SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
7.3 ความปลอดภัยส่วนบุคคล
7.1.1 อุปกรณ์ป้ องกันศีรษะ
การทางานในโรงงานอุตสาหกรรมมักมีปัญหาอยู่เสมอเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย เนื่องจากโรงงานไม่สามารถ
ขจัดอุบัติภัยให้หมดสิ้นไปโดยสิ้นเชิงได้ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการรักษาความปลอดภัยที่ดีแล้วก็ตาม และเป็นการยากที่จะระวัง
ตัวเองให้รอดพ้นจากอุบัติภัยได้ตลอดเวลา ซึ่งก็ทราบดีอยู่แล้วว่า อุบัติภัยนั้นเป็นเหตุการณ์หรืออันตรายที่เกิดขึ้นโดยที่เรา
ไม่ได้คาดฝันมาก่อน ดังนั้น อุปกรณ์ป้ องกันภัยส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment) จึงเป็นสิ่งจาเป็นที่จะต้อง
นามาพิจารณาเป็นหนทางสุดท้ายในการป้ องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับตัวเราเอง หรือผู้อื่นในขณะปฏิบัติงาน ผู้ที่สวม
ใส่อุปกรณ์ป้ องกันภัยส่วนบุคคลเมื่อมีอุบัติภัยเกิดขึ้นจะได้รับบาดเจ็บหรือได้รับอันตรายน้อยที่สุด หรือไม่ได้รับอันตรายเลย
อุปกรณ์ป้ องกันภัยส่วนบุคคลนี้สามารถป้ องกันอันตรายให้กับพนักงานได้ตั้งแต่ศรีษะจดเท้า ดังต่อไปนี้
1) หมวกกันน็อค (Helmets)
หมวกนี้ส่วนใหญ่จะทาจากไฟเบอร์หรือพลาสติกแข็ง หรือวัสดุอย่างอื่นที่ทึบแสงและไม่ติดไฟ สามารถป้ องกันอันตราย
จากรังสีอุลตราไวโอเลตได้และไม่ทาให้เกิดโรคติตต่อหมวกนี้นอกจากจะใช้ป้ องกันศีรษะ ก้านคอและใบหูได้ดีแล้ว ยัง
สามารถติดกระบังหน้าเข้าไป เพื่อป้ องกันวัสดุที่จะหลุดกระเด็นมากระทบใบหน้าได้อีกด้วยและกระบังหน้าเมื่อไม่ต้องการ
จะใช้ก็สามารถเปิดขึ้นไปเหนือศีรษะได้ซึ่งกระบังหน้านี้จะสามารถใช้ได้ทั้งแผ่นกรองแสงและแผ่นโปร่งใส
หมวกนิรภัย
กระบังหน้าที่ใช้มือถือ (Hand Shield) เป็นอุปกรณ์ป้ องกันใบหน้าอีกแบบหนึ่งที่สามารถใช้แทน
หมวกกันน็อคได้ เมื่อผู้ใช้รู้สึกราคาญจากการใช้หมวกกันน็อค อุปกรณ์นี้ใช้สาหรับงานตรวจสอบงานต่อแนวเชื่อม หรือ
การทางานอื่นๆ ที่เป็นงานชั่วคราวหรือมีการเชื่อมเพียงเล็ก ๆ น้อย ๆ กระบังหน้าชนิดนี้นิยมเรียกกันทั่ว ๆ ไปว่า หน้ากาก
เชื่อม
 การใช้หมวกนิรภัย
มีหลักการที่ควรจดจา 6 ข้อ คือ
1. เลือกชนิดของหมวกให้เหมาะสมกับลักษณะงาน
2. ตรวจสอบสภาพหมวกก่อนใช้งานทุกครั้ง หากมีส่วนใดชารุดให้เปลี่ยนใหม่ทันที
3. ปรับรองหมวกให้กระชับพอดีและอย่าให้ผิวหมวกด้านบนแตะกับรองหมวก
4. สวมหมวกตรงๆ เต็มศีรษะ อย่าให้เอียงไปเอียงมาด้านใดด้านหนึ่งเป็นอันขาด
5. หลังใช้งานต้องเก็บรักษาให้ดี และทาความสะอาดเป็นประจาสวมหมวกตลอดเวลาขณะทางาน
อุปกรณ์ป้ องกันศีรษะ
1) ผ้าคลุมผม
ชุดทางานสาหรับพนักงานหญิงค่อนข้างจะพิเศษกว่าของพนักงานชาย เนื่องจากพนักงานหญิงชอบไว้ผมยาว
ชอบสวมรองเท้าส้นสูง ดังนั้น แหคลุมผม ผ้าโพกศรีษะ ก็สามารถป้ องกันพนักงานไม่ให้ได้รับอันตรายจากการทางานของ
เครื่องจักรได้บ้าง และโรงงานควรแนะนาให้พนักงานหญิงสวมรองเท้าที่มีส้นเตี้ย และควรเป็นรองเท้านิรภัยด้วย

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (7)

9 2
9 29 2
9 2
 
งานโลหะแผ่น7 3
งานโลหะแผ่น7 3งานโลหะแผ่น7 3
งานโลหะแผ่น7 3
 
งานโลหะแผ่น7 7
งานโลหะแผ่น7 7งานโลหะแผ่น7 7
งานโลหะแผ่น7 7
 
9 3
9 39 3
9 3
 
งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1
 
งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2
 
การเขียนภาพแผ่นคลี่
การเขียนภาพแผ่นคลี่การเขียนภาพแผ่นคลี่
การเขียนภาพแผ่นคลี่
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

งานโลหะแผ่น7 4

  • 1. 7.3 ความปลอดภัยส่วนบุคคล 7.1.1 อุปกรณ์ป้ องกันศีรษะ การทางานในโรงงานอุตสาหกรรมมักมีปัญหาอยู่เสมอเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย เนื่องจากโรงงานไม่สามารถ ขจัดอุบัติภัยให้หมดสิ้นไปโดยสิ้นเชิงได้ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการรักษาความปลอดภัยที่ดีแล้วก็ตาม และเป็นการยากที่จะระวัง ตัวเองให้รอดพ้นจากอุบัติภัยได้ตลอดเวลา ซึ่งก็ทราบดีอยู่แล้วว่า อุบัติภัยนั้นเป็นเหตุการณ์หรืออันตรายที่เกิดขึ้นโดยที่เรา ไม่ได้คาดฝันมาก่อน ดังนั้น อุปกรณ์ป้ องกันภัยส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment) จึงเป็นสิ่งจาเป็นที่จะต้อง นามาพิจารณาเป็นหนทางสุดท้ายในการป้ องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับตัวเราเอง หรือผู้อื่นในขณะปฏิบัติงาน ผู้ที่สวม ใส่อุปกรณ์ป้ องกันภัยส่วนบุคคลเมื่อมีอุบัติภัยเกิดขึ้นจะได้รับบาดเจ็บหรือได้รับอันตรายน้อยที่สุด หรือไม่ได้รับอันตรายเลย อุปกรณ์ป้ องกันภัยส่วนบุคคลนี้สามารถป้ องกันอันตรายให้กับพนักงานได้ตั้งแต่ศรีษะจดเท้า ดังต่อไปนี้ 1) หมวกกันน็อค (Helmets) หมวกนี้ส่วนใหญ่จะทาจากไฟเบอร์หรือพลาสติกแข็ง หรือวัสดุอย่างอื่นที่ทึบแสงและไม่ติดไฟ สามารถป้ องกันอันตราย จากรังสีอุลตราไวโอเลตได้และไม่ทาให้เกิดโรคติตต่อหมวกนี้นอกจากจะใช้ป้ องกันศีรษะ ก้านคอและใบหูได้ดีแล้ว ยัง สามารถติดกระบังหน้าเข้าไป เพื่อป้ องกันวัสดุที่จะหลุดกระเด็นมากระทบใบหน้าได้อีกด้วยและกระบังหน้าเมื่อไม่ต้องการ จะใช้ก็สามารถเปิดขึ้นไปเหนือศีรษะได้ซึ่งกระบังหน้านี้จะสามารถใช้ได้ทั้งแผ่นกรองแสงและแผ่นโปร่งใส หมวกนิรภัย กระบังหน้าที่ใช้มือถือ (Hand Shield) เป็นอุปกรณ์ป้ องกันใบหน้าอีกแบบหนึ่งที่สามารถใช้แทน หมวกกันน็อคได้ เมื่อผู้ใช้รู้สึกราคาญจากการใช้หมวกกันน็อค อุปกรณ์นี้ใช้สาหรับงานตรวจสอบงานต่อแนวเชื่อม หรือ การทางานอื่นๆ ที่เป็นงานชั่วคราวหรือมีการเชื่อมเพียงเล็ก ๆ น้อย ๆ กระบังหน้าชนิดนี้นิยมเรียกกันทั่ว ๆ ไปว่า หน้ากาก เชื่อม  การใช้หมวกนิรภัย มีหลักการที่ควรจดจา 6 ข้อ คือ 1. เลือกชนิดของหมวกให้เหมาะสมกับลักษณะงาน 2. ตรวจสอบสภาพหมวกก่อนใช้งานทุกครั้ง หากมีส่วนใดชารุดให้เปลี่ยนใหม่ทันที 3. ปรับรองหมวกให้กระชับพอดีและอย่าให้ผิวหมวกด้านบนแตะกับรองหมวก 4. สวมหมวกตรงๆ เต็มศีรษะ อย่าให้เอียงไปเอียงมาด้านใดด้านหนึ่งเป็นอันขาด 5. หลังใช้งานต้องเก็บรักษาให้ดี และทาความสะอาดเป็นประจาสวมหมวกตลอดเวลาขณะทางาน
  • 2. อุปกรณ์ป้ องกันศีรษะ 1) ผ้าคลุมผม ชุดทางานสาหรับพนักงานหญิงค่อนข้างจะพิเศษกว่าของพนักงานชาย เนื่องจากพนักงานหญิงชอบไว้ผมยาว ชอบสวมรองเท้าส้นสูง ดังนั้น แหคลุมผม ผ้าโพกศรีษะ ก็สามารถป้ องกันพนักงานไม่ให้ได้รับอันตรายจากการทางานของ เครื่องจักรได้บ้าง และโรงงานควรแนะนาให้พนักงานหญิงสวมรองเท้าที่มีส้นเตี้ย และควรเป็นรองเท้านิรภัยด้วย