SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
ต้นสัก
สัก เป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ผลัดใบในฤดูร้อน ลาต้นเปลาตรงเปลือกเรียบหรือแตกเป็นร่อง
เล็ก ๆ สีเทา โคนเป็นพูพอนต่า ๆ เรือนยอดเป็นพุ่มทรงกลมค่อนข้างทึบ เปลือกสีเทา
เรียบ หรือแตกเป็นร่องตื้นตามความยาวลาต้น ขึ้นเป็นหมู่ในป่าเบญจพรรณทาง
ภาคเหนือ บางส่วนในภาคกลางและภาคตะวันตก มีอยู่บ้างทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สักมักจะได้รับความเข้าใจผิดเสมอว่าเป็นไม้เนื้อแข็งเนื่องจากว่ามันมีลักษณะพิเศษที่เป็น
ไม้เนื้ออ่อนที่มีความทนทานกว่าไม้เนื้อแข็งหลาย ๆ ชนิด
 ไม้สักนิยมใช้ก่อสร้างอาคารบ้านเรือนมาตั้งแต่สมัยโบราณ เพราะทนต่อปลวกและมอดได้ดี เนื่องจากเนื้อ
ไม้สักมีสารเคมีชนิดพิเศษที่เรียกว่า O-cresyl methyl ether ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ของกรมป่า
ไม้ได้ศึกษาพบว่า หากนาสารชนิดดังกล่าวมาทาหรืออาบไม้ จะช่วยทาให้ไม้คงทนต่อ ปลวก แมลง เห็ดรา
ได้อย่างดียิ่งขึ้น
 กรมป่าไม้จัดกลุ่มไม้สักอยู่ในประเภทไม้เนื้อแข็ง เพราะไม้สักนั้นมีความแข็งแรงมากว่า 1,000 กิโลกรัม/
ตารางเซนติเมตร และมีความทนทานตามธรรมชาติ จากการทดลองนาส่วนที่เป็นแก่นของไม้สักไป
ทดลองปักดิน ปรากฏว่า มีความทนทานตามธรรมชาติเกินกว่า 10 ปี (ระหว่าง 11-18 ปี)
คุณสมบัติเด่นของไม้สัก
 การเพาะเมล็ด
 นาเมล็ดแช่น้า 2 วัน สลับผึ่งแดด 1 วัน รวม 15 วัน แล้วหว่านในแปลงเพาะให้กระจัดกระจายทั่วกัน
กลบด้วยวัสดุเพาะชา สูงประมาณ 3-5 มิลลิเมตร หรืออาจทาร่องแล้วหว่านลงในร่องจะสะดวกในการกลบ
และเมล็ดจะงอกอย่างเป็นระเบียบ แปลงเพาะควรอยู่กลางแจ้ง เมล็ดสักจะงอกไม่พร้อมกัน บางเมล็ดงอก
ภายใน 3 สัปดาห์ บางเมล็ด 2 ปีจึงงอก
 การปักชา
 เลือกไม้สายพันธุ์ดีที่ต้องการขยายพันธุ์ (ต้นแม่พันธุ์) เลือกตัดชิ้นส่วนของไม้ที่พัฒนาเป็นกล้าไม้ได้ง่าย
นาไปกระตุ้นการออกรากและลาต้นด้วยสารเคมี (สารเคมีมีขายตามท้องตลาด)
 นาส่วนของพืชที่ได้รับการกระตุ้นแล้วไปไว้ในโรงเรือนที่สามารถควบคุมความชื้นและอุณหภูมิได้ และดูแล
จนกว่าส่วนของพืชที่นามาปักชาจะสร้างรากและลาต้น นากล้าไม้ที่ออกรากและลาต้นไปอนุบาลจนกล้าไม้
เริ่มแข็งแรง นากล้าไม้ออกไปกลางแจ้งเพื่อให้กล้าไม้ปรับตัวและแข็งแรงพอที่จะนาไปปลูกได้
การขยายพันธุ์
 มล็ดไม้สักจะนามาเตรียมเพาะกล้าเพื่อปลูกสร้างสวนป่า ควรเลือกเก็บจากแหล่งไม้สักที่มีลักษณะดีในป่าธรรมธรรมชาติ หรือ
จากสวนผลิตเมล็ตพันธุ์ไม้สักที่จัดทาขึ้นเท่านั้น ไม้สักที่ควรเก็บเมล็ดมาใช้เพาะเพื่อเตรียมกล้าไม้ควรมีอายุตั้งแต่ 15 ปี และมี
ความโตทางเส้นรอบวงตั้งแต่ 100 เซนติเมตรขึ้นไป

 การเก็บเมล็ดไม้สักจากต้นสักในป่าธรรมชาติทั่ว ๆไป โดยไม่มีการคิดเลือกอาจจะทาให้ได้พันธุ์ไม่ดีมาปลูก ทาให้การปลุก
สร้างสวนป่าไม่ประสมผลสาเร็จเท่าที่ควร คือ ต้นไม้โตช้า รูปทรงไม่ดี แตกกิ่งก้านมาก เป็นต้น โดยทั่วไปผลไม้สักจะแก่ราว
เดือนพฤษจิกายน-มกราคม และร่วงหล่นไปตลอดฤดูแล้ง ดังนี้ การเก็บเมล็ดสักจึงสามารถดาเนินการได้ในช่วงเวลาดังกล่าว
โดยเก็บตามโคนต้น หรือปีนขึ้นไปเก็บผลที่แก่แล้วบนต้น

การเก็บเมล็ดไม้สัก
 การเพาะเมล็ดไม้สักจานวนมาก ๆ ต้องทาแปลงเพาะขนาดมาตรฐาน ควรมีความกว้าง 1.10 เมตร ความยาวตามความ
เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ แต่ถ้าเป็นการเพาะกล้าไม้จานวนน้อยจะเพาะในกระบะก่อน แล้วจึงย้ายลงในแปลงเพาะในภายหลังก็ได้
ดินในแปลงเพาะควรเป็นดินร่วนปนทราย และเนื่องจากเมล็ดไม้สักอยู่ในผลที่มีเปลือกหนาและแข็งมาก ทาให้ใช้เวลาการงอก
ช้ามาก การนาเมล็ดแช่น้านาน 72 ชั่วโมงก่อนนาไปเพาะจะช่วยให้งอกเร็วขึ้น

 ควรทาแนวลึกลงบนแปลงเพาะตามความยาวแปลงเพาะ แต่ละแนวห่างกันประมาณ 10 เซนติเมตร แล้วโรยเมล็ดสักลงตาม
แนว กลบเมล็ดด้วยดินร่วน ทรายหยาบ หรือ ทรายผสมขี้เลื่อยหนาไม่เกิน 2 เซนติเมตร รดน้าทุกวันในช่วงที่ฝนไม่ตก
หลังจากนาเมล็ดสักลงเพาะในแปลงเพาะประมาณ 10-15 วัน กล้าไม้ก็จะงอกงาม

 ควรจะมีการป้ องกันกาจัดไม่ให้วัชพืชขึ้นคลุม หรือแย่งอาหารในดินจากกล้าไม้สักที่กาลังงอก โดยปกติ จะทาหลังจากการรดน้า
กล้าไม้เสร็จใหม่ ๆ เพราะดินในแปลงเพาะยังอ่อนอยู่จะทาให้ถอนวัชพืชง่ายขึ้น หากพบว่ามีโรคและแมลงรบกวน โดยเฉพาะ
หนอนผีเสื้อกัดกินใบสัก และหนอนผีเสื้อกินผิวใบสัก ต้องรีบป้ องกันและกาจัดโดยใช้ยาฆ่าแมลงพ่นทาลายเสีย และในระหว่าง
การเจริญเติบโต ถ้าสังเกตุเห็นว่ากล้าไม้สักโตไม่ได้ขนาดปลูก ก็ใช้ปุ๋ยช่วยเร่งทางใบและทางราก
การเพาะเมล็ดไม้สัก
 ลาต้น : เป็นเปลาตรงเปลือกเรียบหรือแตกเป็นร่องเล็ก ๆ สีเทา โคนเป็นพูพอนต่า ๆ
 ใบ : เป็นใบเดี่ยวใหญ่มาก ออกตรงข้ามกันเป็นคู่ ปลายใบแหลมโคนมน ยาว 25 - 30
เซนติเมตร กว้างเกือบเท่ายาว ใบของต้นอ่อนจะใหญ่กว่า นี้มาก ผิวใบขนสากคายสีเขียวเข้ม
ขยี้ใบสดจะมีสีแดงเหมือนเลือด
 ดอก : มีขนาดเล็ก สีขาวนวลออกเป็นช่อตาม ปลายกิ่ง ออกดอกและเป็นผลเดือน มิถุนายน
- ตุลาคม
 ผล : เป็นผลแห้งค่อนข้างกลมเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร เปลือกแข็ง ภายในมี
1 - 3 เมล็ด
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
 ในด้านการใช้ประโยชน์จากไม้สัก จะมีการแบ่งคุณลักษณะของไม้สักโดยพิจารณาจากสีของเนื้อไม้ ความแข็ง ความ
เหนียว และการตกแต่งของเนื้อไม้ ออกเป็น 5 ชนิด ได้แก่[2]
 ไม้สักทอง – เนื้อไม้เป็นสีน้าตาลทอง เสี้ยนไม้ตรง ตกแต่งได้ง่าย[2]
 ไม้สักหิน – เนื้อไม้เป็นสีน้าตาลหรือสีจาง ตกแต่งได้ง่าย[2]
 ไม้สักหยวก – เนื้อไม้เป็นสีน้าตาลอ่อนหรือสีจาง ตกแต่งได้ง่าย[2]
 ไม้สักไข่ – เนื้อไม้เป็นสีน้าตาลเข้มปนสีเหลืองและมีไขปนอยู่ ตกแต่งและทาสีได้ยาก[2]
 ไม้สักขี้ควาย – เนื้อไม้เป็นสีเขียวปนสีน้าตาล น้าตาลดาดูเป็นสีเลอะ ๆ[2]
 สาหรับไม้สักที่นามาใช้ทาเฟอร์นิเจอร์จะแบ่งเป็น 3 เกรด คือ
 ไม้สักเกรดเอ หรือ ไม้เรือนเก่า – ไม้สักเกรดนี้จะได้มาจากการรื้อถอนจากบ้านเก่า มีราคาสูง ความชื้นต่า เพราะ
เนื้อไม้แห้ง สีค่อนข้างสวย ไม้จะหดตัวได้น้อยมาก และเนื้อไม้จะเป็นสีน้าตาลทองเข้ม
 ไม้สักเกรดบี หรือ ไม้ออป. หรือ ไม้สักสวนป่า (“ออป.” ย่อมาจาก องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้) – จัดเป็นไม้สัก
ที่มีคุณภาพดีพอสมควรเพราะปลูกในพื้นที่ภูเขา การหดตัวมีน้อย แก่นไม้เยอะกว่าไม้นส. สีเนื้อไม้เข้มกว่าไม้นส.
 ไม้สักเกรดซี หรือ ไม้นส. (“นส.” ย่อมาจาก หนังสือแสดงสิทธิทากิน (นส.3)) – เป็นไม้สักที่มีปลูกในพื้นที่ของ
เอกชนหรือประชาชนทั่วไป ไม้มีคุณภาพปานกลาง มีกาดหดตัวมากกว่าไม้ออป. สีเนื้อไม้อ่อนออกเหลืองนวล และ
แก่นไม้มีน้อยกว่าไม้ออป.
ชนิดของไม้สัก
1. ใบนามาต้มกับน้ารับประทานเป็นยาลดระดับน้าตาลในเลือด (ใบ)[3]
2. เนื้อไม้และใบมีรสเผ็ดเล็กน้อย สรรพคุณเป็นยาบารุงโลหิต (เนื้อไม้,ใบ)[3]
3. ใบมีรสเผ็ดเล็กน้อย มีสรรพคุณเป็นยาแก้พิษโลหิต (ใบ)[3]
4. ช่วยแก้อาการอ่อนเพลีย (เนื้อไม้)[3]
5. เปลือกไม้มีสรรพคุณแก้อาการปวดศีรษะ (เปลือกไม้)[1]
6. เมล็ดใช้เป็นยารักษาโรคตา (เมล็ด)[1]
7. ใบใช้ทาเป็นยาอมแก้เจ็บคอ (ใบ)[3]
8. ช่วยแก้ไข้คุมธาตุในร่างกาย (เนื้อไม้)[3]
9. เนื้อไม้ใช้รับประทานเป็นยาขับลมได้ดีมาก ส่วนใบก็มีสรรพคุณเป็นยาขับลมเช่นกัน (เนื้อไม้,ใบ)[3]
10.เนื้อไม้มีสรรพคุณเป็นยาขับพยาธิ (เนื้อไม้)[3]
11.เนื้อไม้ ใบ และดอกมีสรรพคุณเป็นยาขับปัสสาวะ (เนื้อไม้,ใบ,ดอก)[3]
12.ใบใช้เป็นยาแก้ทางเดินปัสสาวะอักเสบ (ใบ)[3]
13.ช่วยรักษาประจาเดือนไม่ปกติ (ใบ)[3]
14.ช่วยรักษาโรคผิวหนัง (เนื้อไม้)[3]
15.เปลือกมีสรรพคุณเป็นยาฝาดสมาน (เปลือก)[3]
16.เปลือกไม้มีสรรพคุช่วยบรรเทาอาการบวม (เปลือกไม้)[1] ส่วนเนื้อไม้มีสรรพคุณเป็นยาแก้บวม (เนื้อไม้)[3]
17.ช่วยแก้ลมในกระดูก (เนื้อไม้)[3]
สรรพคุณของสัก
 ไม้สัก มีชื่อในภาษาอังกฤษว่า Teak และมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Tectona grandis อยู่ในวงค์
Verbenaceae มีถิ่นกาเนิดอยู่ในตอนใต้ของประเทศอินเดีย พม่า ไทย อินโดนีเซีย และหมู่เกาะอินเดีย
ตะวันออก
ไม้สัก เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ขึ้นเป็นหมู่ในป่าเบญจพรรณทางภาคเหนือของประเทศไทย รวมถึงบางส่วนของภาค
กลางและตะวันตก คือ ในท้องที่จังหวัดแพร่ น่าน ตาก กาแพงเพชร สาปาง ย เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก สุ
โขทั แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ สาพูน เชียงราย และพิจิตรและมีบ้างเล็กน้อยในจังหวัด อุทัยธานี นครสวรรค์ และ
กาญจนบุรี
ไม้สัก ชอบขึ้นตามพื้นที่ที่เป็นภูเขา แต่ในพื้นที่ราบก็มีข้อมูลการเจริญเติบโดของไม้สักดีเช่นเดียวกัน ในพื้นที่ที่เป็น
ดินปนทรายแต่น้าไม่ขัง ไม้สักมักขึ้นเป็นหมู่ไม้สักล้วน ๆ และมีไม้ขนาดใหญ่ ไม้สักชอบพื้นที่ที่มีชั้นดินลึก ไม่ชอบ
ดินแข็งและน้าท่วมขัง กล่าวคือต้องมีการระบายน้าที่ดีด้วย
ไม้สัก ขึ้นได้ดีในดินที่เกิดจากหินหลายชนิด แต่ว่าสิ่งที่ทาให้มีการเจริญงอกงามแตกต่างกันคือความลึก การระบาย
น้า ความชื้น และความอุดมสมบูรณ์ ของดินนั้น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่ที่มีดินที่เกิดจากหินปูนซึ่งแตกแยก
ผุผังจนกลายเป็นดินร่วนที่ลึก ต้นไม้เหล่านี้จะชอบมากและเจริญเติบโตได้อย่างเร็วและสมบูรณ์ ไม้สักชอบดินที่มี
ความเป็นกลางและด่างเล็กน้อย หรือให้เปรียบเป็นค่า pH ระหว่าง 6.5-7.5 ก็จะเป็นช่วงที่ดีที่สุด ปริมาณน้าฝนที่
ไม้สักต้องการ ระหว่าง 1,200-2,000มม. ต่อปี ซึ่งถือว่าไม่น้อยไม่เยอะสาหรับไม้ยืนต้นเลย ความสูงจาก
ระดับน้าทะเลวัดจากระดับปานกลางไม่เกิน 0.7 กิโลเมตร และมีฤดูแล้งแยกจากฤดูฝนชัดเจนประมาณ 1 -2 เดือน
จะทาให้ไม้สักมีลวดลายสวยงามเหมาะแก่การนาไปแปรรูปทาเฟอร์นิเจอร์ต่อไป
ถิ่นกาเนิดของไม้สัก
1.การแผ้วถางวัชพืช ควรกาจัดวัชพืชให้โล่งเตียนตลอดเวลา เพื่อลดการแก่งแย่งธาตุอาหารในดิน และ
เบียดบังแสงแดดซึ่งจาเป็นต่อการเจริญเติบโต และยังช่วยป้ องกันไฟป่ าอันอาจจะเกิดขึ้นในูดลแล้งได้ด้วย
2.การใส่ปุ๋ ย ในพื้นที่ที่มีดินเลวควรใส่ปุ๋ ยเพื่อเร่งการเจริญเติบโตในระยะแรก ๆ โดยใส่ปุ๋ ยสลตร 15-15-
15 หรือ 22-11-11 ใส่ต้นไม้ปีละ 1-2 ครั้ง โดยปีแรกใส่ครั้งละ 25 กรัม ต่อต้น ปีที่ 2 ใส่ 50 กรัม ต่อ
ต้น ปีที่ 3 ใส่ 75 กรัม ต่อต้น ปีที่ 4-5 ใส่ประมาณ 100 กรัม ต่อต้น หากใช้ปุ๋ ยเคมีร่วมกับปุ๋ ยคอกหรือ
ปุ๋ ยหมักด้วย ก็จะทาให้โครงสร้างของดินดีขึ้น
3.การป้ องกันไฟป่ า โดยทาทางตรวจการและแนวป้ องกันไฟรอบ ๆ แปลง และควบคุมวัชพืช ซึ่งเป็น
เชื้อเพลิงในบริเวณสวนให้เตียนตลอดูดลแล้ง เพราะหากเกิดไฟป่ าในสวนสักจะทาให้ต้นไม้ที่ยังเล็กอยล่
ได้รับความเสียหายได้
4.การป้ องกันโรคและแมลง โรคที่พบส่วนใหญ่ในต้นสักขนาดเล็ก คือ โรคเน่าคอดิน ซึ่งทาให้ต้นตายได้
เกิดจากดินมีความชื้นสลงเกินไป หรือน้าท่วมขัง การแก้ไขโดยขจัดระบบการระบายน้าให้ดีหรือหลีกเลี่ยง
การปลลกบริเวณที่ลุ่ม น้าท่วมขังได้ง่าย
5.เมื่อต้นไม้มีอายุมากขึ้นและขนาดโตขึ้น ควรมีการผลิตและตกแต่งกิ่งเพื่อให้ลาต้นสวยงาม การตัดสาง
ขยายระยะเพื่อเปิดโอกาสให้ต้นไม้เจริญเติบโตได้เต็มที่
การบารุงรักษาต้นสัก

More Related Content

Featured

Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 

Featured (20)

Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 

ต้นสัก

  • 1. ต้นสัก สัก เป็นไม้ต้นขนาดใหญ่ผลัดใบในฤดูร้อน ลาต้นเปลาตรงเปลือกเรียบหรือแตกเป็นร่อง เล็ก ๆ สีเทา โคนเป็นพูพอนต่า ๆ เรือนยอดเป็นพุ่มทรงกลมค่อนข้างทึบ เปลือกสีเทา เรียบ หรือแตกเป็นร่องตื้นตามความยาวลาต้น ขึ้นเป็นหมู่ในป่าเบญจพรรณทาง ภาคเหนือ บางส่วนในภาคกลางและภาคตะวันตก มีอยู่บ้างทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สักมักจะได้รับความเข้าใจผิดเสมอว่าเป็นไม้เนื้อแข็งเนื่องจากว่ามันมีลักษณะพิเศษที่เป็น ไม้เนื้ออ่อนที่มีความทนทานกว่าไม้เนื้อแข็งหลาย ๆ ชนิด
  • 2.  ไม้สักนิยมใช้ก่อสร้างอาคารบ้านเรือนมาตั้งแต่สมัยโบราณ เพราะทนต่อปลวกและมอดได้ดี เนื่องจากเนื้อ ไม้สักมีสารเคมีชนิดพิเศษที่เรียกว่า O-cresyl methyl ether ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ของกรมป่า ไม้ได้ศึกษาพบว่า หากนาสารชนิดดังกล่าวมาทาหรืออาบไม้ จะช่วยทาให้ไม้คงทนต่อ ปลวก แมลง เห็ดรา ได้อย่างดียิ่งขึ้น  กรมป่าไม้จัดกลุ่มไม้สักอยู่ในประเภทไม้เนื้อแข็ง เพราะไม้สักนั้นมีความแข็งแรงมากว่า 1,000 กิโลกรัม/ ตารางเซนติเมตร และมีความทนทานตามธรรมชาติ จากการทดลองนาส่วนที่เป็นแก่นของไม้สักไป ทดลองปักดิน ปรากฏว่า มีความทนทานตามธรรมชาติเกินกว่า 10 ปี (ระหว่าง 11-18 ปี) คุณสมบัติเด่นของไม้สัก
  • 3.  การเพาะเมล็ด  นาเมล็ดแช่น้า 2 วัน สลับผึ่งแดด 1 วัน รวม 15 วัน แล้วหว่านในแปลงเพาะให้กระจัดกระจายทั่วกัน กลบด้วยวัสดุเพาะชา สูงประมาณ 3-5 มิลลิเมตร หรืออาจทาร่องแล้วหว่านลงในร่องจะสะดวกในการกลบ และเมล็ดจะงอกอย่างเป็นระเบียบ แปลงเพาะควรอยู่กลางแจ้ง เมล็ดสักจะงอกไม่พร้อมกัน บางเมล็ดงอก ภายใน 3 สัปดาห์ บางเมล็ด 2 ปีจึงงอก  การปักชา  เลือกไม้สายพันธุ์ดีที่ต้องการขยายพันธุ์ (ต้นแม่พันธุ์) เลือกตัดชิ้นส่วนของไม้ที่พัฒนาเป็นกล้าไม้ได้ง่าย นาไปกระตุ้นการออกรากและลาต้นด้วยสารเคมี (สารเคมีมีขายตามท้องตลาด)  นาส่วนของพืชที่ได้รับการกระตุ้นแล้วไปไว้ในโรงเรือนที่สามารถควบคุมความชื้นและอุณหภูมิได้ และดูแล จนกว่าส่วนของพืชที่นามาปักชาจะสร้างรากและลาต้น นากล้าไม้ที่ออกรากและลาต้นไปอนุบาลจนกล้าไม้ เริ่มแข็งแรง นากล้าไม้ออกไปกลางแจ้งเพื่อให้กล้าไม้ปรับตัวและแข็งแรงพอที่จะนาไปปลูกได้ การขยายพันธุ์
  • 4.  มล็ดไม้สักจะนามาเตรียมเพาะกล้าเพื่อปลูกสร้างสวนป่า ควรเลือกเก็บจากแหล่งไม้สักที่มีลักษณะดีในป่าธรรมธรรมชาติ หรือ จากสวนผลิตเมล็ตพันธุ์ไม้สักที่จัดทาขึ้นเท่านั้น ไม้สักที่ควรเก็บเมล็ดมาใช้เพาะเพื่อเตรียมกล้าไม้ควรมีอายุตั้งแต่ 15 ปี และมี ความโตทางเส้นรอบวงตั้งแต่ 100 เซนติเมตรขึ้นไป   การเก็บเมล็ดไม้สักจากต้นสักในป่าธรรมชาติทั่ว ๆไป โดยไม่มีการคิดเลือกอาจจะทาให้ได้พันธุ์ไม่ดีมาปลูก ทาให้การปลุก สร้างสวนป่าไม่ประสมผลสาเร็จเท่าที่ควร คือ ต้นไม้โตช้า รูปทรงไม่ดี แตกกิ่งก้านมาก เป็นต้น โดยทั่วไปผลไม้สักจะแก่ราว เดือนพฤษจิกายน-มกราคม และร่วงหล่นไปตลอดฤดูแล้ง ดังนี้ การเก็บเมล็ดสักจึงสามารถดาเนินการได้ในช่วงเวลาดังกล่าว โดยเก็บตามโคนต้น หรือปีนขึ้นไปเก็บผลที่แก่แล้วบนต้น  การเก็บเมล็ดไม้สัก
  • 5.  การเพาะเมล็ดไม้สักจานวนมาก ๆ ต้องทาแปลงเพาะขนาดมาตรฐาน ควรมีความกว้าง 1.10 เมตร ความยาวตามความ เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ แต่ถ้าเป็นการเพาะกล้าไม้จานวนน้อยจะเพาะในกระบะก่อน แล้วจึงย้ายลงในแปลงเพาะในภายหลังก็ได้ ดินในแปลงเพาะควรเป็นดินร่วนปนทราย และเนื่องจากเมล็ดไม้สักอยู่ในผลที่มีเปลือกหนาและแข็งมาก ทาให้ใช้เวลาการงอก ช้ามาก การนาเมล็ดแช่น้านาน 72 ชั่วโมงก่อนนาไปเพาะจะช่วยให้งอกเร็วขึ้น   ควรทาแนวลึกลงบนแปลงเพาะตามความยาวแปลงเพาะ แต่ละแนวห่างกันประมาณ 10 เซนติเมตร แล้วโรยเมล็ดสักลงตาม แนว กลบเมล็ดด้วยดินร่วน ทรายหยาบ หรือ ทรายผสมขี้เลื่อยหนาไม่เกิน 2 เซนติเมตร รดน้าทุกวันในช่วงที่ฝนไม่ตก หลังจากนาเมล็ดสักลงเพาะในแปลงเพาะประมาณ 10-15 วัน กล้าไม้ก็จะงอกงาม   ควรจะมีการป้ องกันกาจัดไม่ให้วัชพืชขึ้นคลุม หรือแย่งอาหารในดินจากกล้าไม้สักที่กาลังงอก โดยปกติ จะทาหลังจากการรดน้า กล้าไม้เสร็จใหม่ ๆ เพราะดินในแปลงเพาะยังอ่อนอยู่จะทาให้ถอนวัชพืชง่ายขึ้น หากพบว่ามีโรคและแมลงรบกวน โดยเฉพาะ หนอนผีเสื้อกัดกินใบสัก และหนอนผีเสื้อกินผิวใบสัก ต้องรีบป้ องกันและกาจัดโดยใช้ยาฆ่าแมลงพ่นทาลายเสีย และในระหว่าง การเจริญเติบโต ถ้าสังเกตุเห็นว่ากล้าไม้สักโตไม่ได้ขนาดปลูก ก็ใช้ปุ๋ยช่วยเร่งทางใบและทางราก การเพาะเมล็ดไม้สัก
  • 6.  ลาต้น : เป็นเปลาตรงเปลือกเรียบหรือแตกเป็นร่องเล็ก ๆ สีเทา โคนเป็นพูพอนต่า ๆ  ใบ : เป็นใบเดี่ยวใหญ่มาก ออกตรงข้ามกันเป็นคู่ ปลายใบแหลมโคนมน ยาว 25 - 30 เซนติเมตร กว้างเกือบเท่ายาว ใบของต้นอ่อนจะใหญ่กว่า นี้มาก ผิวใบขนสากคายสีเขียวเข้ม ขยี้ใบสดจะมีสีแดงเหมือนเลือด  ดอก : มีขนาดเล็ก สีขาวนวลออกเป็นช่อตาม ปลายกิ่ง ออกดอกและเป็นผลเดือน มิถุนายน - ตุลาคม  ผล : เป็นผลแห้งค่อนข้างกลมเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร เปลือกแข็ง ภายในมี 1 - 3 เมล็ด ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
  • 7.  ในด้านการใช้ประโยชน์จากไม้สัก จะมีการแบ่งคุณลักษณะของไม้สักโดยพิจารณาจากสีของเนื้อไม้ ความแข็ง ความ เหนียว และการตกแต่งของเนื้อไม้ ออกเป็น 5 ชนิด ได้แก่[2]  ไม้สักทอง – เนื้อไม้เป็นสีน้าตาลทอง เสี้ยนไม้ตรง ตกแต่งได้ง่าย[2]  ไม้สักหิน – เนื้อไม้เป็นสีน้าตาลหรือสีจาง ตกแต่งได้ง่าย[2]  ไม้สักหยวก – เนื้อไม้เป็นสีน้าตาลอ่อนหรือสีจาง ตกแต่งได้ง่าย[2]  ไม้สักไข่ – เนื้อไม้เป็นสีน้าตาลเข้มปนสีเหลืองและมีไขปนอยู่ ตกแต่งและทาสีได้ยาก[2]  ไม้สักขี้ควาย – เนื้อไม้เป็นสีเขียวปนสีน้าตาล น้าตาลดาดูเป็นสีเลอะ ๆ[2]  สาหรับไม้สักที่นามาใช้ทาเฟอร์นิเจอร์จะแบ่งเป็น 3 เกรด คือ  ไม้สักเกรดเอ หรือ ไม้เรือนเก่า – ไม้สักเกรดนี้จะได้มาจากการรื้อถอนจากบ้านเก่า มีราคาสูง ความชื้นต่า เพราะ เนื้อไม้แห้ง สีค่อนข้างสวย ไม้จะหดตัวได้น้อยมาก และเนื้อไม้จะเป็นสีน้าตาลทองเข้ม  ไม้สักเกรดบี หรือ ไม้ออป. หรือ ไม้สักสวนป่า (“ออป.” ย่อมาจาก องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้) – จัดเป็นไม้สัก ที่มีคุณภาพดีพอสมควรเพราะปลูกในพื้นที่ภูเขา การหดตัวมีน้อย แก่นไม้เยอะกว่าไม้นส. สีเนื้อไม้เข้มกว่าไม้นส.  ไม้สักเกรดซี หรือ ไม้นส. (“นส.” ย่อมาจาก หนังสือแสดงสิทธิทากิน (นส.3)) – เป็นไม้สักที่มีปลูกในพื้นที่ของ เอกชนหรือประชาชนทั่วไป ไม้มีคุณภาพปานกลาง มีกาดหดตัวมากกว่าไม้ออป. สีเนื้อไม้อ่อนออกเหลืองนวล และ แก่นไม้มีน้อยกว่าไม้ออป. ชนิดของไม้สัก
  • 8. 1. ใบนามาต้มกับน้ารับประทานเป็นยาลดระดับน้าตาลในเลือด (ใบ)[3] 2. เนื้อไม้และใบมีรสเผ็ดเล็กน้อย สรรพคุณเป็นยาบารุงโลหิต (เนื้อไม้,ใบ)[3] 3. ใบมีรสเผ็ดเล็กน้อย มีสรรพคุณเป็นยาแก้พิษโลหิต (ใบ)[3] 4. ช่วยแก้อาการอ่อนเพลีย (เนื้อไม้)[3] 5. เปลือกไม้มีสรรพคุณแก้อาการปวดศีรษะ (เปลือกไม้)[1] 6. เมล็ดใช้เป็นยารักษาโรคตา (เมล็ด)[1] 7. ใบใช้ทาเป็นยาอมแก้เจ็บคอ (ใบ)[3] 8. ช่วยแก้ไข้คุมธาตุในร่างกาย (เนื้อไม้)[3] 9. เนื้อไม้ใช้รับประทานเป็นยาขับลมได้ดีมาก ส่วนใบก็มีสรรพคุณเป็นยาขับลมเช่นกัน (เนื้อไม้,ใบ)[3] 10.เนื้อไม้มีสรรพคุณเป็นยาขับพยาธิ (เนื้อไม้)[3] 11.เนื้อไม้ ใบ และดอกมีสรรพคุณเป็นยาขับปัสสาวะ (เนื้อไม้,ใบ,ดอก)[3] 12.ใบใช้เป็นยาแก้ทางเดินปัสสาวะอักเสบ (ใบ)[3] 13.ช่วยรักษาประจาเดือนไม่ปกติ (ใบ)[3] 14.ช่วยรักษาโรคผิวหนัง (เนื้อไม้)[3] 15.เปลือกมีสรรพคุณเป็นยาฝาดสมาน (เปลือก)[3] 16.เปลือกไม้มีสรรพคุช่วยบรรเทาอาการบวม (เปลือกไม้)[1] ส่วนเนื้อไม้มีสรรพคุณเป็นยาแก้บวม (เนื้อไม้)[3] 17.ช่วยแก้ลมในกระดูก (เนื้อไม้)[3] สรรพคุณของสัก
  • 9.  ไม้สัก มีชื่อในภาษาอังกฤษว่า Teak และมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Tectona grandis อยู่ในวงค์ Verbenaceae มีถิ่นกาเนิดอยู่ในตอนใต้ของประเทศอินเดีย พม่า ไทย อินโดนีเซีย และหมู่เกาะอินเดีย ตะวันออก ไม้สัก เป็นต้นไม้ขนาดใหญ่ ขึ้นเป็นหมู่ในป่าเบญจพรรณทางภาคเหนือของประเทศไทย รวมถึงบางส่วนของภาค กลางและตะวันตก คือ ในท้องที่จังหวัดแพร่ น่าน ตาก กาแพงเพชร สาปาง ย เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก สุ โขทั แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ สาพูน เชียงราย และพิจิตรและมีบ้างเล็กน้อยในจังหวัด อุทัยธานี นครสวรรค์ และ กาญจนบุรี ไม้สัก ชอบขึ้นตามพื้นที่ที่เป็นภูเขา แต่ในพื้นที่ราบก็มีข้อมูลการเจริญเติบโดของไม้สักดีเช่นเดียวกัน ในพื้นที่ที่เป็น ดินปนทรายแต่น้าไม่ขัง ไม้สักมักขึ้นเป็นหมู่ไม้สักล้วน ๆ และมีไม้ขนาดใหญ่ ไม้สักชอบพื้นที่ที่มีชั้นดินลึก ไม่ชอบ ดินแข็งและน้าท่วมขัง กล่าวคือต้องมีการระบายน้าที่ดีด้วย ไม้สัก ขึ้นได้ดีในดินที่เกิดจากหินหลายชนิด แต่ว่าสิ่งที่ทาให้มีการเจริญงอกงามแตกต่างกันคือความลึก การระบาย น้า ความชื้น และความอุดมสมบูรณ์ ของดินนั้น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่ที่มีดินที่เกิดจากหินปูนซึ่งแตกแยก ผุผังจนกลายเป็นดินร่วนที่ลึก ต้นไม้เหล่านี้จะชอบมากและเจริญเติบโตได้อย่างเร็วและสมบูรณ์ ไม้สักชอบดินที่มี ความเป็นกลางและด่างเล็กน้อย หรือให้เปรียบเป็นค่า pH ระหว่าง 6.5-7.5 ก็จะเป็นช่วงที่ดีที่สุด ปริมาณน้าฝนที่ ไม้สักต้องการ ระหว่าง 1,200-2,000มม. ต่อปี ซึ่งถือว่าไม่น้อยไม่เยอะสาหรับไม้ยืนต้นเลย ความสูงจาก ระดับน้าทะเลวัดจากระดับปานกลางไม่เกิน 0.7 กิโลเมตร และมีฤดูแล้งแยกจากฤดูฝนชัดเจนประมาณ 1 -2 เดือน จะทาให้ไม้สักมีลวดลายสวยงามเหมาะแก่การนาไปแปรรูปทาเฟอร์นิเจอร์ต่อไป ถิ่นกาเนิดของไม้สัก
  • 10. 1.การแผ้วถางวัชพืช ควรกาจัดวัชพืชให้โล่งเตียนตลอดเวลา เพื่อลดการแก่งแย่งธาตุอาหารในดิน และ เบียดบังแสงแดดซึ่งจาเป็นต่อการเจริญเติบโต และยังช่วยป้ องกันไฟป่ าอันอาจจะเกิดขึ้นในูดลแล้งได้ด้วย 2.การใส่ปุ๋ ย ในพื้นที่ที่มีดินเลวควรใส่ปุ๋ ยเพื่อเร่งการเจริญเติบโตในระยะแรก ๆ โดยใส่ปุ๋ ยสลตร 15-15- 15 หรือ 22-11-11 ใส่ต้นไม้ปีละ 1-2 ครั้ง โดยปีแรกใส่ครั้งละ 25 กรัม ต่อต้น ปีที่ 2 ใส่ 50 กรัม ต่อ ต้น ปีที่ 3 ใส่ 75 กรัม ต่อต้น ปีที่ 4-5 ใส่ประมาณ 100 กรัม ต่อต้น หากใช้ปุ๋ ยเคมีร่วมกับปุ๋ ยคอกหรือ ปุ๋ ยหมักด้วย ก็จะทาให้โครงสร้างของดินดีขึ้น 3.การป้ องกันไฟป่ า โดยทาทางตรวจการและแนวป้ องกันไฟรอบ ๆ แปลง และควบคุมวัชพืช ซึ่งเป็น เชื้อเพลิงในบริเวณสวนให้เตียนตลอดูดลแล้ง เพราะหากเกิดไฟป่ าในสวนสักจะทาให้ต้นไม้ที่ยังเล็กอยล่ ได้รับความเสียหายได้ 4.การป้ องกันโรคและแมลง โรคที่พบส่วนใหญ่ในต้นสักขนาดเล็ก คือ โรคเน่าคอดิน ซึ่งทาให้ต้นตายได้ เกิดจากดินมีความชื้นสลงเกินไป หรือน้าท่วมขัง การแก้ไขโดยขจัดระบบการระบายน้าให้ดีหรือหลีกเลี่ยง การปลลกบริเวณที่ลุ่ม น้าท่วมขังได้ง่าย 5.เมื่อต้นไม้มีอายุมากขึ้นและขนาดโตขึ้น ควรมีการผลิตและตกแต่งกิ่งเพื่อให้ลาต้นสวยงาม การตัดสาง ขยายระยะเพื่อเปิดโอกาสให้ต้นไม้เจริญเติบโตได้เต็มที่ การบารุงรักษาต้นสัก