
System Development Life Cycle S D L CKapook Moo Auan
 
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาWarapang Plodplong
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์karmpu
 
Software Engineering Process
Software Engineering ProcessSoftware Engineering Process
Software Engineering ProcessWorawut Ramchan
 
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพRapeepan Thawornwanchai
 
System Development Life Cycle
System Development  Life  CycleSystem Development  Life  Cycle
System Development Life Cycleeiszer
 

What's hot (20)

กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
Activity 4
Activity 4Activity 4
Activity 4
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
Sw evo 2_model
Sw evo 2_modelSw evo 2_model
Sw evo 2_model
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Tools
ToolsTools
Tools
 
System Development Life Cycle S D L C
System  Development  Life  Cycle   S D L CSystem  Development  Life  Cycle   S D L C
System Development Life Cycle S D L C
 
Agile Process
Agile ProcessAgile Process
Agile Process
 
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
 
Agile Software Development
Agile Software DevelopmentAgile Software Development
Agile Software Development
 
บทนำ วิศวกรรมซอฟต์แวร์
บทนำ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ บทนำ วิศวกรรมซอฟต์แวร์
บทนำ วิศวกรรมซอฟต์แวร์
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
Software Engineering Process
Software Engineering ProcessSoftware Engineering Process
Software Engineering Process
 
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
 
System Development Life Cycle
System Development  Life  CycleSystem Development  Life  Cycle
System Development Life Cycle
 

Similar to DP-Developer

SA-System Analysis
SA-System AnalysisSA-System Analysis
SA-System AnalysisdiseVru
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาคีตะบลู รักคำภีร์
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlopPor Kung
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์karmpu
 
AutoTesting.pdf
AutoTesting.pdfAutoTesting.pdf
AutoTesting.pdfpsaku1
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์Watinee Poksup
 
การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34pachchary
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรTay Atcharawan
 
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรมวงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรมdraught
 

Similar to DP-Developer (20)

SA-System Analysis
SA-System AnalysisSA-System Analysis
SA-System Analysis
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
AutoTesting.pdf
AutoTesting.pdfAutoTesting.pdf
AutoTesting.pdf
 
Soft were
Soft wereSoft were
Soft were
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34การพัฒนาโปรแกรม34
การพัฒนาโปรแกรม34
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
ICT Competency For KKU Students
ICT Competency For KKU StudentsICT Competency For KKU Students
ICT Competency For KKU Students
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
5
55
5
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอรโปรแกรมคอมพิวเตอร
โปรแกรมคอมพิวเตอร
 
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรมวงจรการพัฒนาโปรแกรม
วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 

DP-Developer

  • 1. การสอบประเมินมาตรฐานอาชีพ และคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ สาขาซอฟต์แวร์และการประยุกต์ (Software and Applications) อ า ชี พ นั ก พั ฒ น า ร ะ บ บ ชั้ น 3 ( D e v e l o p e r ) ห น้ า 4 | 8 อาชีพนักพัฒนาระบบ ชั้น 3 (Developer) คุณลักษณะของผลการเรียนรู้ เป็นผู้ที่มีสมรรถนะในการดาเนินการพัฒนาโปรแกรม สามารถแปลงหน้าจอ (GUI) และ/หรือลาดับงาน (Work Flow) เป็นผังไหล (Flowchart) พัฒนาโปรแกรมตามผังไหล (Flowchart) เป็นผู้ที่มีสมรรถนะในการทดสอบโปรแกรมย่อย สามารถออกแบบ บททดสอบโปรแกรมย่อย (Unit Test Script) ตรวจสอบบททดสอบโปรแกรมย่อย ทดสอบโปรแกรมย่อย (Unit Test: UT) ตามบททดสอบ บันทึกข้อผิดพลาดจากการทดสอบโปรแกรมย่อย คุณสมบัติผู้เข้ารับการประเมิน 1. นักศึกษา ที่กาลังศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ถึงระดับอุดมศึกษา ในสถาบันการศึกษา ภาครัฐ และเอกชน ในสาขาที่เกี่ยวข้อง 2. มีบัตรประจาตัวประชาชน และบัตรประจาตัวนักศึกษา และมีสัญชาติไทย 3. มีความรู้พื้นฐานในการใช้งานโปรแกรม Microsoft Access, Microsoft Word, Microsoft Visio เป็นต้น 4. สิทธิ์ในการประเมินมาตรฐานอาชีพได้ 1 อาชีพ/คน และมาตรฐานสมรรถนะได้ 1 ครั้ง/คน กลุ่มอาชีพที่เกี่ยวข้อง (Target Group) นักพัฒนาซอฟต์แวร์ นักพัฒนาเว็บไซต์และสื่อผสม โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์และพัฒนาซอฟต์แวร์ และโปรแกรม ประยุกต์ ซึ่งไม่ได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น ผู้ฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่วยสมรรถนะที่ใช้ในการประเมิน 1. ดาเนินการพัฒนาโปรแกรม 2. ทดสอบโปรแกรมย่อย การสอบประเมิน 1. ภาคทฤษฎี ข้อสอบปรนัย แบบเลือกตอบ 2. ภาคปฏิบัติ ข้อสอบแบบปฏิบัติ ตามที่โจทย์กาหนด บนเครื่องคอมพิวเตอร์ ระยะเวลาการประเมิน จานวน 6 ชั่วโมง 30 นาที
  • 2. การสอบประเมินมาตรฐานอาชีพ และคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ สาขาซอฟต์แวร์และการประยุกต์ (Software and Applications) อ า ชี พ นั ก พั ฒ น า ร ะ บ บ ชั้ น 3 ( D e v e l o p e r ) ห น้ า 5 | 8 กาหนดการประเมิน 09.00 – 11.00 น. แนะนา และอธิบายกระบวนการประเมิน พร้อมแนวทางการสอบประเมิน - ออกแบบบททดสอบโปรแกรมย่อย (Unit Test Script) เช่น Select Insert Update Delete - อ่านแบบร่างหน้าจอ (GUI) ลาดับงาน (Work Flow) ได้อย่างถูกต้อง - เขียนผังไหล (Flowchart) ได้ตามที่กาหนด - การดาเนินการพัฒนาโปรแกรมตาม แบบร่างหน้าจอ (GUI) ได้อย่างถูกต้อง 11.00 – 11.30 น. สอบภาคทฤษฎี 11.30 – 12.30 น. พักเที่ยง 12.30 – 16.30 น. สอบภาคปฏิบัติ อุปกรณ์ที่ต้องใช้สาหรับ อาชีพนักพัฒนาระบบ ชั้น 3 (Developer) ลาดับ อุปกรณ์ จานวน หมายเหตุ 1 คอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง เครื่องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่องต่อผู้เข้ารับการประเมิน 1 คน 2 ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการประเมิน 4 ซอฟท์แวร์ Microsoft Word, Microsoft Access, Microsoft Visio หรือ Libreoffice Draw รายละเอียดของแต่ละอุปกรณ์ 1. คอมพิวเตอร์ที่พร้อมใช้งานรายละเอียดดังนี้ 1.1. มีหน่วยความจาไม่น้อยกว่า 4 GB 1.2. ติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows 7 sp1 / Windows 8.1 / Windows 10 2. ซอฟต์แวร์ที่พร้อมใช้งานรายละเอียดดังนี้ 2.1 Microsoft Word Version 2010 / 2013 / 2016 2.2 Microsoft Access Version 2010 / 2013 / 2016 2.3 Microsoft Visio Version 2010 / 2013 / 2016 2.4 Libreoffice Draw ** ผู้เข้ารับการประเมิน เลือกซอฟต์แวร์อย่างใด อย่างหนึ่ง ในการสอบภาคปฏิบัติ ตามความถนัด**
  • 3. การสอบประเมินมาตรฐานอาชีพ และคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ สาขาซอฟต์แวร์และการประยุกต์ (Software and Applications) อ า ชี พ นั ก พั ฒ น า ร ะ บ บ ชั้ น 3 ( D e v e l o p e r ) ห น้ า 6 | 8 หน่วยสมรรถนะของคุณวุฒิวิชาชีพนี้ หน่วยสมรรถนะ สมรรถนะย่อย เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน Key Functions Element of Competency Performance Criteria คาอธิบาย รหัส คาอธิบาย คาอธิบาย ทดสอบโปรแกรมย่อย 10302.01 ออกแบบบททดสอบโปรแกรมย่อย (Unit Test Script) 1.1 อ่านผังไหลได้อย่างถูกต้อง 1.2 เขียนโปรแกรมตามผังไหลได้อย่าง ถูกต้อง 10302.02 ตรวจสอบทดสอบโปรแกรมย่อย 2.1 อธิบายการทางานของแต่ละ Function ของโปรแกรมได้อย่างถูกต้อง 2.2 เขียนแบบทดสอบโปรแกรม ในแต่ละ Function ได้ 2.3 เขียนแผนการทดสอบโปรแกรมย่อยได้ 10302.03 ทดสอบโปรแกรมย่อย (Unit Test : UT) ตามบททดสอบ 3.1 อธิบายการรับ และส่งข้อมูลของแต่ละ Function ได้ 3.2 อธิบายผลลัพธ์ของแต่ละ Function ได้ 3.3 ระบุสาเหตุข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นของแต่ ละ Function ได้ 10302.04 บันทึกข้อผิดพลาดจากการทดสอบ โปรแกรมย่อย 4.1 เขียนแจกแจงปัญหาที่เกิดขึ้นในการ ทดสอบของแต่ละ Function ได้ 4.2 อธิบายกระบวนการทดสอบที่ทาให้เกิด ข้อผิดพลาดขึ้นได้อย่างเป็นขั้นตอน การดาเนินการพัฒนา โปรแกรม 10301.01 แปลงหน้าจอ (GUI) และ/หรือ ลาดับงาน (Work Flow) เป็นผังไหล (Flow Chart) 1.1 อ่านแบบร่างหน้าจอ (GUI) และ/หรือ ลาดับงาน (Work Flow) ได้ถูกต้อง 1.2 ทบทวน และแก้ไขแบบร่างหน้าจอ (GUI) และ/หรือลาดับงาน (Work Flow) ได้ถูกต้อง 1.3 เขียนผังไหล (Flow Chart) ได้ตามที่ กาหนด 10301.02 พัฒนาโปรแกรมตามผังไหล (Flow Chart) 2.1 อ่านผังไหลได้อย่างถูกต้อง 2.2 เขียนโปรแกรมตามผังไหลได้อย่าง ถูกต้อง
  • 4. การสอบประเมินมาตรฐานอาชีพ และคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ สาขาซอฟต์แวร์และการประยุกต์ (Software and Applications) อ า ชี พ นั ก พั ฒ น า ร ะ บ บ ชั้ น 3 ( D e v e l o p e r ) ห น้ า 7 | 8 ชื่อหน่วยสมรรถนะ ทดสอบโปรแกรมย่อย คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) เป็นผู้ที่มีสามารถ ออกแบบบททดสอบโปรแกรมย่อย ( Unit Test Script ) ตรวจสอบทดสอบโปรแกรมย่อย ทดสอบโปรแกรมย่อย (Unit Test : UT) ตามบททดสอบ และบันทึกข้อผิดพลาดจากการทดสอบโปรแกรมย่อยได้ ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) ไม่มี สมรรถนะย่อย Element of Competency เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน Performance Criteria ออกแบบบททดสอบโปรแกรมย่อย (Unit Test Script) 1.1 อ่านผังไหลได้อย่างถูกต้อง ตรวจสอบทดสอบโปรแกรมย่อย 2.1 อธิบายการทางานของแต่ละ Function ของโปรแกรมได้อย่างถูกต้อง 2.2 เขียนแบบทดสอบโปรแกรมในแต่ละ Function ได้ 2.3 เขียนแผนการทดสอบโปรแกรมย่อยได้ ทดสอบโปรแกรมย่อย (Unit Test : UT) ตามบททดสอบ 3.1 อธิบายการรับและส่งข้อมูลของ แต่ละ Function ได้ 3.2 อธิบายผลลัพธ์ของแต่ละ Function ได้ 3.3 ระบุสาเหตุข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นของแต่ละ Function ได้ บันทึกข้อผิดพลาดจากการทดสอบโปรแกรมย่อย 4.1 เขียนแจกแจงปัญหาที่เกิดขึ้นในการทดสอบของแต่ละ Function ได้ 4.2 อธิบายกระบวนการทดสอบที่ทาให้เกิดข้อผิดพลาดขึ้นได้อย่างเป็นขั้นตอน ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) ความต้องการด้านทักษะ (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความสามารถในการอธิบายการทางานของแต่ละ Function ของโปรแกรม 1. ความรู้ในการออกแบบทดสอบ 2. ความสามารถในการออกแบบทดสอบ 2. ความรู้เกี่ยวกับการทดสอบโปรแกรม 3. ความสามารถในการจัดสร้างบททดสอบย่อยของโปรแกรม 3. ความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม 4. ความสามารถในการใช้ Function รับ-ส่งข้อมูล 4. ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของ Function 5. ความสามารถในการอ่านและเขียน Function 5. ความรู้เกี่ยวกับการรับ-ส่งข้อมูลของFunction 6. ความสามารถในการเขียนและเลือกใช้โปรแกรมย่อยได้ เหมาะสมกับงาน 6. ความรู้ในการอ่าน เขียน และแก้ไข ข้อผิดพลาดของ Function 7. ความสามารถในการบันทึกและอธิบายผลลัพธ์ จากการทดสอบได้ถูกต้อง 7. ความรู้เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมย่อย 8. ความสามารถในอธิบายโครงสร้างของโปรแกรมย่อยได้ถูกต้อง 8. ความรู้เกี่ยวกับการทดสอบโปรแกรมย่อย 9. ความสามารถในการแจกแจงปัญหาที่เกิดขึ้นในการทดสอบ ของแต่ละ Function ได้ถูกต้อง 9. ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างโปรแกรม 10. ความสามารถในการสื่อสาร 10. ความรู้เกี่ยวกับการทดสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรม 11. ความสามารถในลาดับความสาคัญของข้อผิดพลาด 11. ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม
  • 5. การสอบประเมินมาตรฐานอาชีพ และคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ สาขาซอฟต์แวร์และการประยุกต์ (Software and Applications) อ า ชี พ นั ก พั ฒ น า ร ะ บ บ ชั้ น 3 ( D e v e l o p e r ) ห น้ า 8 | 8 ชื่อหน่วยสมรรถนะ การดาเนินการพัฒนาโปรแกรม คาอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) เป็นผู้ที่มีสามารถแปลงหน้าจอ (GUI) และ/หรือลาดับงาน (Work Flow) เป็นผังไหล (Flow Chart) และพัฒนา โปรแกรมตามผังไหล (Flow Chart) ได้ ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จาเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) ไม่มี สมรรถนะย่อย Element of Competency เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน Performance Criteria แปลงหน้าจอ (GUI) และ/หรือลาดับงาน (Work Flow) เป็นผังไหล (Flow Chart) 1.1 อ่านแบบร่างหน้าจอ (GUI) และ/หรือลาดับงาน (Work Flow) ได้ถูกต้อง 1.2 ทบทวนและแก้ไขแบบร่างหน้าจอ (GUI) และ/หรือลาดับงาน (Work Flow) ได้ถูกต้อง 1.3 เขียนผังไหล (Flow Chart) ได้ตามที่กาหนด พัฒนาโปรแกรมตามผังไหล (Flow Chart) 2.1 อ่านผังไหลได้อย่างถูกต้อง 2.2 เขียนโปรแกรมตามผังไหลได้อย่างถูกต้อง ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) ความต้องการด้านทักษะ (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความสามารถในการอ่านลาดับงาน (Work Flow) 1. ความรู้เกี่ยวกับสัญลักษณ์ของลาดับงาน (Work Flow) 2. ความสามารถในการเขียนผังไหล (Flow Chart) 2. ความรู้เกี่ยวกับสัญลักษณ์ของแบบร่างหน้าจอ (GUI) 3. ความสามารถในการอ่านผังไหล (Flow Chart) 3. ความรู้เกี่ยวกับการจัดลาดับผังไหล (Flow Chart) 4. ความสามารถในการนาผังไหล (Flow Chart) ไปเขียนโปรแกรม 4. ความรู้เกี่ยวกับการตีความหมายของลาดับงาน (Work Flow) เพื่อเขียนผังไหล (Flow Chart) 5. ความรู้เกี่ยวกับสัญลักษณ์ของหน้าจอ (GUI)