SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
เลือกหัวข้อที่ต้องการศึกษา
การใช้พลังงานนิวเคลียร์
วิกฤตการณ์น้ามัน
พลังงานลม
พลังงานแสงอาทิตย์
พลังงานทดแทน
การใช้พลังงานนิวเคลียร์
ประโยชน์ของจากการใช้พลังงานนิวเคลียร์
ความเสี่ยงจากการใช้พลังงานนิวเคลียร์
ผลกระทบที่สาคัญจากการใช้พลังงานนิวเคลียร์
ประโยชน์ของจากการใช้พลังงานนิวเคลียร์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่ทาให้สามารถนาพลังงานนิวเคลียร์มาใช้
ประโยชน์ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ทาให้อุตสาหกรรมเติบโตและขยายตัวอย่าง
มาก ทั้งทาให้การดาเนินชีวิตของมนุษย์มีความสะดวกสบายมากขึ้น เพราะมีการนา
พลังงานไฟฟ้าไปใช้ในกิจกรรมด้านต่างๆ รวมทั้งในชีวิตประจาวัน
ความเสี่ยงจากการใช้พลังงานนิวเคลียร์
หากเกิดการรั่วไหลของกัมมันตภาพรังสีขึ้นจะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อชีวิต
และสภาพแวดล้อมได้ตัวอย่างเช่นการรั่วไหลที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่เกาะทรีไมล์
มลรัฐเพนซิลวาเนีย สหรัฐอเมริกา ในปี 1979 หรือการระเบิดของโรงไฟฟ้าเชอร์โน
บิลของอดีตสหภาพโซเวียต ในปี1986 ทาให้ทั่วโลกตระหนักถึงภยันตรายของการ
ใช้พลังงานรูปแบบนี้ นักวิทยาศาสตร์และผู้เชี่ยวชาญทั่วโลกต่างค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับ
การใช้พลังงานนิวเคลียร์ในแง่มุมต่างๆ ตลอดจนผลกระทบต่างๆของการใช้
พลังงานนิวเคลียร์
ผลกระทบที่สาคัญจากการใช้พลังงานนิวเคลียร์
หลังจากที่เกิดเหตุร้ายแรงต่างๆกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ประเทศต่างๆทั่วโลก
ต่างๆก็เกิดความตื่นตัวขึ้นในเรื่องของเทคโนโลยีไฟฟ้านิวเคลียร์ ความปลอดภัย
อันตรายจากรังสี ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ระบบเตือนภัย และ
มาตรการป้องกันภัย เป็นต้น ทั้งในเชิงปฏิรูป พัฒนา และการเรียนรู้ นอกจากนี้ยัง
ได้มีการร่วมมือและประสานงานกันระหว่างประเทศต่างๆเพื่อสร้างความเข้าใจใน
การใช้พลังงานนิวเคลียร์เพื่อสันติและควบคุมไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ประเทศที่ต้องการใช้พลังงานนิวเคลียร์ผลิตกระแสไฟฟ้า ก็สามารถใช้ข้อมูลต่างๆ
จากการค้นคว้ามาใช้ประโยชน์เพื่อช่วยในการตัดสินใจและจัดหามาตรการป้องกัน
ก่อนที่จะดาเนินการสร้างและใช้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์และรับมือกับเหตุร้ายแรงที่อาจ
เกิดขึ้นได้
วิกฤตการณ์น้ามัน
ที่มาของน้ามัน
แหล่งผลิตน้ามันดิบ
สาเหตุและการแก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์น้ามันดิบ
การสร้างสรรค์ผลงานของมนุษยชาติ
การสร้างสรรค์ผลงานของมนุษยชาติ
การคิดค้นของมนุษยชาติด้านเทคโนโลยีรุ่นใหม่ๆเพื่อตอบสนองความ
ต้องการกับการเพิ่มจานวนประชากร ทาให้ถูกนาไปสู่กระบวนการเพิ่มผลผลิต
เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดวิกฤตการกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม บุคคลแรกที่
ค้นพบน้ามันเบนซินคือ ไมเคิล ฟาราเดย์(Michael Faraday: 1791-
1867) และผู้ที่คิดค้นรถยนต์ที่ขับเคลื่อนโดยน้ามันเบนซินคือ ก็อทเลียบ เดม
เลอร์ (Gottleib Daimler: 1834-1900)เป็นผลทาให้น้ามันกลายมา
เป็นแหล่งพลังงานที่มีการใช้อย่างสะดวกในการคมนาคมขนส่ง อีกทั้งนามาผลิต
ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม เป็นผลทาให้น้ามันกลายเป็นปัจจัยสาคัญในการ
ดารงชีพของมนุษยชาติในยุคปัจจุบัน
ที่มาของน้ามัน
เชื้อเพลิงจาพวกสารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่ว่าจะเป็นน้ามัน
ถ่านหิน ทรายน้ามันนั้น ความจริงแล้วเป็นซากพืชซากสัตว์ที่ตายและถูก
ทับถม กดดันด้วยแรงกดมหาศาลจากทั้งชั้นเปลือกโลกทั้งบนและล่าง
รวมทั้งได้รับความร้อนมหาศาลมานานนับล้านปี จนเปลี่ยนสภาพและ
สถานะ จากซากอินทรีย์เป็นฟอสซิล จากฟอสซิลเป็นเชื้อเพลิงในรูป
ต่างๆและถูกขุดน้ามาใช้ประโยชน์โดยมนุษย์เพราะเหตุนี้ เราจึงเรียก
เชื้อเพลิงเหล่านี้ได้อีกอย่างว่า เชื้อเพลิงฟอสซิล
แหล่งผลิตน้ามันดิบ
- มีการขุดมาใช้ครั้งแรกในจีนก่อนคริสต์ศตวรรษที่4
- แต่ส่วนใหญ่อยู่ในตะวันออกกลาง
- ปัจจุบันมีองค์กรของกลุ่มประเทศผู้ผลิตและส่งออกน้ามันรายใหญ่ที่สุดของโลกหรือกลุ่ม
โอเปค (Organization of the Petroleum Exporting Countris) ซึ่ง
ก่อตั้งในเดือนสิงหาคมปี1960 โดยมีประเทศสมาชิกคือ เวเนซูเอลา อิหร่าน อิรัก คูเวต
ซาอุดิอาระเบีย การ์ตา สหรัฐอาหรับอามิเรตส์ แอลจีเรีย ไนจีเรีย ลิเบีย และอินโดนีเซีย
มีสานักงานใหญ่อยู่ที่กรุงเวียนนา ออสเตรีย ซึ่งถือว่ามีอิทธิพลต่อการค้าน้ามันโลกมาก
ที่สุด ซึ่งราคาน้ามันจะขายเป็นหน่วยบาร์เรลหรือ 158.958 ลิตร
- ประเทศไทยมีแหล่งผลิตอยู่ที่อ่าวไทยและกาแพงเพชร แต่ยังคงผลิตได้น้อยกว่าความ
ต้องการทั้งประเทศ ทาให้ประเทศไทยต้องนาเข้าตลอด และส่งผลกระทบอย่างมากทุก
ครั้งที่เกิดวิกฤตการณ์น้ามันดิบของโลก
เวเนซุเอลา
แอลจีเรีย
ไนจีเรีย
ลิเบีย
อิหร่าน อิรัก คูเวต
ซาอุดิอาระเบีย การ์ตา
สหรัฐอาหรับอามิเรตส์
อินโดนิเซีย
ข้อดีและข้อเสียของการใช้น้ามัน
ข้อดี
1.เป็นพลังงานที่กั่นแยกได้หลายประเภทตามความต้องการของผู้บริโภค
2.ใช้สาหรับการทางานของเครื่องจักรกลต่างๆ
3.สามารถนาไปใช้งานได้ทุกหยดได้อย่างคุ้มค่า
ข้อเสีย
1.เป็นพลังงานที่ไม่สามารถสร้างทดแทนได้ใช้เวลาเกิดขึ้นมานานนับล้านปี
2.ก่อให้เกิดมลพิษจากการใช้งาน
3.ปัจจุบันเกิดภาวะขาดแคลนน้ามันและปัญหาราคาน้ามันที่พุ่งสูงขึ้นต่อเนื่อง
สาเหตุและการแก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์น้ามันดิบ
สาเหตุของวิกฤตการณ์น้ามันดิบ
• โอเปกลดปริมาณการผลิต
• ปัญหาความไม่สงบทางการเมืองในตะวันออกกลาง
• ความต้องการใช้น้ามันของจีนเพื่อเพิ่มกาลังการผลิต
• การกักตุนน้ามันไว้สารองในฤดูหนาวของประเทศทางตะวันตก
วิธีการที่เป็นไปได้ในการแก้ปัญหา
• โครงการผลิตเอทานอล ทาจากมันสาปะหลัง (เมื่อใช้เอทานอลผสมกับน้ามันเบนซินออกเทน 91 จะได้แก๊สโซฮอล์
(Gasohol)
• ไบโอดีเซล (น้ามันชีวภาพ) ใช้น้ามันปาล์มบริสุทธิ์อย่างเดียวหรือใช้ผสมในรูปน้ามันบริสุทธิ์
• ก๊าซ (NGV (National Gas for Vehicle) คือก๊าซธรรมชาติที่ถูกอัดจนมีความดันสูง บางประเทศเรียก ก๊าซ
ธรรมชาติอัด
• พลังงานแสงอาทติย์ นามาผลิตกระแสไฟฟ้า
• พลังงานลม โดยใช้กังหันลมเพื่อใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า กาลังลมที่เหมาะสมมีความเร็ว 6.4 เมตร/วินาทีขึ้นไป เป็น
กาลังเฉี่ยทั้งปี พลังงานลมยังไม่คุ้มทุนเพราะความเร็วลมไม่สม่าเสมอ
• ก๊าซชีวภาพ ผลิตจากของเสียเช่น มูลสัตว์ ขยะ ไฟฟ้าจากขยะทายาก เพราะยังไม่มีการแยกขยะที่มีประสิทธิภาพ
พลังงานทดแทน
แก๊สโซฮอลล์
ก๊าซธรรมชาติ หรือ NGV
ไบโอดีเซล
แก๊สโซฮอลล์
คือ น้ามันเชื้อเพลิงสาหรับรถยนต์ที่ใช้สาหรับทดแทนน้ามันเบนซินหรือ
แก๊สโซลีน ที่มีส่วนผสมของเอทานอลหรือเอทิลแอลกอฮอลล์ความบริสุทธิ์
99.5% ผสมกับเบนซินในอัตราส่วน เบนซิน 9 ส่วนและเอทานอล 1 ส่วน ได้
เป็นน้ามันแก๊สโซฮอลล์ซึ่งมีคุณสมบัติตามมาตรฐานที่กาหนดและสามาถรใช้
ทดแทนน้ามันเบนซิน 95 ธรรมดาได้โดยเติมได้ทันที ไม่ต้องติดตั้งอุปกรณ์ใดๆ
เพิ่มเติม และสามารถเติมสลับหรือผสมกับเบนซินได้โดยไม่ต้องรอให้น้ามันหมด
ถัง
ข้อดีของแก๊สโซฮอลล์
• ช่วยประหยัดเชื้อเพลิงเหมือนเบนซินออกเทน 95
• ไม่เกิดผลข้างเคียงต่อสมรรถนะและช่วยเสริมอัตราเร่ง
• ไม่ต้องปรับแต่งเครื่องยนต์ใหม่
• นาไปเติมผสมกับน้ามันในถึงได้เลยโดยไม่ต้องรอให้หมด
• ช่วยลดการนาเข้าเชื้อเพลิงจากต่างประเทศ และลดการขาดดุลการค้าได้
• เป็นการใช้ประโยชน์และยกระดับราคาผลผลิตทางการเกษตร
• เกิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ขึ้นและลดไอเสียและมลพิษทางอากาศ
• ส่งผลให้เกิดการลงทุนที่หลากหลายทั้งด้านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
ก๊าซธรรมชาติ NGV
(Natural Gas for Vehicles)
ทั่วไป
ก๊าซNGVคือก๊าซที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงสาหรับรถยนต์ซึ่งมีส่วนประกอบหลัก
คือก๊าซมีเทนที่เบากว่าอากาศ ส่วนใหญ่จะถูกอัดในสภาพก๊าซในถังที่ความดัน
3000ปอนด์ต่อตารางนิ้วเพื่อให้พ้อมต่อการใช้งาน อาจเรียกได้อีกชื่อว่า CNG
(Compressed Natural Gas) หรือก๊าซธรรมชาติอัด
เปรียบเทียบกับLPG
LPGนั้นเป็นก๊าซหนักซึ่งจะลอยอยู่ตามพื้นหากเกิดการรั่ว ส่วนNGVจะ
กระจายตัวออกและลอยสู่บรรยากาศอย่างรวดเร็วและติดไฟได้ยากกว่า ดังนั้น
NGVจึงมีความปลอดภัยมากกว่า และยังคงมีราคาถูกกว่าเชื้อเพลิงรถยนต์อื่นๆ
ด้วย (ราคา 8.50บาท/กิโลกรัม ส่วนน้ามันมีราคา27.34บาท/ลิตรและLPGมีราคา)
สรุปเรื่องก๊าซNGV
ก๊าซธรรมชาติชนิดนี้สามารถนาไปใช้แทนน้ามันได้จริงและราคาถูก
นอกจากนั้นยังเป็นก๊าซที่ประเทศไทยผลิตได้เองในอ่าวไทย และไม่ต้องสั่งซื้อจาก
ต่างประเทศเหมือนเชื้อเพลิงรถยนต์ชนิดอื่นๆ ที่สาคัญยังเป็นการป้องกันการ
ลักลอบค้าน้ามันไปขายได้อีกเช่นกัน
ข้อมูลเรื่องก๊าซ NGV จาก หนังสือพิมพ์มติชน ฉบับวันที่ 29 ตุลาคม 2548 หน้า 33
ไบโอดีเซล
น้ามันพืชหรือสัตว์
ไบโอดีเซลลูกผสม
ไบโอดีเซลแบบเอสเทอร์
น้ามันพืชหรือสัตว์
เป็นการนาน้ามันที่สกัดจากพืชหรือสัตว์มาใช้งานโดยตรง ซึ่งมีข้อเสีย
เนื่องจากคุณสมบัติของน้ามันรูปแบบนี้ต่างจากน้ามันดีเซลค่อนข้างมาก ทาให้เกิด
ปัญหาการสันดาปไม่สมบูรณ์ เครื่องสะดุด เกิดผลข้างเคียงกับลูกสูบและวาลว์เกิด
ตะกรันขาวเกาะอยู่ในถังน้ามัน และที่สาคัญน้ามันประเภทนี้มีความหนืดสูงมาก
และอาจแข็งตัวและทาให้สตรต์ไม่ติดได้ในที่ๆอากาศเย็น เพราะเหตุนี้จึงไม่เป็นที่
นิยมใช้กันนัก ถึงแม้จะมีราคาถูกและพอใช้งานกับเครื่องยนต์รอบต่าได้
ไบโอดีเซลลูกผสม
เกิดจากการนาน้ามันพืชและน้ามันปิโตรเลียมมาผสมกัน ทาให้ช่วย
ลดปัญหาความหนืดลงไปได้บ้าง ทาให้เครื่องสตรารต์ง่ายและเดินเรียบ
ไม่มีปัญหาเรื่องเครื่องสะดุดเหมือนการใช้น้ามันพืชล้วนๆ เหมาะ
สาหรับการใช้งานกับเครื่องยนต์รอบต่าหรือเครื่องจักรกลทางการเกษตร
เช่นกัน แต่ก็ยังคงมีข้อเสียจากการสตาร์ตไม่ติดในที่เย็นๆ และยังเกิดการ
อุดตันของไส้กรองได้อีกด้วย
ไบโอดีเซลแบบเอสเทอร์
เป็นส่วนผสมของเชื้อเพลิงไบโอดีเซลที่มีค่าของมีเทนสูงเท่าน้ามัน
ดีเซล ทาให้เกิดการติดไฟได้ดีกว่าและเกิดการสันดาปเป็นไปอย่าง
สมบูรณ์ เกิดคาร์บอนมอนนอกไซด์เพียงน้อยนิด และไม่ทาให้เกิดควัน
ดาหรือซัลเฟอร์ไดออกไซด์แม้แต่น้อย ใช้กับเครื่องยนต์รอบสูงได้มี
ความหนืดที่คงที่ เลยตัดปัญหาเรื่องนี้ไปได้ส่วนข้อเสียของเชื้อเพลิง
ชนิดนี้คือ ราคาของต้นทุนที่สูงกว่าแบบอื่นๆ ช่วยให้เครื่องยนต์เกิดกาลัง
สูงกว่าน้ามันดีเซล จึงต้องติดตั้งอุปกรณ์ไนโตรเจนออกไซด์เข้าไปด้วย
และความร้อนของเครื่องยนต์ที่เกิดจากการเผาไหม้ของพลังงานชนิดนี้
จะสูงมากจนทาให้ชิ้นส่วนที่เป็นยางละลายได้
พลังงานลม
ลมเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ซึ่งเกิดจากความแตกต่างของ
อุณหภูมิ ความกดดันบรรยากาศและแรงจากการหมุนของโลก สิ่งเหล่านี้
เป็นปัจจัยให้เกิดความเร็วลมและกาลังลม เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าลม
เป็นพลังงานรูปหนึ่งที่มีอยู่ในตัวเอง ซึ่งในบางครั้งแรงที่เกิดจากลมอาจ
ก่อความเสียหายให้กับทรัพย์สินอาคารบ้านเรือนและสิ่งปลูกสร้างได้
ปัจจุบันมนุษย์จึงได้ให้ความสาคัญและนาพลังงานจากลมมาใช้
ประโยชน์มากขึ้น เนื่องจากพลังงานลมมีอยู่โดยทั่วไป ไม่ต้องซื้อหา
เป็นพลังงานที่สะอาด ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ และไม่มีวันหมดสิ้น
พลังงานแสงอาทิตย์
ปัจจุบันมีการนาเซลล์แสงอาทิตย์มาใช้งานในด้านต่างๆอย่าง
แพร่หลาย ในต่างประเทศมีโรงงานผลิตเซลล์แสงอาทิตย์หลายแห่ง เช่น
สหรัฐอเมริกา กลุ่มสหภาพยุโรป ญี่ปุ่น ซึ่งมีการทดลองใช้กันอย่าง
กว้างขวาง ทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและกาลังพัฒนา เช่น ใช้สร้าง
แหล่งพลังงานให้กับดาวเทียม ใช้กับเครื่องคิดเลข นาฬิกาข้อมือ โคม
กระพริบ ไฟส่องสว่างและอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ ตลอดจนการทดลองใช้
งานขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงกับสายส่งไฟฟ้า
การใช้พลังงานนิวเคลียร์

More Related Content

More from Thida Noodaeng

พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์Thida Noodaeng
 
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาโครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาThida Noodaeng
 
แรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานแรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานThida Noodaeng
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
การจัดการคุณภาพ 1
การจัดการคุณภาพ 1การจัดการคุณภาพ 1
การจัดการคุณภาพ 1Thida Noodaeng
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟThida Noodaeng
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์Thida Noodaeng
 
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคบทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคThida Noodaeng
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าThida Noodaeng
 

More from Thida Noodaeng (12)

พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์
 
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาโครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
 
แรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานแรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงาน
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
 
การจัดการคุณภาพ 1
การจัดการคุณภาพ 1การจัดการคุณภาพ 1
การจัดการคุณภาพ 1
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
 
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคบทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 

การใช้พลังงานนิวเคลียร์