SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
เรื่อง เสียงพยัญชนะ
เสียงพยัญชนะ คือ การที่ลมออกมาจากปอด ผ่าน
หลอดลม กล่องเสียง เส้นเสียง สู่ช่องปาก หรือช่องจมูก
โดยใช้ลิ้นกล่อมเกลาเสียงให้กระทบกับเพดาน ปุ่ มเหงือก
ฟัน หรือให้ริมฝีปากกระทบกัน เสียงที่เกิดขึ้นจะถูกสกัดกั้น
ในลาคอ ช่องปากหรือช่องจมูก โดยอาจจะถูกสกัดกั้นไว้
ทั้งหมดหรือถูกสกัดกั้นเพียงบางส่วน เสียงที่เกิดขึ้นลักษณะ
นี้เรียกว่า เสียงแปร เกิดเป็นเสียงพยัญชนะต่างๆ จานวน
๒๑ เสียง และมีอักษรแทนเสียงพยัญชนะจานวน ๔๔ รูป
อวัยวะที่ทาให้เกิดเสียงพยัญชนะต่างกัน
พยัญชนะเกิดจากลมที่ถูกดันออกมาจากปอดผ่านมา
ตามหลอดลม กระทบเส้นเสียงในหลอดลม แล้วผ่านมาถึง
ลาคอ ลมที่ออกมานี้จะถูกกักกันไว้ในส่วนต่างๆ ของปาก
บางส่วนหรือถูกกักไว้ทั้งหมด แล้วจึงปล่อยลมนั้นออกมา
ทางปากหรือขึ้นจมูกก็ได้ ทาให้เรารู้สึกว่าการออกเสียง
พยัญชนะไม่สะดวกเท่ากับการออกเสียงสระ จุดที่ลมถูกกัก
กั้นแล้วปล่อยให้ลมออกมานั้นเป็ นที่เกิดของเสียงพยัญชนะเรา
เรียกว่า ที่เกิด ที่ตั้ง หรือฐานกรณ์ พยัญชนะมีที่เกิดหลายแห่ง
ดังนี้
๑.เส้นเสียง ใช้เส้นเสียงทั้งสองกักลม แล้วปล่อยออกมา
เป็นเสียงพยัญชนะ ได้แก่ เสียง /อ/ /ฮ/
๒. เพดานอ่อน ใช้ลิ้นกับเพดานอ่อนกักลมแล้วปล่อย
ออกมาจากลาคอ เป็นเสียงพยัญชนะได้แก่เสียง /ก/ /
ค/ /ง/ /ว/
๓. ปุ่ มเหงือก-เพดานแข็ง ใช้ลิ้นไปแตะปุ่ มเหงือก-
เพดานแข็งกักลม แล้วปล่อยลมออกมาเป็นเสียง
พยัญชนะ ได้แก่เสียง /จ/ /ช/
๔.เพดานแข็งใช้ลิ้นไปแตะที่เพดานแข็งกักลมแล้วปล่อย
ลมออกมาก เป็นเสียงพยัญชนะ ได้แก่เสียง /ย/
๕. ปุ่ มเหงือก ใช้ลิ้นแตะที่ปุ่ มเหงือกกักลมแล้วปล่อย
ออกมาเป็นเสียงพยัญชนะ ได้แก่เสียง /ซ/ /ด/ /น/
/ร/ /ล/
๖. ฟันบน-ปุ่ มเหงือก ใช้ลิ้นไปแตะที่ฟันบน-ปุ่ มเหงือก
กักลม แล้วปล่อยลมออกมาเป็นเสียงพยัญชนะ ได้แก่เสียง /ต/
/ท/
๗. ริมฝีปากล่างและฟันบน ใช้ริมฝีปากล่างกับฟันบน
กักลมไว้บางส่วนเกิดเป็นเสียงพยัญชนะได้แก่ เสียง
/ฟ/
๘. ริมฝีปาก ใช้ริมฝีปากบนและริมฝีปากล่างกักลมแล้ว
ปล่อยออกมาเป็นเสียงพยัญชนะได้แก่เสียง /บ/ /ป/
/พ/ /ม/ /ว/
คุณสมบัติและประเภทของเสียงพยัญชนะ
๑. คุณสมบัติของเสียงพยัญชนะ แบ่งเป็น ๔ ลักษณะ
ดังนี้
๑.๑. พยัญชนะเสียงก้อง คือ เสียงที่เกิดขึ้นจากการ
ถูกลมดันออกมากระทบเส้นเสียงอย่างแรง ทาให้เส้นเสียง
สะบัดมาก เสียงที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะเสียงก้อง มี ๑๐ เสียง
คือ /บ/ /ด/ /น/ /ม/ /ง/ /ร/ /ล/ /ว/ /ย/ /อ/
๑.๒. พยัญชนะเสียงไม่ก้อง คือ เสียงที่เกิดจากลม
ที่ถูกดันออกมาขณะที่เส้นเสียงอยู่ในลักษณะเปิดลมพุ่ง
ออกมาโดยสะดวกไม่สั่นสะเทือนแรงมากนัก จะมีลักษณะ
เสียงไม่ก้อง มี ๑๑ เสียง คือ /ก/ /ค/ /ป/ /พ/ /ต/ /ท/ /จ/ /ช/ /
ฟ/ /ซ/ /ฮ/
๑.๓. พยัญชนะเสียงหนัก คือ พยัญชนะเสียงไม่
ก้อง ที่ขณะออกเสียงมีลมจานวนหนึ่งพุ่งออกมาด้วย มี ๔
เสียง คือ /พ/ /ท/ /ซ/ /ค/
๑.๔. พยัญชนะเสียงเบา คือ พยัญชนะที่ขณะออก
เสียงไม่มีกลุ่มลมพุ่งตามมา มี ๔ เสียง คือ /ป/ /ต/ /จ/ /
ก/
๒. ประเภทของเสียงพยัญชนะ สามารถแยกได้เป็น ๖
ประเภท ดังนี้
๒.๑. เสียงพยัญชนะระเบิด คือ พยัญชนะที่เกิด
จากลมถูกกักไว้ในช่องปาก แล้วให้ลมพุ่งออกมาอย่างรวดเร็ว
มี ๑๑ เสียง คือ /ก/ /ค/ /จ/ /ช/ /ด/ /ต/ /ท/ /บ/ /ป/ /พ/ /อ/
๒.๒.พยัญชนะเสียงเสียดแทรก คือ พยัญชนะที่เกิด
จากลมที่พุ่งออกมา แล้วถูกบีบตัวให้เสียดแทรกออกมา เช่น
เสียง /ฟ/ /ซ/ /ฮ/
๒.๓. พยัญชนะเสียงนาสิก คือ พยัญชนะที่เกิด
จากลมดันออกมาทางจมูก เช่น เสียง /ง/ /ม/ /น/
๒.๔. พยัญชนะเสียงกระทบ คือ พยัญชนะที่เกิด
จากเสียงที่ลมผ่านออกมาแล้วกระทบลิ้นที่กระดกขึ้นไปแตะ
ปุ่ มเหงือกแล้วสะบัดลงอย่างรวดเร็วเพียงครั้งเดียว ได้แก่
เสียง /ร/
๒.๕.พยัญชนะข้างลิ้น คือเสียงพยัญชนะที่เกิดจาก
ลมที่ลิ้นกักเอาไว้แล้วยกขึ้นไปแตะปุ่ มเหงือก ปล่อยให้ลม
ออกมาทางข้างลิ้น เรียกว่า พยัญชนะข้างลิ้น ได้แก่ เสียง
/ล/
๒.๖. พยัญชนะกึ่งสระ คือ เสียงพยัญชนะที่
เกิดขึ้นจากลาคอและเปล่งเสียงออกมา โดยไม่ถูกสกัดกั้น
คล้ายเสียงสระ ได้แก่ เสียง /ว/ /ย/ /อ/
พยัญชนะไทยมี ๔๔ รูป มีเสียง ๒๑ เสียง ดังนี้
เสียงพยัญชนะไทย
๒๑ เสียง
รูปพยัญชนะไทย ๔๔ รูป
๑./ก/ ก
๒./ค/ ข ฃ ค ฅ ฆ
๓./ง/ ง
๔./จ/ จ
๕./ช/ ฉ ช ฌ
๖./ซ/ ซ ศ ษ ส
๗./ด/ ฎ ด (ฑ ในบางคา เช่น
มณฑป)
๘./ต/ ฏ ต
๙./ท/ ฐ ฑ ฒ ท ธ ถ
๑๐./น/ ณ น
๑๑./บ/ บ
๑๒./ป/ ป
๑๓./พ/ พ ภ ผ
๑๔./ฟ/ ฟ ฝ
๑๕./ม/ ม
๑๖./ย/ ย ญ
๑๗./ร/ ร
๑๘./ล/ ล ฬ
๑๙./ว/ ว
๒๐./ฮ/ ฮ ห
๒๑./อ/ อ
เสียงพยัญชนะควบกล้า
เสียงพยัญชนะควบกล้า คือ เสียงพยัญชนะต้น
ในพยางค์หรือคาที่ออกเสียงพยัญชนะต้น ๒
เสียงพร้อมกัน โดยมีพยัญชนะ ร ล ว เป็นตัว
ควบกล้า
ภาพแสดงลักษณะลิ้นในการออกเสียงพยัญชนะควบกล้า
พยัญชนะควบกล้าบางครั้งเรียกว่า อักษรควบแท้ สาหรับคา
ไทยแท้ มีพยัญชนะควบกล้า ๑๑ เสียงดังนี้
พยัญชนะควบกล้า ตัวอย่างคา
๑.กร กราบ เกรง กรม
๒.กล กล้า กลัว กลืน
๓.กว กว่า กวาง กวัก
๔.คร ขร ครู เคร่ง ขรุขระ ขรัว
๕.คล ขล คลาน คล้าย ขลัง ขลาด
๖.คว ขว ควาย ความ ขวิด ขวา
๗.พร พระ พร้อม พรุ่ง
๘.พล ผล พลาด พลาง ผลาญ แผล
๙.ปร ปราง เปรียบ แปรง
๑๐.ปล เปลี่ยนแปลง ปลา
๑๑.ตร ตรา ตรวจ เตรียม
และยังมีเสียงพยัญชนะควบกล้าต้นพยางค์ ซึ่งเป็นคา
ที่มาจากภาษาอื่น เช่น
เสียงพยัญชนะ
ควบกล้า
ตัวอย่าง มาจากภาษา
๑. ทร ภัทรา อินทรา
ทรัมเป็ต
สันสกฤต
อังกฤษ
๒. ฟร ฟรี
เฟรนซ์ฟราย
อังกฤษ
๓. ฟล ฟลุก แฟลต อังกฤษ
๔. ดร ดราฟท์ ไดร์ฟ อังกฤษ
๕. บร บรั่นดี เบรก อังกฤษ
๖. บล บล็อก เบลอ อังกฤษ
เสียงพยัญชนะท้ายพยางค์
เสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ หรือมาตราตัวสะกด ใน
ภาษาไทยมี ๙ เสียง ดังนี้
เสียงพยัญชนะตัวสะกด มาตรา ตัวอย่างคา
ก กก กัก สุข โรค เมฆ
ง กง จึง ขัง ด่าง
ด (ต) กด
พูด กิจ คช ก๊าซ กฎ รัฐ ครุฑ
วุฒิ รถ บาท รส พัฒน์ ฆาต
พิษ พิศ พยาธิ ชัฏ
น กน
คน หาญ คุณ พร ผล
กาฬ
บ (ป) กบ กับ บาป ภาพ กราฟ โลภ
ม กม กลม ข้าม
ย เกย กาย เขย คุย
ว เกอว ก้าว เขียว แมว
? - ติ เตะ ผุ ปริ
สรุปตารางเสียงพยัญชนะภาษาไทย
ฐานกรณ์
ลักษณะ
การออกเสียง
ริม
ฝีปาก
ริมฝีปาก
กับฟัน
ฟันและ
ปุ่ ม
เหงือก
เพดาน
แข็ง
เพดาน
อ่อน
ช่อง
ระหว่าง
เส้นเสียง
เสียงระเบิด
ไม่ก้อง ไม่มีลม
ไม่ก้อง มีลม
ก้อง มีลม
/ป/
/พ/
/บ/
/ต/
/ท/
/ด/
/จ/
/ช/
/ก/
/ค/
/อ/
เสียงเสียดแทรกไม่ก้อง /ฟ/ /ซ/ /ฮ/
เสียงนาสิก /ม/ /น/ /ง/
เสียงข้างลิ้น /ล/
เสียงกระทบ /ร/
เสียงกึ่งสระ /ว/ /ย/
 เสียงพยัญชนะ

More Related Content

Similar to เสียงพยัญชนะ (11)

เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
04
0404
04
 
Th 2014-01-01
Th 2014-01-01Th 2014-01-01
Th 2014-01-01
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ
5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ
5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคำ
 
เครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากล
 

เสียงพยัญชนะ

  • 1. เรื่อง เสียงพยัญชนะ เสียงพยัญชนะ คือ การที่ลมออกมาจากปอด ผ่าน หลอดลม กล่องเสียง เส้นเสียง สู่ช่องปาก หรือช่องจมูก โดยใช้ลิ้นกล่อมเกลาเสียงให้กระทบกับเพดาน ปุ่ มเหงือก ฟัน หรือให้ริมฝีปากกระทบกัน เสียงที่เกิดขึ้นจะถูกสกัดกั้น ในลาคอ ช่องปากหรือช่องจมูก โดยอาจจะถูกสกัดกั้นไว้ ทั้งหมดหรือถูกสกัดกั้นเพียงบางส่วน เสียงที่เกิดขึ้นลักษณะ นี้เรียกว่า เสียงแปร เกิดเป็นเสียงพยัญชนะต่างๆ จานวน ๒๑ เสียง และมีอักษรแทนเสียงพยัญชนะจานวน ๔๔ รูป อวัยวะที่ทาให้เกิดเสียงพยัญชนะต่างกัน
  • 2. พยัญชนะเกิดจากลมที่ถูกดันออกมาจากปอดผ่านมา ตามหลอดลม กระทบเส้นเสียงในหลอดลม แล้วผ่านมาถึง ลาคอ ลมที่ออกมานี้จะถูกกักกันไว้ในส่วนต่างๆ ของปาก บางส่วนหรือถูกกักไว้ทั้งหมด แล้วจึงปล่อยลมนั้นออกมา ทางปากหรือขึ้นจมูกก็ได้ ทาให้เรารู้สึกว่าการออกเสียง พยัญชนะไม่สะดวกเท่ากับการออกเสียงสระ จุดที่ลมถูกกัก กั้นแล้วปล่อยให้ลมออกมานั้นเป็ นที่เกิดของเสียงพยัญชนะเรา เรียกว่า ที่เกิด ที่ตั้ง หรือฐานกรณ์ พยัญชนะมีที่เกิดหลายแห่ง ดังนี้ ๑.เส้นเสียง ใช้เส้นเสียงทั้งสองกักลม แล้วปล่อยออกมา เป็นเสียงพยัญชนะ ได้แก่ เสียง /อ/ /ฮ/
  • 3. ๒. เพดานอ่อน ใช้ลิ้นกับเพดานอ่อนกักลมแล้วปล่อย ออกมาจากลาคอ เป็นเสียงพยัญชนะได้แก่เสียง /ก/ / ค/ /ง/ /ว/ ๓. ปุ่ มเหงือก-เพดานแข็ง ใช้ลิ้นไปแตะปุ่ มเหงือก- เพดานแข็งกักลม แล้วปล่อยลมออกมาเป็นเสียง พยัญชนะ ได้แก่เสียง /จ/ /ช/
  • 4. ๔.เพดานแข็งใช้ลิ้นไปแตะที่เพดานแข็งกักลมแล้วปล่อย ลมออกมาก เป็นเสียงพยัญชนะ ได้แก่เสียง /ย/ ๕. ปุ่ มเหงือก ใช้ลิ้นแตะที่ปุ่ มเหงือกกักลมแล้วปล่อย ออกมาเป็นเสียงพยัญชนะ ได้แก่เสียง /ซ/ /ด/ /น/ /ร/ /ล/
  • 5. ๖. ฟันบน-ปุ่ มเหงือก ใช้ลิ้นไปแตะที่ฟันบน-ปุ่ มเหงือก กักลม แล้วปล่อยลมออกมาเป็นเสียงพยัญชนะ ได้แก่เสียง /ต/ /ท/ ๗. ริมฝีปากล่างและฟันบน ใช้ริมฝีปากล่างกับฟันบน กักลมไว้บางส่วนเกิดเป็นเสียงพยัญชนะได้แก่ เสียง /ฟ/ ๘. ริมฝีปาก ใช้ริมฝีปากบนและริมฝีปากล่างกักลมแล้ว ปล่อยออกมาเป็นเสียงพยัญชนะได้แก่เสียง /บ/ /ป/ /พ/ /ม/ /ว/ คุณสมบัติและประเภทของเสียงพยัญชนะ ๑. คุณสมบัติของเสียงพยัญชนะ แบ่งเป็น ๔ ลักษณะ ดังนี้ ๑.๑. พยัญชนะเสียงก้อง คือ เสียงที่เกิดขึ้นจากการ ถูกลมดันออกมากระทบเส้นเสียงอย่างแรง ทาให้เส้นเสียง สะบัดมาก เสียงที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะเสียงก้อง มี ๑๐ เสียง คือ /บ/ /ด/ /น/ /ม/ /ง/ /ร/ /ล/ /ว/ /ย/ /อ/ ๑.๒. พยัญชนะเสียงไม่ก้อง คือ เสียงที่เกิดจากลม ที่ถูกดันออกมาขณะที่เส้นเสียงอยู่ในลักษณะเปิดลมพุ่ง
  • 6. ออกมาโดยสะดวกไม่สั่นสะเทือนแรงมากนัก จะมีลักษณะ เสียงไม่ก้อง มี ๑๑ เสียง คือ /ก/ /ค/ /ป/ /พ/ /ต/ /ท/ /จ/ /ช/ / ฟ/ /ซ/ /ฮ/ ๑.๓. พยัญชนะเสียงหนัก คือ พยัญชนะเสียงไม่ ก้อง ที่ขณะออกเสียงมีลมจานวนหนึ่งพุ่งออกมาด้วย มี ๔ เสียง คือ /พ/ /ท/ /ซ/ /ค/ ๑.๔. พยัญชนะเสียงเบา คือ พยัญชนะที่ขณะออก เสียงไม่มีกลุ่มลมพุ่งตามมา มี ๔ เสียง คือ /ป/ /ต/ /จ/ / ก/ ๒. ประเภทของเสียงพยัญชนะ สามารถแยกได้เป็น ๖ ประเภท ดังนี้ ๒.๑. เสียงพยัญชนะระเบิด คือ พยัญชนะที่เกิด จากลมถูกกักไว้ในช่องปาก แล้วให้ลมพุ่งออกมาอย่างรวดเร็ว มี ๑๑ เสียง คือ /ก/ /ค/ /จ/ /ช/ /ด/ /ต/ /ท/ /บ/ /ป/ /พ/ /อ/ ๒.๒.พยัญชนะเสียงเสียดแทรก คือ พยัญชนะที่เกิด จากลมที่พุ่งออกมา แล้วถูกบีบตัวให้เสียดแทรกออกมา เช่น เสียง /ฟ/ /ซ/ /ฮ/ ๒.๓. พยัญชนะเสียงนาสิก คือ พยัญชนะที่เกิด จากลมดันออกมาทางจมูก เช่น เสียง /ง/ /ม/ /น/
  • 7. ๒.๔. พยัญชนะเสียงกระทบ คือ พยัญชนะที่เกิด จากเสียงที่ลมผ่านออกมาแล้วกระทบลิ้นที่กระดกขึ้นไปแตะ ปุ่ มเหงือกแล้วสะบัดลงอย่างรวดเร็วเพียงครั้งเดียว ได้แก่ เสียง /ร/ ๒.๕.พยัญชนะข้างลิ้น คือเสียงพยัญชนะที่เกิดจาก ลมที่ลิ้นกักเอาไว้แล้วยกขึ้นไปแตะปุ่ มเหงือก ปล่อยให้ลม ออกมาทางข้างลิ้น เรียกว่า พยัญชนะข้างลิ้น ได้แก่ เสียง /ล/ ๒.๖. พยัญชนะกึ่งสระ คือ เสียงพยัญชนะที่ เกิดขึ้นจากลาคอและเปล่งเสียงออกมา โดยไม่ถูกสกัดกั้น คล้ายเสียงสระ ได้แก่ เสียง /ว/ /ย/ /อ/ พยัญชนะไทยมี ๔๔ รูป มีเสียง ๒๑ เสียง ดังนี้ เสียงพยัญชนะไทย ๒๑ เสียง รูปพยัญชนะไทย ๔๔ รูป ๑./ก/ ก ๒./ค/ ข ฃ ค ฅ ฆ ๓./ง/ ง ๔./จ/ จ
  • 8. ๕./ช/ ฉ ช ฌ ๖./ซ/ ซ ศ ษ ส ๗./ด/ ฎ ด (ฑ ในบางคา เช่น มณฑป) ๘./ต/ ฏ ต ๙./ท/ ฐ ฑ ฒ ท ธ ถ ๑๐./น/ ณ น ๑๑./บ/ บ ๑๒./ป/ ป ๑๓./พ/ พ ภ ผ ๑๔./ฟ/ ฟ ฝ ๑๕./ม/ ม ๑๖./ย/ ย ญ ๑๗./ร/ ร ๑๘./ล/ ล ฬ ๑๙./ว/ ว ๒๐./ฮ/ ฮ ห ๒๑./อ/ อ
  • 9. เสียงพยัญชนะควบกล้า เสียงพยัญชนะควบกล้า คือ เสียงพยัญชนะต้น ในพยางค์หรือคาที่ออกเสียงพยัญชนะต้น ๒ เสียงพร้อมกัน โดยมีพยัญชนะ ร ล ว เป็นตัว ควบกล้า ภาพแสดงลักษณะลิ้นในการออกเสียงพยัญชนะควบกล้า
  • 10. พยัญชนะควบกล้าบางครั้งเรียกว่า อักษรควบแท้ สาหรับคา ไทยแท้ มีพยัญชนะควบกล้า ๑๑ เสียงดังนี้ พยัญชนะควบกล้า ตัวอย่างคา ๑.กร กราบ เกรง กรม ๒.กล กล้า กลัว กลืน ๓.กว กว่า กวาง กวัก ๔.คร ขร ครู เคร่ง ขรุขระ ขรัว ๕.คล ขล คลาน คล้าย ขลัง ขลาด ๖.คว ขว ควาย ความ ขวิด ขวา ๗.พร พระ พร้อม พรุ่ง ๘.พล ผล พลาด พลาง ผลาญ แผล
  • 11. ๙.ปร ปราง เปรียบ แปรง ๑๐.ปล เปลี่ยนแปลง ปลา ๑๑.ตร ตรา ตรวจ เตรียม และยังมีเสียงพยัญชนะควบกล้าต้นพยางค์ ซึ่งเป็นคา ที่มาจากภาษาอื่น เช่น เสียงพยัญชนะ ควบกล้า ตัวอย่าง มาจากภาษา ๑. ทร ภัทรา อินทรา ทรัมเป็ต สันสกฤต อังกฤษ ๒. ฟร ฟรี เฟรนซ์ฟราย อังกฤษ ๓. ฟล ฟลุก แฟลต อังกฤษ ๔. ดร ดราฟท์ ไดร์ฟ อังกฤษ ๕. บร บรั่นดี เบรก อังกฤษ
  • 12. ๖. บล บล็อก เบลอ อังกฤษ เสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ เสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ หรือมาตราตัวสะกด ใน ภาษาไทยมี ๙ เสียง ดังนี้ เสียงพยัญชนะตัวสะกด มาตรา ตัวอย่างคา ก กก กัก สุข โรค เมฆ ง กง จึง ขัง ด่าง ด (ต) กด พูด กิจ คช ก๊าซ กฎ รัฐ ครุฑ วุฒิ รถ บาท รส พัฒน์ ฆาต พิษ พิศ พยาธิ ชัฏ น กน คน หาญ คุณ พร ผล กาฬ
  • 13. บ (ป) กบ กับ บาป ภาพ กราฟ โลภ ม กม กลม ข้าม ย เกย กาย เขย คุย ว เกอว ก้าว เขียว แมว ? - ติ เตะ ผุ ปริ สรุปตารางเสียงพยัญชนะภาษาไทย ฐานกรณ์ ลักษณะ การออกเสียง ริม ฝีปาก ริมฝีปาก กับฟัน ฟันและ ปุ่ ม เหงือก เพดาน แข็ง เพดาน อ่อน ช่อง ระหว่าง เส้นเสียง เสียงระเบิด ไม่ก้อง ไม่มีลม ไม่ก้อง มีลม ก้อง มีลม /ป/ /พ/ /บ/ /ต/ /ท/ /ด/ /จ/ /ช/ /ก/ /ค/ /อ/ เสียงเสียดแทรกไม่ก้อง /ฟ/ /ซ/ /ฮ/ เสียงนาสิก /ม/ /น/ /ง/ เสียงข้างลิ้น /ล/ เสียงกระทบ /ร/ เสียงกึ่งสระ /ว/ /ย/