SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
จัดทำโดย The Gang
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) จัดตั้งขึ้นตามมติ
คณะรัฐมนตรีนายชวน หลีกภัย เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2538 โดยกระทรวงการคลัง
กระทรวงศึกษาธิการ และทบวงมหาวิทยาลัย ได้ร่วมพิจารณาและเล็งเห็นความสาคัญ
ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อแก้ปัญหาทางสังคมเรื่องความเหลื่อมลาทางด้าน
การศึกษา จึงได้มีมติร่วมกันในหลักการโครงการจัดตังกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โดยมีกระทรวงการคลัง กระทรวงศึกษาธิการ และทบวงมหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานที่
รับผิดชอบดูแล และ บมจ.ธนาคารกรุงไทย ทาหน้าที่บริหารจัดการเงินให้กู้ยืม
ต่อมารัฐบาลเล็งเห็นว่ากองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษานันเอือประโยชน์แก่
นักเรียน นักศึกษา ที่ด้อยโอกาสอย่างแท้จริง จึงประกาศใช้พระราชบัญญัติกองทุนเงิน
ให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 มีผลให้กองทุนฯ มีฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ภายใต้
การกากับดูแลของกระทรวงการคลัง และมีโครงสร้างการดาเนินงานที่มั่นคงและเติบโต
ขึนอย่างรวดเร็ว และมีความคล่องตัวในการปฏิบัติงานมากขึน จากยุคแรก สานักงาน
ตังอยู่ที่กรมบัญชีกลาง ในปี พ.ศ. 2544 กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาได้ย้ายมายัง
สานักงานแห่งใหม่ ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สานักงานใหญ่ จวบจนปัจจุบัน
 พระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541
 ประกาศคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา เรื่อง การมอบอานาจการ
ดาเนินการตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541
 ประกาศกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา เรื่อง การมอบอานาจให้บอกเลิกสัญญา
กู้ยืม และเรียกเงินกู้ยืมคืน
 ระเบียบคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาว่าด้วยการดาเนินงาน
หลักเกณฑ์ และวิธีการกู้ยืมเงินกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
 ประกาศคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับ
การเป็นผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์และคุณสมบัติของผู้กู้ยืมเงิน
 ระเบียบคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาว่าด้วยการชาระเงินกู้ยืมคืน
กองทุน
 ประกาศคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา เรื่อง กาหนดขอบเขตการ
ให้กู้ยืมเงินเพื่อการศึกษา
 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพระบบการให้กู้ยืม และระบบบริหาร
จัดการหนี้ ที่มีประสิทธิภาพ
1.1ด้านการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพระบบการให้กู้ยืม
กลุ่มเป้ าหมาย : สถานศึกษา นักเรียน/นักศึกษา และ ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ : เพื่อให้สถานศึกษาคัดเลือกนักเรียน/นักศึกษาได้ตรง
กลุ่มเป้ าหมายมากยิ่งขึ้น นักเรียน/นักศึกษา สามารถกู้ยืมเงินได้อย่างสะดวกรวดเร็ว
และมีความเท่าเทียมกัน ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อรองรับการกู้ยืมใน
สาขาที่ขาดแคลน เพิ่มเติมจากระบบการกู้ยืมผ่านอินเทอร์เน็ต (e-
Studentloan) และพัฒนา ระบบการจัดการเงินคงค้างของสถานศึกษาใน
ระบบ e-Audit
1.2ด้านการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพระบบการให้กู้ยืม
 กลุ่มเป้ าหมาย : ผู้กู้ยืม นักเรียน/นักศึกษา
 การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ : เพื่อให้งบประมาณแผ่นดินหมุนเวียนกลับมากองทุน
รวดเร็วยิ่งขึ้น ในปีงบประมาณ 2554 กองทุนจะเร่งประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่าง ๆ
ของรัฐอย่างต่อเนื่อง และประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อท้องถิ่นอย่างทั่วถึง การจัดทา
กิจกรรมเพื่อกระตุ้นการชาระหนี้ร่วมกับผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม และ
หน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง
 ยุทธศำสตร์ที่ 2 กำรสร้ำงระบบเครือข่ำยประชำคมที่เข้มแข็ง
กลุ่มเป้ าหมาย : สถานศึกษา นักเรียน/นักศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ : 1. เพื่อให้ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงาน หรือผู้ที่
เกี่ยวข้อง และบูรณการดาเนินงานให้กู้ยืมอย่างมีประสิทธิภาพในปีงบประมาณ 2554
กองทุนฯ ได้จัดทากิจกรรมหรือโครงการที่สร้างและส่งเสริมให้มีเครือข่ายประชาชน
ที่เข้มแข็ง เช่น โครงการ กยศ. Network การสร้างเครือข่ายประชาคม การกากับ ดูแล
การดาเนินงานของสถานศึกษา การเสริมสร้างการดาเนินงานของสถานศึกษาที่มี
ปัจจัยเสี่ยง โครงการสานต่ออาชีพผู้กู้ยืมเงินกองทุนฯ
 ยุทธศำสตร์ที่ 3 กำรพัฒนำ กำรสนับสนุน และเพิ่มศักยภำพกำรบริหำร
จัดกำรตำมหลักกำรบริหำรจัดกำรที่ดี
กลุ่มเป้ าหมาย : กองทุนฯ ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ : ในปีงบประมาณ 2554 กองทุนมุ่งเน้นการกากับ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน การควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง โดยพัฒนาระบบ
การติดตามและประเมินผลองค์กรและสถานศึกษาทั่วประเทศ เพื่อให้การดาเนินงานมี
ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ตามหลักการบริหารจัดการที่ดี นอกจากนี้ กองทุนได้นา
ระบบบริหารจัดการทรัพยากรภายในองค์กร (Exterprise Resource Planning : ERP)
และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้บริหารจัดการข้อมูล (Business Intelligence :
BI) พร้อมทั้งปรับปรุงประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานระบบความปลอดภัยข้อมูล
 นักเรียน/นักศึกษำลงทะเบียนรับรหัสผ่ำน
 นักเรียน/นักศึกษำยื่นแบบคำขอกู้ยืมเงิน
 สถำนศึกษำสัมภำษณ์ และคัดเลือก
 สถำนศึกษำบันทึกกรอบวงเงิน(กรณีอนุมัติ)
 สถำนศึกษำประกำศรำยชื่อผู้มีสิทธิ์กู้ยืมเงิน
 นักเรียน/นักศึกษำตรวจสอบผลกำรอนุมัติ
 นักเรียน/นักศึกษำเปิดบัญชีธนำคำร
 นักเรียน/นักศึกษำทำสัญญำกู้ยืมเงิน
 สถำนศึกษำตรวจสอบสัญญำกู้ยืมเงิน
 ผู้กู้ยืมบันทึกจำนวนเงินค่ำเล่ำเรียน
 สถำนศึกษำลงทะเบียนค่ำเล่ำเรียน
 นักเรียน/นักศึกษำยืนยันจำนวนเงินกู้ยืมในแบบลงทะเบียนค่ำเล่ำเรียน
 สถำนศึกษำตรวจสอบใบลงทะเบียน
 นักเรียน/นักศึกษำรับเงินกู้ยืม
 สถำนศึกษำรวบรวมเอกสำรสัญญำฯ และเอกสำรประกอบ
 สถำนศึกษำจัดทำใบนำส่งเอกสำรสัญญำ
 สถำนศึกษำนำส่งเอกสำร
 ผู้ค้าประกันในสัญญากู้ยืมเงิน (ข้อใดข้อหนึ่ง)
 1) บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง
 2) กรณีบิดามารดาเสียชีวิต ให้ผู้ปกครองที่รับอุปการะเลี้ยงดูลงนามแทน
 3) บุคคลที่ประกอบอาชีพมีรายได้น่าเชื่อถือ
 4) กรณีคู่สมรสของผู้ค้าประกันไม่ให้ความยินยอมให้ผู้ค้าประกันลงนามฝ่ายเดียวได้
 5) กรณีไม่มีบุคคลค้าประกันให้ใช้หลักทรัพย์แทน
 กำรลงนำมค้ำประกันในสัญญำกู้ยืมเงิน

 ผู้ค้าประกันลงลายมือชื่อค้าประกันในสัญญากู้ยืมต่อหน้าสถานศึกษา หากผู้ค้า
ประกันมีที่อยู่ห่างไกลจากสถานศึกษาให้จัดส่งสัญญาให้ผู้ค้าประกันลงลายมือชื่อค้า
ประกันได้ และต้องให้เจ้าพนักงานทะเบียนท้องที่ (อาเภอ) ในเขตพื้นที่ที่ผู้ค้าประกันอาศัย
อยู่ ลงนามรับรองลายมือชื่อของผู้ค้าประกัน
 บุคคลผู้รับรองรายได้ในสัญญากู้ยืมเงิน (ข้อใดข้อหนึ่ง)
1) ข้าราชการผู้ดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าระดับ 5 หรือเทียบเท่า
2) หัวหน้าสถานศึกษา ที่ผู้ขอกู้ยืมศึกษาอยู่
3) ผู้ปกครองท้องถิ่นระดับผู้ใหญ่บ้านขึ้นไป (ส่วนพนักงานรัฐวิสาหกิจ นายกเทศมนตรี
หรือตาแหน่งอื่นที่นอกเหนือจากนี้ไม่สามารถรับรองได้)
หมายเหตุ : ระดับ 5 หรือเทียบเท่า (ทหารตารวจเทียบเท่ายศพันตรีขึ้นไป)
หัวหน้าสถานศึกษา (อธิการบดี ผู้รับใบอนุญาต ผู้อานวยการ ครูใหญ่)
 กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา เป็นกองทุนหมุนเวียน
ที่จัดตั้งตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2538 และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ
วันที่ 16มกราคม พ.ศ.2539 ให้เริ่มดาเนินการกองทุนในลักษณะเงินทุนหมุนเวียน
ตามนัยมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ.2491 กองทุนฯ จึงเริ่มเปิดให้
กู้ยืมตั้งแต่ปีการศึกษา 2539 เพื่อแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้าด้านการศึกษาในสังคม
ด้วยการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาในระดับที่ สูงขึ้น โดยให้กู้ยืมเงินแก่ นักเรียน
นักศึกษาที่ มาจากครอบครัวที่มีรายได้น้อย ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการ
ประกาศใช้พระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 เมื่อวันที่ 15
มีนาคม 2541
ผลการดาเนินงานที่ ผ่านมา ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2539 จนถึงปี
การศึกษา2553 รวมผู้กู้ยืมจานวนทั้งสิ้น 3,758,006 ราย เป็นจานวนเงินกู้ยืมทั้งสิ้น
359,397.53 ล้านบาท และที่สาเร็จการศึกษาแล้วจานวนกว่า 3 ล้านราย โดยการ
ดาเนินงานได้รับความร่วมมือจากสถานศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชนทั่วประเทศ
กว่า 4,000 แห่ง บมจ.ธนาคารกรุงไทย และธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
 โครงการตรวจสอบและประเมินผลสถานศึกษาประจาปีงบประมาณ 2553
 โครงการตรวจสอบและประเมินผลสถานศึกษาทั่วประเทศ มีวัตถุประสงค์
เพื่อสอบทานการดาเนินงานของสถานศึกษาด้านการปฏิบัติงาน ด้านการเงินและบัญชีให้
เป็นไปตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ระเบียบ ข้อบังคับและมติ
คณะกรรมการกองทุนฯ สอบทานกระบวนการควบคุมภายในทางด้านการเงินและบัญชีที่
เกี่ยวข้อง รวมทั้งให้คาแนะนาปรึกษา แก่ สถานศึกษาเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานด้านต่าง ๆให้
เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) และกองทุนเงินกู้ยืมเพื่อ
การศึกษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคต (กรอ.)
 นอกจากนี้ กองทุนฯ ได้ทาการสารวจสอบทาน และประเมินการปฏิบัติงาน
ของสถานศึกษา โดยใช้ระบบ e-Studentloan ในปีการศึกษา 2553 ตลอดทั้งได้ประเมินความ
พร้อมของสถานศึกษาในการที่จะใช้ระบบ e-Audit (ระบบตรวจสอบเงินคงค้างที่
สถานศึกษา) โดยนาข้อมูลที่ได้มาทาการวิเคราะห์ เพื่อเสนอแนะให้ระบบมีการพัฒนาและ
การบริหารจัดการอันจะเป็นประโยชน์ต่อกองทุนฯ ต่อไป
1. คัดเลือกกลุ่มจังหวัดเป้าหมายที่ ยังไม่ เคยทากิจกรรม“เครือข่ายอาสาสมัครนักศึกษา
(กยศ.)ภายใต้กิจกรรม “พาน้องเยี่ยมเยียนพี่ (Home Visit)”
2. จัดหาสถานที่จัดกิจกรรม และประสานงานกับสถานศึกษาเพื่อคัดเลือกนักศึกษา
แห่งละไม่เกิน20 คน และอาจารย์ที่ปรึกษาแห่งละ 1-2 คน เพื่อให้กองทุนฯ คัดเลือกเข้าร่วม
กิจกรรม
3. คัดเลือกอาเภอที่มีจานวนผู้ค้างชาระเงินคืนกองทุนฯ สูงสุดในจังหวัดที่ต้องลง
พื้นที่ จานวน5 อาเภอ เพื่อชี้แจงให้ผู้ที่ค้างชาระเงินและผู้ค้าประกันทราบวิธีการชาระเงินคืน
กองทุนฯ ที่ถูกต้อง โดยใช้โรงเรียนประจาอาเภอ หรือที่ ว่าการอาเภอ เป็นสถานที่ จัดประชุม
และจัดส่งรายชื่อผู้กู้ยืมที่ ค้างชาระ ผู้ค้าประกันรวมถึงผู้ที่กาลังจะถูกฟ้องร้องดาเนินคดี
ให้แก่ เทศบาลตาบล องค์การบริหารส่วนตาบล เพื่อเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุม ตาม
วัน เวลา และสถานที่ที่กาหนด โดยการประสานขอความร่วมมือกับผู้ว่าราชการจังหวัด
นายอาเภอ ท้องถิ่นจังหวัด ท้องถิ่นอาเภอ เทศบาลตาบล องค์การบริหารส่วนตาบล ในการทา
กิจกรรมการดาเนินกิจกรรมภายใต้กิจกรรม “พาน้องเยี่ยมเยียนพี่ (Home Visit)” โดยมี
รูปแบบ ดังนี้
รำยงำนของผู้สอบบัญชีและงบกำรเงิน
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อกำรศึกษำ (กยศ.)
สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยำยน 2553 และ 2552
จบกำรนำเสนอ
ขอบคุณครับ/ค่ะ
 1.นาย วานุ ห้อยมาลัย 54410148
 2.นาย นันทวัฒน์ สุระแสงประเสริฐ 54410158
 3.นางสาว ธิดา หนูแดง 54410204
 4.นางสาว ดารุณี ดีระดา 54410273
 5.นางสาว สรัญญา เจริญผล 54410282
 6.นางสาว อทิติยา กองเป็ง 54410312
 7.นางสาว กรรวี ระบกเวีย 54410424
 8.นาย จตุรงค์ ศิริวชิรภาพ 54410435
 9.นาย สุภราช พวงธนสาร 54410514
 10.นางสาว จันทร์ทิพย์ สุขสบาย 54410636

More Related Content

More from Thida Noodaeng

พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์Thida Noodaeng
 
แรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานแรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานThida Noodaeng
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
การจัดการคุณภาพ 1
การจัดการคุณภาพ 1การจัดการคุณภาพ 1
การจัดการคุณภาพ 1Thida Noodaeng
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟThida Noodaeng
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์Thida Noodaeng
 
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคบทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคThida Noodaeng
 
การใช้พลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์การใช้พลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์Thida Noodaeng
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าThida Noodaeng
 

More from Thida Noodaeng (12)

พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์
 
แรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานแรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงาน
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
 
การจัดการคุณภาพ 1
การจัดการคุณภาพ 1การจัดการคุณภาพ 1
การจัดการคุณภาพ 1
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
 
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคบทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
 
การใช้พลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์การใช้พลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 

โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา

  • 2. กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) จัดตั้งขึ้นตามมติ คณะรัฐมนตรีนายชวน หลีกภัย เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2538 โดยกระทรวงการคลัง กระทรวงศึกษาธิการ และทบวงมหาวิทยาลัย ได้ร่วมพิจารณาและเล็งเห็นความสาคัญ ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อแก้ปัญหาทางสังคมเรื่องความเหลื่อมลาทางด้าน การศึกษา จึงได้มีมติร่วมกันในหลักการโครงการจัดตังกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา โดยมีกระทรวงการคลัง กระทรวงศึกษาธิการ และทบวงมหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานที่ รับผิดชอบดูแล และ บมจ.ธนาคารกรุงไทย ทาหน้าที่บริหารจัดการเงินให้กู้ยืม
  • 3. ต่อมารัฐบาลเล็งเห็นว่ากองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษานันเอือประโยชน์แก่ นักเรียน นักศึกษา ที่ด้อยโอกาสอย่างแท้จริง จึงประกาศใช้พระราชบัญญัติกองทุนเงิน ให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 มีผลให้กองทุนฯ มีฐานะเป็นนิติบุคคล อยู่ภายใต้ การกากับดูแลของกระทรวงการคลัง และมีโครงสร้างการดาเนินงานที่มั่นคงและเติบโต ขึนอย่างรวดเร็ว และมีความคล่องตัวในการปฏิบัติงานมากขึน จากยุคแรก สานักงาน ตังอยู่ที่กรมบัญชีกลาง ในปี พ.ศ. 2544 กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาได้ย้ายมายัง สานักงานแห่งใหม่ ณ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สานักงานใหญ่ จวบจนปัจจุบัน
  • 4.  พระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541  ประกาศคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา เรื่อง การมอบอานาจการ ดาเนินการตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541  ประกาศกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา เรื่อง การมอบอานาจให้บอกเลิกสัญญา กู้ยืม และเรียกเงินกู้ยืมคืน  ระเบียบคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาว่าด้วยการดาเนินงาน หลักเกณฑ์ และวิธีการกู้ยืมเงินกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา  ประกาศคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับ การเป็นผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์และคุณสมบัติของผู้กู้ยืมเงิน  ระเบียบคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาว่าด้วยการชาระเงินกู้ยืมคืน กองทุน  ประกาศคณะกรรมการกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา เรื่อง กาหนดขอบเขตการ ให้กู้ยืมเงินเพื่อการศึกษา
  • 5.  ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพระบบการให้กู้ยืม และระบบบริหาร จัดการหนี้ ที่มีประสิทธิภาพ 1.1ด้านการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพระบบการให้กู้ยืม กลุ่มเป้ าหมาย : สถานศึกษา นักเรียน/นักศึกษา และ ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ : เพื่อให้สถานศึกษาคัดเลือกนักเรียน/นักศึกษาได้ตรง กลุ่มเป้ าหมายมากยิ่งขึ้น นักเรียน/นักศึกษา สามารถกู้ยืมเงินได้อย่างสะดวกรวดเร็ว และมีความเท่าเทียมกัน ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อรองรับการกู้ยืมใน สาขาที่ขาดแคลน เพิ่มเติมจากระบบการกู้ยืมผ่านอินเทอร์เน็ต (e- Studentloan) และพัฒนา ระบบการจัดการเงินคงค้างของสถานศึกษาใน ระบบ e-Audit
  • 6. 1.2ด้านการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพระบบการให้กู้ยืม  กลุ่มเป้ าหมาย : ผู้กู้ยืม นักเรียน/นักศึกษา  การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ : เพื่อให้งบประมาณแผ่นดินหมุนเวียนกลับมากองทุน รวดเร็วยิ่งขึ้น ในปีงบประมาณ 2554 กองทุนจะเร่งประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่าง ๆ ของรัฐอย่างต่อเนื่อง และประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อท้องถิ่นอย่างทั่วถึง การจัดทา กิจกรรมเพื่อกระตุ้นการชาระหนี้ร่วมกับผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม และ หน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง
  • 7.  ยุทธศำสตร์ที่ 2 กำรสร้ำงระบบเครือข่ำยประชำคมที่เข้มแข็ง กลุ่มเป้ าหมาย : สถานศึกษา นักเรียน/นักศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ : 1. เพื่อให้ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงาน หรือผู้ที่ เกี่ยวข้อง และบูรณการดาเนินงานให้กู้ยืมอย่างมีประสิทธิภาพในปีงบประมาณ 2554 กองทุนฯ ได้จัดทากิจกรรมหรือโครงการที่สร้างและส่งเสริมให้มีเครือข่ายประชาชน ที่เข้มแข็ง เช่น โครงการ กยศ. Network การสร้างเครือข่ายประชาคม การกากับ ดูแล การดาเนินงานของสถานศึกษา การเสริมสร้างการดาเนินงานของสถานศึกษาที่มี ปัจจัยเสี่ยง โครงการสานต่ออาชีพผู้กู้ยืมเงินกองทุนฯ
  • 8.  ยุทธศำสตร์ที่ 3 กำรพัฒนำ กำรสนับสนุน และเพิ่มศักยภำพกำรบริหำร จัดกำรตำมหลักกำรบริหำรจัดกำรที่ดี กลุ่มเป้ าหมาย : กองทุนฯ ผู้บริหารและจัดการเงินให้กู้ยืม การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ : ในปีงบประมาณ 2554 กองทุนมุ่งเน้นการกากับ มาตรฐานการปฏิบัติงาน การควบคุมภายในและบริหารความเสี่ยง โดยพัฒนาระบบ การติดตามและประเมินผลองค์กรและสถานศึกษาทั่วประเทศ เพื่อให้การดาเนินงานมี ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ตามหลักการบริหารจัดการที่ดี นอกจากนี้ กองทุนได้นา ระบบบริหารจัดการทรัพยากรภายในองค์กร (Exterprise Resource Planning : ERP) และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้บริหารจัดการข้อมูล (Business Intelligence : BI) พร้อมทั้งปรับปรุงประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานระบบความปลอดภัยข้อมูล
  • 9.
  • 10.
  • 11.  นักเรียน/นักศึกษำลงทะเบียนรับรหัสผ่ำน  นักเรียน/นักศึกษำยื่นแบบคำขอกู้ยืมเงิน  สถำนศึกษำสัมภำษณ์ และคัดเลือก  สถำนศึกษำบันทึกกรอบวงเงิน(กรณีอนุมัติ)  สถำนศึกษำประกำศรำยชื่อผู้มีสิทธิ์กู้ยืมเงิน  นักเรียน/นักศึกษำตรวจสอบผลกำรอนุมัติ  นักเรียน/นักศึกษำเปิดบัญชีธนำคำร  นักเรียน/นักศึกษำทำสัญญำกู้ยืมเงิน  สถำนศึกษำตรวจสอบสัญญำกู้ยืมเงิน  ผู้กู้ยืมบันทึกจำนวนเงินค่ำเล่ำเรียน
  • 12.  สถำนศึกษำลงทะเบียนค่ำเล่ำเรียน  นักเรียน/นักศึกษำยืนยันจำนวนเงินกู้ยืมในแบบลงทะเบียนค่ำเล่ำเรียน  สถำนศึกษำตรวจสอบใบลงทะเบียน  นักเรียน/นักศึกษำรับเงินกู้ยืม  สถำนศึกษำรวบรวมเอกสำรสัญญำฯ และเอกสำรประกอบ  สถำนศึกษำจัดทำใบนำส่งเอกสำรสัญญำ  สถำนศึกษำนำส่งเอกสำร
  • 13.  ผู้ค้าประกันในสัญญากู้ยืมเงิน (ข้อใดข้อหนึ่ง)  1) บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง  2) กรณีบิดามารดาเสียชีวิต ให้ผู้ปกครองที่รับอุปการะเลี้ยงดูลงนามแทน  3) บุคคลที่ประกอบอาชีพมีรายได้น่าเชื่อถือ  4) กรณีคู่สมรสของผู้ค้าประกันไม่ให้ความยินยอมให้ผู้ค้าประกันลงนามฝ่ายเดียวได้  5) กรณีไม่มีบุคคลค้าประกันให้ใช้หลักทรัพย์แทน  กำรลงนำมค้ำประกันในสัญญำกู้ยืมเงิน   ผู้ค้าประกันลงลายมือชื่อค้าประกันในสัญญากู้ยืมต่อหน้าสถานศึกษา หากผู้ค้า ประกันมีที่อยู่ห่างไกลจากสถานศึกษาให้จัดส่งสัญญาให้ผู้ค้าประกันลงลายมือชื่อค้า ประกันได้ และต้องให้เจ้าพนักงานทะเบียนท้องที่ (อาเภอ) ในเขตพื้นที่ที่ผู้ค้าประกันอาศัย อยู่ ลงนามรับรองลายมือชื่อของผู้ค้าประกัน
  • 14.  บุคคลผู้รับรองรายได้ในสัญญากู้ยืมเงิน (ข้อใดข้อหนึ่ง) 1) ข้าราชการผู้ดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าระดับ 5 หรือเทียบเท่า 2) หัวหน้าสถานศึกษา ที่ผู้ขอกู้ยืมศึกษาอยู่ 3) ผู้ปกครองท้องถิ่นระดับผู้ใหญ่บ้านขึ้นไป (ส่วนพนักงานรัฐวิสาหกิจ นายกเทศมนตรี หรือตาแหน่งอื่นที่นอกเหนือจากนี้ไม่สามารถรับรองได้) หมายเหตุ : ระดับ 5 หรือเทียบเท่า (ทหารตารวจเทียบเท่ายศพันตรีขึ้นไป) หัวหน้าสถานศึกษา (อธิการบดี ผู้รับใบอนุญาต ผู้อานวยการ ครูใหญ่)
  • 15.
  • 16.  กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา เป็นกองทุนหมุนเวียน ที่จัดตั้งตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2538 และมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ วันที่ 16มกราคม พ.ศ.2539 ให้เริ่มดาเนินการกองทุนในลักษณะเงินทุนหมุนเวียน ตามนัยมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ.2491 กองทุนฯ จึงเริ่มเปิดให้ กู้ยืมตั้งแต่ปีการศึกษา 2539 เพื่อแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้าด้านการศึกษาในสังคม ด้วยการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาในระดับที่ สูงขึ้น โดยให้กู้ยืมเงินแก่ นักเรียน นักศึกษาที่ มาจากครอบครัวที่มีรายได้น้อย ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการ ประกาศใช้พระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา พ.ศ. 2541 เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2541 ผลการดาเนินงานที่ ผ่านมา ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2539 จนถึงปี การศึกษา2553 รวมผู้กู้ยืมจานวนทั้งสิ้น 3,758,006 ราย เป็นจานวนเงินกู้ยืมทั้งสิ้น 359,397.53 ล้านบาท และที่สาเร็จการศึกษาแล้วจานวนกว่า 3 ล้านราย โดยการ ดาเนินงานได้รับความร่วมมือจากสถานศึกษาทั้งภาครัฐและภาคเอกชนทั่วประเทศ กว่า 4,000 แห่ง บมจ.ธนาคารกรุงไทย และธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
  • 17.  โครงการตรวจสอบและประเมินผลสถานศึกษาประจาปีงบประมาณ 2553  โครงการตรวจสอบและประเมินผลสถานศึกษาทั่วประเทศ มีวัตถุประสงค์ เพื่อสอบทานการดาเนินงานของสถานศึกษาด้านการปฏิบัติงาน ด้านการเงินและบัญชีให้ เป็นไปตามพระราชบัญญัติกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา ระเบียบ ข้อบังคับและมติ คณะกรรมการกองทุนฯ สอบทานกระบวนการควบคุมภายในทางด้านการเงินและบัญชีที่ เกี่ยวข้อง รวมทั้งให้คาแนะนาปรึกษา แก่ สถานศึกษาเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานด้านต่าง ๆให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) และกองทุนเงินกู้ยืมเพื่อ การศึกษาที่ผูกกับรายได้ในอนาคต (กรอ.)  นอกจากนี้ กองทุนฯ ได้ทาการสารวจสอบทาน และประเมินการปฏิบัติงาน ของสถานศึกษา โดยใช้ระบบ e-Studentloan ในปีการศึกษา 2553 ตลอดทั้งได้ประเมินความ พร้อมของสถานศึกษาในการที่จะใช้ระบบ e-Audit (ระบบตรวจสอบเงินคงค้างที่ สถานศึกษา) โดยนาข้อมูลที่ได้มาทาการวิเคราะห์ เพื่อเสนอแนะให้ระบบมีการพัฒนาและ การบริหารจัดการอันจะเป็นประโยชน์ต่อกองทุนฯ ต่อไป
  • 18. 1. คัดเลือกกลุ่มจังหวัดเป้าหมายที่ ยังไม่ เคยทากิจกรรม“เครือข่ายอาสาสมัครนักศึกษา (กยศ.)ภายใต้กิจกรรม “พาน้องเยี่ยมเยียนพี่ (Home Visit)” 2. จัดหาสถานที่จัดกิจกรรม และประสานงานกับสถานศึกษาเพื่อคัดเลือกนักศึกษา แห่งละไม่เกิน20 คน และอาจารย์ที่ปรึกษาแห่งละ 1-2 คน เพื่อให้กองทุนฯ คัดเลือกเข้าร่วม กิจกรรม 3. คัดเลือกอาเภอที่มีจานวนผู้ค้างชาระเงินคืนกองทุนฯ สูงสุดในจังหวัดที่ต้องลง พื้นที่ จานวน5 อาเภอ เพื่อชี้แจงให้ผู้ที่ค้างชาระเงินและผู้ค้าประกันทราบวิธีการชาระเงินคืน กองทุนฯ ที่ถูกต้อง โดยใช้โรงเรียนประจาอาเภอ หรือที่ ว่าการอาเภอ เป็นสถานที่ จัดประชุม และจัดส่งรายชื่อผู้กู้ยืมที่ ค้างชาระ ผู้ค้าประกันรวมถึงผู้ที่กาลังจะถูกฟ้องร้องดาเนินคดี ให้แก่ เทศบาลตาบล องค์การบริหารส่วนตาบล เพื่อเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุม ตาม วัน เวลา และสถานที่ที่กาหนด โดยการประสานขอความร่วมมือกับผู้ว่าราชการจังหวัด นายอาเภอ ท้องถิ่นจังหวัด ท้องถิ่นอาเภอ เทศบาลตาบล องค์การบริหารส่วนตาบล ในการทา กิจกรรมการดาเนินกิจกรรมภายใต้กิจกรรม “พาน้องเยี่ยมเยียนพี่ (Home Visit)” โดยมี รูปแบบ ดังนี้
  • 20.
  • 21.
  • 23.  1.นาย วานุ ห้อยมาลัย 54410148  2.นาย นันทวัฒน์ สุระแสงประเสริฐ 54410158  3.นางสาว ธิดา หนูแดง 54410204  4.นางสาว ดารุณี ดีระดา 54410273  5.นางสาว สรัญญา เจริญผล 54410282  6.นางสาว อทิติยา กองเป็ง 54410312  7.นางสาว กรรวี ระบกเวีย 54410424  8.นาย จตุรงค์ ศิริวชิรภาพ 54410435  9.นาย สุภราช พวงธนสาร 54410514  10.นางสาว จันทร์ทิพย์ สุขสบาย 54410636