SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
11.2.5 ไม้ ( Wood )
เป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่ใช้ในการก่อสร้าง
ลักษณะของไม้
1. เปลือก ( Bark ) ทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร
2. เยื่อเจริญ ( Cambium ) ทาหน้าที่ในการเติบโตของเนื้อไม้ด้านในและเสริมเปลือกไม้ชั้นใน
3. กระพี้ ( Sapwdood ) ทาหน้าที่ลาเลียงน้าและอาหารจากรากไปเลี้ยงใบ ตลอดจนเก็บแป้ งและน้าตาล
4. แก่น ( Heartwood) เป็นส่วนในของต้นไม้ที่ไม่ทางานแล้ว
5. วงปีหรือวงเจริญ ( Growth Ring ) นิยมใช้วงปีอายุของต้นไม้
6. เส้นรัศมี ( Wood Ray ) ทาหน้าที่ลาเลียงอาหารที่ปรุงแล้วจากใบมาเลี้ยงส่วนของลาต้น
7. ใจ ( Pith ) เป็นใจอยู่กลางลาต้น เมื่อต้นไม้โตมาก ๆ ส่วนนี้อาจกลายเป็นโพรงได้
จาแนกของไม้
1. ไม้เนื้อแข็ง คือ ไม้ที่มีค่าความแข็งในการตัดได้สูงกว่า 1,000 กิโลกรัม ต่อตารางเซนติเมตร มีความทนทาน
ตามธรรมชาติเกิน 6 ปี มีอยู่ประมาณ 10 ชนิด ได้แก่ ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้แดง ไม้ตะเคียนทอง ไม้ตะแบก ไม้
สัก ไม้เคี่ยม ไม้มะค่า ไม้ประดู่
2. ไม้เนื้อแข็งปานกลาง สามารถทนแรงตัดได้ 600 – 1,000 กิโลกรัม ต่อตารางเซนติเมตร มีความทนทานตาม
ธรรมชาติ 2 – 6 ปี มีอยู่ประมาณ 6 ชนิด ได้แก่ ไม้ยาง ไม้กระบอก ไม้ชุมแพรก ไม้นินทรี มะม่วงป่า ไม้
กระท้อน
3. ไม้เนื้ออ่อน ทนต่อแรงตัดได้ไม่เกิน 600 กิโลกรัม ต่อ ตารางเซนติเมตร มีความทนทานตามธรรมชาติไม่เกิน
2 ปี ที่นิยมใช้มีประมาณ 4 ชนิด ได้แก่ ไม้สยาขาว ไม้ก้านเหลือง ไม้มะยมป่า ไม้มะพร้าว
ไม้อัด ( Plywood )
เป็นไม้ที่ใช้ในงานก่อสร้างที่มีอยู่ตามธรรมชาติ โดยไม้อัดได้มาจากกรรมวิธีการผลิต 3 วิธี คือ
1. ไม้อัดที่จากการปอก หรือ ผ่าน ใช้ในการทาบานประตู ฝ้าเพดาน แบบหล่อคอนกรีต
2. ไม้อัดแผ่นเรียบ ( Hand Board ) ไม้ชนิดนี้ด้านหนึ่งจะเรียบ และอีกด้านหนึ่งจะเป็นลาย การใช้งานใช้ทา
ผนังกั้นห้อง เก็บเสียงและเก็บความร้อน
3. แผ่นชิ้นไม้อัด ( Particle Board ) ได้มาจากการผลิตไม้แปรรูปต่าง ๆ ได้แก่ เศษการเลื่อย ( ขี้เลื่อย ) เส้นใย
จากการเกษตร หรือชานอ้อย เป็นต้น แล้วนามาวัด ติดกันโดยใช้การสังเคราะห์เป็นตัวประสาน ใช้ในงานทา
ฝ้า ทาเพดาน ทาตู้ใส่ของ ทาเฟอร์นิเจอร์
รูปที่11.9 ภาคตัดแสดงโครงสร้างของไม้ รูปที่11.10 วงการเติบโตของไม้
รูปที่11.11 แสดงการหดตัวของไม้
รูปที่ 11.12 หน้าตัดท่อนไม้ตามขวาง
ส่วนประกอบของไม้
1. ใจกลาง อยู่ศูนย์กลางหน้าตัดลาต้น มีลักษณะเป็นรูเล็ก ๆ ถ้าเป็นต้นไม้ใหญ่ขนาดของรูจะโตเป็นโพรง ใจกลาง
ของไม้ไม่แข็งแรง
2. แก่นไม้ อยู่ในส่วนกลางห่างจากใจกลาง คือ ส่วนที่เป็นเนื้อไม้ เป็นส่วนที่แข็งแรงที่สุด เป็นส่วนที่นาไปใช้
งาน
3. กระพี้ อยู่ห่างจากหน้าตัดลาต้น เนื้อไม้ส่วนนี้อ่อนไม่ทนต่อการใช้งาน แมลงเจาะกินได้ง่าย
4. วงปี เป็นส่วนที่อยู่รอบ ๆ เป็นวง ๆ แสดงถึงการเจริญเติบโตของต้นได้ ถ้าจะนับอายุของต้นไม้ดูจากวงปี 1 วง
เท่ากับ 1 ปี
5. ทางลาเลียงลาต้น คือ วงปืนอกสุดของลาต้น เป็นส่วนลาเลียงน้าและอาหารไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของลาต้น
6. เปลือกไม้ เป็นส่วนที่มองเห็นเพราะอยู่ส่วนนอกของลาต้น
7. รัศมี เป็นเส้นตัดผ่านวงปีไปยังเปลือกไม้
ไม้ที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ
1. ไม้สัก ง่ายต่อการเลื่อยไส สักทอง มีลวดลายสวยงามที่สุด สักหิน สักขี้ควาย ราคาแพง ใช้ทาเครื่องเรือน
หน้าต่าง ประตู
2. ไม้ตะเคียนทอง มีความแข็งแรงทนทาน ใช้ทาวงกบ ประตูหน้าต่าง
3. ไม้ยาง มีมากในประเทศไทย เลื่อยไสง่าย ราคาถูก ใช้ทาฝาบ้าน
4. ไม้เต็ง มีความแข็งแรง เลื่อยไสตอกตะปูยาก ถูกความร้อนจะแตกง่าย ใช้ทาคาน เสาเครื่องมือกสิกรรม
5. ไม้แดง มีสีแดงลวดลายสวยงาม เลื่อยไสตอกตะปูยาก ใช้ทาเสาคานบันไดคาน
6. ไม้อินทนิน มีสีแดงน้าตาล ชมพูอ่อน หาซื้อยาก ใช้งานก่อสร้างเหมือนไม้สัก
7. ไม้ตะแบก มีความมันวาวในเนื้อไม้ เนื้อแข็ง ใช้ในงานก่อสร้าง ทาพื้นบ้านงานกสิกรรม
8. ไม้ประดู่ สีแดงอมเหลือง ใช้ทาเครื่องเรือน โต๊ะ เก้าอี้
ข้อควรจา
1. ซื้อขายไม้ทั่ว ๆ ไป ความยาววัดเป็นเมตร พื้นที่หน้าตัดวัดเป็นนิ้ว
2. ซื้อขายไม้สัก ความยาวเป็นฟุต หน้าตัดเป็นนิ้ว
การเลือกใช้และการเก็บรักษาไม้
ความต้องการเลือกไม้ใช้งาน
1. ไม้แปรรูปได้ง่ายด้วยเครื่องมือธรรมดาได้ เช่น เลื่อย กบ สิ่ว
2. น้าหนักเบาแข็งแรง รับน้าหนักได้
3. อบ อาบน้ายา ทาให้เนื้อไม้ทนทาน อายุการใช้งานนาน
4. อาคารบ้านเรือนที่ทาด้วยไม้ป้ องกันความร้อนได้ดี เพราะไม้เป็นฉนวนความร้อน
5. ไม้มีหลายประเภทมีลวดลายสวยงาม เลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม
6. ไม้นอกจากใช้ในการก่อสร้างแล้วยังใช้งานอื่น ๆ ได้อีกมาก เช่น โครงประกอบ ยานพาหนะ เรือ รถบรรทุก
วิธีการเลือกใช้ไม้ มีดังนี้
1. ไม่หดตัวง่าย ต้องใช้ไม้แดง ไม้ประดู่ ไม้สัก ไม้มะค่า
2. พิจารณารายตาหนิ ตาไม้ รอยแตกร้าว ควรหลีกเลี่ยงน้อยที่สุด
3. พิจารณาคุณสมบัติเนื้อไม้ ให้เหมาะสมกับงาน เช่น ความสวยงาม เลื่อยยากหรือไม่ แมลงเจาะง่ายหรือไม่
ตอกตะปูง่ายหรือยาก
4. ราคา
สาเหตุทาให้ไม้ผุพัง
1. ความชื้นในเนื้อไม้
2. การใช้ไม้แปรรูปขณะที่ไม้ยังเปียกอยู่ อาจทาให้เกิดเชื้อรา หรือเมื่อไม้แห้งจะหดตัวลง
3. มีปลวก แมลง กินและทาลายเนื้อไม้
การป้ องกันไม่ให้ไม้ผุพังเร็ว
1. ทาให้เนื้อไม้แห้ง ตากไม้ให้แห้ง 1 – 2 ปี ไม้จะทนทาน ลงทุนน้อย
2. อมไม้ด้วยไอน้า อากาศร้อน 3 – 5 วัน
3. อาจใช้น้ายาป้ องกันปลวก เชื้อรา เป็นวิธีรักษาเนื้อไม้ได้ดีดที่สุด
การหาปริมาตรไม้
วิธีคานวณโดยการใช้สูตร
รูปที่11.13 สูตรหาปริมาตรไม้เมื่อกาหนดความยาวเป็นเมตร
ตัวอย่าง 1 ไม้ท่อนหนึ่งกว้าง 2 นิ้ว หนา 1 นิ้ว ยาว 4 เมตร จานวน 100 ท่อน จงหาปริมาตรของไม้
วิธีทา ปริมาตรของไม้กว้าง x หนา x ยาว x 0.0227 x 100
แทนค่า = 2” x 1” 4 ม. X 100 x 0.0227
= 18.16 ลูกบาศก์ฟุต ตอบ
รูปที่ 11.14 สูตรหาปริมาตรไม้เมื่อกาหนดความยาวเป็นฟุต
ตัวอย่าง 2 ไม้ท่อนหนึ่งกว้าง 2 นิ้ว ยาว 5 ฟุต หนา 1 ฟุต จานวน 50 ท่อน จงคานวณหาปริมาตรไม้ท่อนนี้
วิธีทา สูตรการหาปริมาตรของไม้ ( ฟุต3
) = กว้าง x ยาว x หนา x จานวนท่อนไม้
144
แทน = 50
144
1552
x
xx
= 3.47 ลูกบาศก์ฟุต ตอบ

More Related Content

Similar to 11 6

แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์
PN17
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวาน
Benjawan Punkum
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
Rachaya Smn
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
Yuporn Tugsila
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
Wichai Likitponrak
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
chunkidtid
 

Similar to 11 6 (10)

แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์แบ่งตามภูมิศาสตร์
แบ่งตามภูมิศาสตร์
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวาน
 
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงานแบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
แบบฟอร์มเขียนโครงร่างโครงงาน
 
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์โครงงานเสร็จสมบูรณ์
โครงงานเสร็จสมบูรณ์
 
Stem oui
Stem ouiStem oui
Stem oui
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 
งานบ้านถวาย
งานบ้านถวายงานบ้านถวาย
งานบ้านถวาย
 
ฐานการเรียนรู้สวนถาด
ฐานการเรียนรู้สวนถาดฐานการเรียนรู้สวนถาด
ฐานการเรียนรู้สวนถาด
 
ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7ใบความรู้ที่ 7
ใบความรู้ที่ 7
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

11 6

  • 1. 11.2.5 ไม้ ( Wood ) เป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่ใช้ในการก่อสร้าง ลักษณะของไม้ 1. เปลือก ( Bark ) ทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร 2. เยื่อเจริญ ( Cambium ) ทาหน้าที่ในการเติบโตของเนื้อไม้ด้านในและเสริมเปลือกไม้ชั้นใน 3. กระพี้ ( Sapwdood ) ทาหน้าที่ลาเลียงน้าและอาหารจากรากไปเลี้ยงใบ ตลอดจนเก็บแป้ งและน้าตาล 4. แก่น ( Heartwood) เป็นส่วนในของต้นไม้ที่ไม่ทางานแล้ว 5. วงปีหรือวงเจริญ ( Growth Ring ) นิยมใช้วงปีอายุของต้นไม้ 6. เส้นรัศมี ( Wood Ray ) ทาหน้าที่ลาเลียงอาหารที่ปรุงแล้วจากใบมาเลี้ยงส่วนของลาต้น 7. ใจ ( Pith ) เป็นใจอยู่กลางลาต้น เมื่อต้นไม้โตมาก ๆ ส่วนนี้อาจกลายเป็นโพรงได้ จาแนกของไม้ 1. ไม้เนื้อแข็ง คือ ไม้ที่มีค่าความแข็งในการตัดได้สูงกว่า 1,000 กิโลกรัม ต่อตารางเซนติเมตร มีความทนทาน ตามธรรมชาติเกิน 6 ปี มีอยู่ประมาณ 10 ชนิด ได้แก่ ไม้เต็ง ไม้รัง ไม้แดง ไม้ตะเคียนทอง ไม้ตะแบก ไม้ สัก ไม้เคี่ยม ไม้มะค่า ไม้ประดู่ 2. ไม้เนื้อแข็งปานกลาง สามารถทนแรงตัดได้ 600 – 1,000 กิโลกรัม ต่อตารางเซนติเมตร มีความทนทานตาม ธรรมชาติ 2 – 6 ปี มีอยู่ประมาณ 6 ชนิด ได้แก่ ไม้ยาง ไม้กระบอก ไม้ชุมแพรก ไม้นินทรี มะม่วงป่า ไม้ กระท้อน 3. ไม้เนื้ออ่อน ทนต่อแรงตัดได้ไม่เกิน 600 กิโลกรัม ต่อ ตารางเซนติเมตร มีความทนทานตามธรรมชาติไม่เกิน 2 ปี ที่นิยมใช้มีประมาณ 4 ชนิด ได้แก่ ไม้สยาขาว ไม้ก้านเหลือง ไม้มะยมป่า ไม้มะพร้าว ไม้อัด ( Plywood ) เป็นไม้ที่ใช้ในงานก่อสร้างที่มีอยู่ตามธรรมชาติ โดยไม้อัดได้มาจากกรรมวิธีการผลิต 3 วิธี คือ 1. ไม้อัดที่จากการปอก หรือ ผ่าน ใช้ในการทาบานประตู ฝ้าเพดาน แบบหล่อคอนกรีต 2. ไม้อัดแผ่นเรียบ ( Hand Board ) ไม้ชนิดนี้ด้านหนึ่งจะเรียบ และอีกด้านหนึ่งจะเป็นลาย การใช้งานใช้ทา ผนังกั้นห้อง เก็บเสียงและเก็บความร้อน 3. แผ่นชิ้นไม้อัด ( Particle Board ) ได้มาจากการผลิตไม้แปรรูปต่าง ๆ ได้แก่ เศษการเลื่อย ( ขี้เลื่อย ) เส้นใย จากการเกษตร หรือชานอ้อย เป็นต้น แล้วนามาวัด ติดกันโดยใช้การสังเคราะห์เป็นตัวประสาน ใช้ในงานทา ฝ้า ทาเพดาน ทาตู้ใส่ของ ทาเฟอร์นิเจอร์
  • 2. รูปที่11.9 ภาคตัดแสดงโครงสร้างของไม้ รูปที่11.10 วงการเติบโตของไม้ รูปที่11.11 แสดงการหดตัวของไม้ รูปที่ 11.12 หน้าตัดท่อนไม้ตามขวาง
  • 3. ส่วนประกอบของไม้ 1. ใจกลาง อยู่ศูนย์กลางหน้าตัดลาต้น มีลักษณะเป็นรูเล็ก ๆ ถ้าเป็นต้นไม้ใหญ่ขนาดของรูจะโตเป็นโพรง ใจกลาง ของไม้ไม่แข็งแรง 2. แก่นไม้ อยู่ในส่วนกลางห่างจากใจกลาง คือ ส่วนที่เป็นเนื้อไม้ เป็นส่วนที่แข็งแรงที่สุด เป็นส่วนที่นาไปใช้ งาน 3. กระพี้ อยู่ห่างจากหน้าตัดลาต้น เนื้อไม้ส่วนนี้อ่อนไม่ทนต่อการใช้งาน แมลงเจาะกินได้ง่าย 4. วงปี เป็นส่วนที่อยู่รอบ ๆ เป็นวง ๆ แสดงถึงการเจริญเติบโตของต้นได้ ถ้าจะนับอายุของต้นไม้ดูจากวงปี 1 วง เท่ากับ 1 ปี 5. ทางลาเลียงลาต้น คือ วงปืนอกสุดของลาต้น เป็นส่วนลาเลียงน้าและอาหารไปสู่ส่วนต่าง ๆ ของลาต้น 6. เปลือกไม้ เป็นส่วนที่มองเห็นเพราะอยู่ส่วนนอกของลาต้น 7. รัศมี เป็นเส้นตัดผ่านวงปีไปยังเปลือกไม้ ไม้ที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ 1. ไม้สัก ง่ายต่อการเลื่อยไส สักทอง มีลวดลายสวยงามที่สุด สักหิน สักขี้ควาย ราคาแพง ใช้ทาเครื่องเรือน หน้าต่าง ประตู 2. ไม้ตะเคียนทอง มีความแข็งแรงทนทาน ใช้ทาวงกบ ประตูหน้าต่าง 3. ไม้ยาง มีมากในประเทศไทย เลื่อยไสง่าย ราคาถูก ใช้ทาฝาบ้าน 4. ไม้เต็ง มีความแข็งแรง เลื่อยไสตอกตะปูยาก ถูกความร้อนจะแตกง่าย ใช้ทาคาน เสาเครื่องมือกสิกรรม 5. ไม้แดง มีสีแดงลวดลายสวยงาม เลื่อยไสตอกตะปูยาก ใช้ทาเสาคานบันไดคาน 6. ไม้อินทนิน มีสีแดงน้าตาล ชมพูอ่อน หาซื้อยาก ใช้งานก่อสร้างเหมือนไม้สัก 7. ไม้ตะแบก มีความมันวาวในเนื้อไม้ เนื้อแข็ง ใช้ในงานก่อสร้าง ทาพื้นบ้านงานกสิกรรม 8. ไม้ประดู่ สีแดงอมเหลือง ใช้ทาเครื่องเรือน โต๊ะ เก้าอี้ ข้อควรจา 1. ซื้อขายไม้ทั่ว ๆ ไป ความยาววัดเป็นเมตร พื้นที่หน้าตัดวัดเป็นนิ้ว 2. ซื้อขายไม้สัก ความยาวเป็นฟุต หน้าตัดเป็นนิ้ว การเลือกใช้และการเก็บรักษาไม้ ความต้องการเลือกไม้ใช้งาน 1. ไม้แปรรูปได้ง่ายด้วยเครื่องมือธรรมดาได้ เช่น เลื่อย กบ สิ่ว 2. น้าหนักเบาแข็งแรง รับน้าหนักได้ 3. อบ อาบน้ายา ทาให้เนื้อไม้ทนทาน อายุการใช้งานนาน 4. อาคารบ้านเรือนที่ทาด้วยไม้ป้ องกันความร้อนได้ดี เพราะไม้เป็นฉนวนความร้อน 5. ไม้มีหลายประเภทมีลวดลายสวยงาม เลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม 6. ไม้นอกจากใช้ในการก่อสร้างแล้วยังใช้งานอื่น ๆ ได้อีกมาก เช่น โครงประกอบ ยานพาหนะ เรือ รถบรรทุก
  • 4. วิธีการเลือกใช้ไม้ มีดังนี้ 1. ไม่หดตัวง่าย ต้องใช้ไม้แดง ไม้ประดู่ ไม้สัก ไม้มะค่า 2. พิจารณารายตาหนิ ตาไม้ รอยแตกร้าว ควรหลีกเลี่ยงน้อยที่สุด 3. พิจารณาคุณสมบัติเนื้อไม้ ให้เหมาะสมกับงาน เช่น ความสวยงาม เลื่อยยากหรือไม่ แมลงเจาะง่ายหรือไม่ ตอกตะปูง่ายหรือยาก 4. ราคา สาเหตุทาให้ไม้ผุพัง 1. ความชื้นในเนื้อไม้ 2. การใช้ไม้แปรรูปขณะที่ไม้ยังเปียกอยู่ อาจทาให้เกิดเชื้อรา หรือเมื่อไม้แห้งจะหดตัวลง 3. มีปลวก แมลง กินและทาลายเนื้อไม้ การป้ องกันไม่ให้ไม้ผุพังเร็ว 1. ทาให้เนื้อไม้แห้ง ตากไม้ให้แห้ง 1 – 2 ปี ไม้จะทนทาน ลงทุนน้อย 2. อมไม้ด้วยไอน้า อากาศร้อน 3 – 5 วัน 3. อาจใช้น้ายาป้ องกันปลวก เชื้อรา เป็นวิธีรักษาเนื้อไม้ได้ดีดที่สุด การหาปริมาตรไม้ วิธีคานวณโดยการใช้สูตร รูปที่11.13 สูตรหาปริมาตรไม้เมื่อกาหนดความยาวเป็นเมตร ตัวอย่าง 1 ไม้ท่อนหนึ่งกว้าง 2 นิ้ว หนา 1 นิ้ว ยาว 4 เมตร จานวน 100 ท่อน จงหาปริมาตรของไม้ วิธีทา ปริมาตรของไม้กว้าง x หนา x ยาว x 0.0227 x 100 แทนค่า = 2” x 1” 4 ม. X 100 x 0.0227 = 18.16 ลูกบาศก์ฟุต ตอบ รูปที่ 11.14 สูตรหาปริมาตรไม้เมื่อกาหนดความยาวเป็นฟุต
  • 5. ตัวอย่าง 2 ไม้ท่อนหนึ่งกว้าง 2 นิ้ว ยาว 5 ฟุต หนา 1 ฟุต จานวน 50 ท่อน จงคานวณหาปริมาตรไม้ท่อนนี้ วิธีทา สูตรการหาปริมาตรของไม้ ( ฟุต3 ) = กว้าง x ยาว x หนา x จานวนท่อนไม้ 144 แทน = 50 144 1552 x xx = 3.47 ลูกบาศก์ฟุต ตอบ