SlideShare a Scribd company logo
1 of 130
Download to read offline
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 1
ั

บทที่ 1
การติดตัง AppServ (PHP แอพพลิเคชันเซิรฟเวอร์)
้
่ ์
AppServ คือ ชุดติดตังโปรแกรม PHP แอพพลิเคชันเซิรฟเวอร์สาหรับติดตังบน
้
่ ์
้
ระบบปฏิบตการ Windows
ั ิ
ในชุดติดตัง AppServ นี้ ประกอบด้วยโปรแกรมต่างๆ ดังต่อไปนี้
้
 Apache สาหรับทาหน้าทีเป็ นเว็บเซิรฟเวอร์
่
์
 PHP สาหรับทาหน้าทีเป็ นตัวแปรภาษา PHP
่
 MySQL สาหรับทาหน้าทีเป็ นดาต้าเบสเซิรฟเวอร์
่
์
 phpMyAdmin สาหรับทาหน้าทีเป็ นโปรแกรมบริหารจัดการฐานข้อมูลของ
่
MySQL
เนื้อหาในส่วนนี้จะกล่าวถึงวิธการติดตังโปรแกรม AppServ (PHP แอพพลิเคชัน
ี
้
่
เซิรฟเวอร์) ซึงสามารถดาวน์โหลดได้ทเี่ ว็บไซต์ http://www.appservnetwork.com
์
่
การติ ดตังโปรแกรม AppServ (PHP แอพพลิ เคชั ่นเซิ รฟเวอร์)
้
์
1. ดับเบิลคลิกไฟล์ appserv-win32-2.5.10.exe หลังจากนันคลิก
้

รูปที่ 1 ขันตอนการติดตังโปรแกรมAppServ
้
้
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 2
ั

2. เข้าสูขนตอนเงือนไขการใช้งานโปรแกรม โดยโปรแกรม AppServ ได้แจกจ่ายใน
่ ั้
่
รูปแบบ GNU License หากผูตดตังอ่านเงือนไขต่างๆ เสร็จสินแล้ว หากยอมรับเงือนไขให้
้ ิ ้
่
้
่
กด Next เพือเข้าสูการติดตังในขันต่อไป แต่หากว่าไม่ยอมรับเงือนไขให้กด Cancel เพือ
่
่
้ ้
่
่
่
ออกจากการติดตังโปรแกรม AppServ ดังรูป จะปรากฏหน้าแสดงลิขสิทธิ ์ ให้กดปุม
้

รูปที่ 2 หน้าลิขสิทธิโปรแกรม AppServ
์
3. เข้าสูขนตอนการเลือกปลายทางทีตองการติดตัง โดยค่าเริมต้นปลายทางทีตดตัง
่ ั้
่ ้
้
่
่ ิ ้
จะเป็ น C:AppServ หากต้องการเปลี่ยนปลายทางทีตดตัง ให้กด Browse แล้วเลือก
่ ิ ้
่
ปลายทางทีตองการ ตามรูปที่ 3 เมื่อเลือกปลายทางเสร็จสินให้กดปุม Next เพื่อเข้าสู่
่ ้
้
ขันตอนการติดตังขันต่อไป (ค่า default คือ C:AppServ)
้
้ ้
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 3
ั

รูปที่ 3 หน้าต่างกาหนดไดเรกทอรี
4. Package เลือก Components ทีตองการติดตัง โดยค่าเริมต้นนันจะให้เลือกลง
่ ้
้
่
้
ทุก Package แต่หากว่าผูใช้งานต้องการเลือกลงเฉพาะบาง Package ก็สามารถเลือกตาม
้
ข้อทีตองการออก โดยรายละเอียดแต่ละ Package มีดงนี้ - Apache HTTP Server คือ
่ ้
ั
โปรแกรมทีทาหน้าเป็ น Web Server - MySQL Database คือ โปรแกรมทาหน้าที่เป็ น
่
Database Server - PHP Hypertext Preprocessor คือ โปรแกรมทาหน้าทีประมวลผล
่
การทางานของภาษา PHP - PhpMyAdmin คือ โปรแกรมทีใช้ในการบริหารจัดการ
่
ฐานข้อมูล MySQL ผ่านเว็บไซต์ เมื่อทาการเลือก Package ตามรูปที่ 4 เรียบร้อยแล้ว ให้
กด Next เพือเข้าสูขนตอนการติดตังต่อไป
่
่ ั้
้
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 4
ั

รูปที่ 4 หน้าต่างแสดงองค์ประกอบของโปรแกรม AppServ
5. กาหนดค่าคอนฟิ กของ Apache Web Server มีอยูดวยกันทังหมด 3 ส่วน ตาม
่ ้
้
รูป คือ - Server Name คือช่องสาหรับป้อนข้อมูลชื่อ Web Server ของท่าน ในทีน้ีใช้
่
localhost - Admin Email คือช่องสาหรับป้อนข้อมูล อีเมล์ผดูแลระบบ ในที่น้ีใช้
ู้
jirasaklert@yahoo.com - HTTP Port คือช่องสาหรับระบุ Port ทีจะเรียกใช้งาน Apache
่
Web Server โดยทัวไปแล้ว Protocol HTTP นันจะมีค่าหลักคือ 80 หากว่าท่านต้องการ
่
้
หลีกเลียงการใช้ Port 80 ก็สามารถแก้ไขได้ หากมีการเปลี่ยนแปลง Port การเข้าใช้งาน
่
Web Server แล้ว ทุกครังทีเรียกใช้งานเว็บไซต์จาเป็ นทีตองระบุหมายเลข Port ด้วย เช่น
้ ่
่ ้
หากเลื อ กใช้
Port
99
ในการเข้ า เว็ บ ไซต์ ทุ ก ครั ง ต้ อ งใช้
้
ttp://www.appservnetwork.com:99 จึงจะสามารถเข้าใช้งานได้
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 5
ั

รูปที่ 5 หน้าต่างกาหนดชื่อ Server
Server Name : localhost
Http Port : 80
6. กาหนดค่าคอนฟิ กของ MySQL Database มีอยูดวยกันทังหมด 3 ส่วน ตามรูป
่ ้
้
ที่ 6 คือ - Root Password คือช่องสาหรับป้อน รหัสผ่านการเข้าใช้งานฐานข้อมูลของ
Root หรือผูดูแลระบบทุกครังทีเข้าใช้งานฐานข้อมูล ในลักษณะที่เป็ นผูดูแลระบบ ให้ระบุ
้
้ ่
้
user คือ root - Character Sets ใช้ในการกาหนดค่าระบบภาษาทีใช้ในการจัดเก็บ
่
ฐานข้อมูล, เรียงลาดับฐานข้อมูล,Import ฐานข้อมูล, Export ฐานข้อมูล, ติดต่อฐานข้อมูล ั
Old Password หากท่านมีปญหาเกี่ยวกับการใช้งาน PHP กับ MySQL API เวอร์ชนเก่า
ั่
โดยเจอ Error Client does not support authentication protocol requested by server;
consider upgrading MySQL client ให้เลือกในส่วนของ Old Password เพื่อหลีกเลียง
่
ั
ปญหานี้ - Enable InnoDB หากท่านต้องการใช้งานฐานข้อมูลในรูปแบบ InnoDB ให้เลือก
ในส่วนนี้ หลังจากนันคลิก
้
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 6
ั

รูปที่ 6 หน้าต่างกาหนด password สาหรับเข้าใช้งาน
Enter root password : root
Re-enter root password : root
Character sets and Collations : tis620 Thai
7. ชุดติดตังจะทาการติดตังโปรแกรมจนกระทังเสร็จสิน ดังรูป
้
้
่
้
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 7
ั

รูปที่ 7 หน้าต่างการติดตังโปรแกรม AppServ
้
8. สินสุดขันตอนการติดตังโปรแกรม AppServ สาหรับขันตอนสุดท้ายนี้จะมีให้
้
้
้
้
่
เลือกว่าต้องการสังให้มการรัน Apache และ MySQL ทันทีหรือไม่ จากนันกดปุม
่ ี
้

รูปที่ 8 หน้าต่างแสดงการติดตังทีเสร็จสมบูรณ์
้ ่
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 8
ั

9. ทดสอบการติดตังโดยเปิดเว็บเบราเซอร์ (เช่น Internet Explorer) ไปที่
้
http://localhost

รูปที่ 9 ทดสอบการใช้โปรแกรม
การสร้างโฟลเดอร์เพื่อใช้งาน
1. ให้เข้าไปทีโฟลเดอร์ทเราสร้างขึนจากข้อ 1 ในที่น้ีคอ C:AppServ จากนันสังเกต
่
่ี
้
ื
้
โครงสร้างของโฟลเดอร์น้ี

รูปที่ 10 โฟลเดอร์ C:AppServ
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 9
ั

2. จะพบโฟลเดอร์ ดังรูปที่ 11

รูปที่ 11 โฟลเดอร์ยอยของ C:/AppServ
่
3. ให้ดบเบิลคลิกทีโฟลเดอร์ www ซึงเป็ นโฟลเดอร์สาหรับเก็บโปรเจ็กต์ของเรา ดัง
ั ้
่
่
รูปที่ 12

รูปที่ 12 โฟลเดอร์ยอย www สาหรับเก็บโปรเจ็กต์
่
4. ให้สร้างโฟลเดอร์ยอยใน www ชื่อ myweb และมีโฟลเดอร์ยอยชื่อ images เพือ
่
่
่
เก็บรูปภาพใน myweb
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 10
ั

รูปที่ 1.13 โครงสร้างโฟลเดอร์
โปรแกรมแรกของฉัน
1. ให้เปิดโปรแกรมเอดิเตอร์สาหรับการเขียนโปรแกรม จากนันให้พมพ์โปรแกรม
้
ิ
ต่อไปนี้ลงไป

2. จากนันทาการบันทึกไฟล์ลงในโฟลเดอร์ทเี่ รากาหนด นันคือ C:AppServperson
้
้
โดยในทีน้ีบนทึกชื่อ first.php
่ ั
3. ทาการประมวลผลโปรแกรม ให้เปิดบราวเซอร์ขนมา จากนันพิมพ์ URL :
้ึ
้
http://localhost และตามด้วยชื่อโฟลเดอร์และโปรแกรม จะได้เป็ น
http://localhost/myweb/first.php เมื่อกด enter จะปรากฏข้อความตามโปรแกรม ดังรูป
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 11
ั

สรุป ให้นกศึกษาสรุปหลักการทางานของโปรแกรม โดยวาดรูปพร้อมอธิบาย
ั

…………………………………………………………………………………………………
……………………………………………...…………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 12
ั

บทที่ 2
PHP เบืองต้น
้

ในบทนี้จะกล่าวถึงพืนฐาน PHP เพื่อเป็ นพืนฐานในการศึกษาบทต่อ ๆ ไป โดย
้
้
กล่าวถึง การแทรกคาสังภาษา PHP ในเอกสาร HTML องค์ประกอบพืนฐานของการเขียน
่
้
โปรแกรม PHP ตัวแปรและชนิดตัวแปร ข้อมูลที่รองรับ PHP การแปลงชนิดข้อมูล ตัว
ดาเนินการและนิพจน์ และค่าคงที่
1. การแทรกคาสัง PHP ลงในเอกสาร HTML
่
สามารถแทรกคาสังภาษา PHP ได้โดยการใช้ PHP tags ซึงมีไว้เพือเป็ นการบ่ง
่
่
่
บอกให้รสวนทีเป็ นคาสังของภาษา PHP ทีอยูในเอกสาร HTML การใช้ PHP tags นัน
ู้ ่ ่
่
่ ่
้
สามารถทาได้ 4 รูปแบบ ดังต่อไปนี้
แบบที่
ชื่อแบบ
รูปแบบ
หมายเหตุ
1 XML style
<?php
หรือแบบ
คาสัง;
่
มาตรฐาน
?>
2 SGML หรือ
<?
Short Tags
คาสัง;
่
?>
3 Script Style <script language=`php’>
คาสัง;
่
</script>
4 ASP Style
<%
แบบทีควรใช้คอ XML style
่
ื
คาสัง;
่
เนื่องจากสามารถรันได้กบทุก
ั
%>
Server อีกทังสอดคล้องกับ
้
ไวยากรณ์ของภาษา XML
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 13
ั

หมายเหตุ สาหรับการใช้แท็กแบบ ASP นัน ก่อนจะใช้งานได้จะต้องมีการปรับแต่งไฟล์
้
php.ini (อยูในโฟลเดอร์ C:windows) โดยต้องทาการเปลียนค่าในไฟล์
่
่
asp_tags = off เปลียนให้เป็ น
่
asp_tags = on
ฝึ กปฏิ บติ ให้นกศึกษาพิมพ์โปรแกรมตามตัวอย่างที่ 2.1 ต่อไปนี้ และศึกษาการแทรก
ั
ั
PHP ในเอกสาร HTML
<html><head>
<title>การใช้ php tag</title>
</head><body>
XML style
<?php
echo "แบบมาตรฐาน <br>";
?>
SGML หรือ
<?
Short Tags
echo "แบบสัน <br>";
้
?>
<script language="php">
Script Style
echo "แบบสคริปต์ <br>";
</script>
ASP Style
<%
echo "แบบ asp <br>";
%>
</body>
</html>
สามารถวางคาสังในภาษา PHP ไว้ภายในเอกสาร HTML ตามทีตองการได้ โดยที่
่
่ ้
PHP tags อาจจะวางอยูสลับกับ HTML tags ตัวอย่าง ดังนี้
่
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 14
ั

ตัวอย่างที่ 2.2 การใช้ PHP tags ร่วมกับ HTML tags
1 <html>
2
<head>
3
<title>My Homepage</title>
4
</head>
5
<body>
6
<h1><?php echo "Hello World!"; ?></h1>
7
</body>
8 </html>
2. องค์ประกอบพืนฐานของการเขียน PHP
้
PHP นันจะใช้โครงสร้างทางภาษาในรูปแบบเดียวกับภาษาซี ดังนันแนวทางในการ
้
้
เขียนจึงคล้ายคลึงกัน ทังนี้มองค์ประกอบพืนฐานบางส่วนที่ควรรูจก เพื่อจะได้นาไปใช้
้ ี
้
้ั
ร่วมกับการเขียนโปรแกรมอื่นๆ ต่อไป ดังนี้
1) เครื่องหมายสิ้ นสุดคาสั ่ง
ใน PHP จะใช้เครื่องหมาย ; (Semicolon) เป็ นตัวแสดงจุดสินสุดในแต่ละคาสัง่ เช่น
้
$x = 10;
$z = ‚abc‛;
หลังใส่เครื่องหมาย ; เพือสินสุดคาสังแล้ว สามารถนาคาสังอื่นมาต่อท้ายได้เลย แต่
่ ้
่
่
การเขียนโค๊ดลักษณะนี้จะอ่านโปรแกรมได้ยาก ดังนันไม่นิยมทากัน เช่น
้
$x = 10; $y = x + 10 : $z = ‚abc‛;

2) คาอธิ บาย (Comment)
คาอธิบาย ใช้ในการอธิบายเกียวกับโปรแกรมทีเขียน เพื่อช่วยให้พจารณาโค้ด
่
่
ิ
ได้งายขึน แต่โปรแกรมจะไม่นาส่วนทีเป็ นคาอธิบายไปประมวลผลได้ใน PHP สามารถ
่ ้
่
เขียนคาอธิบายได้หลายแบบดังนี้
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 15
ั

- แบบบรรทัดเดียว เริมต้นด้วย // (Slashes) หรือ # จากนันตามด้วยเนื้อหาของ
่
้
คอมเมนต์
// ข้อความคอมเมนต์
# ข้อความคอมเมนต์
- แบบหลายบรรทัด เริมต้นด้วย /* ตามด้วยเนื้อหาของคอมเมนต์ และจบด้วย */
่
/*
ข้อความคอมเมนต์ บรรทัดที่ 1
ข้อความคอมเมนต์ บรรทัดที่ 2
*/
ตัวอย่างที่ 2.4 โปรแกรมตัวอย่างการใช้คาอธิ บาย
1 <html><head>
2 <title> comment </title>
3 </head><body>
4 <?php
5
echo "สวัสดี";
// แสดงข้อความสวัสดี
6
echo "<br>";
# เว้น 1 บรรทัด
7
echo "<b>สวัสดี นักศึกษา IT</b>";
8
/*
9
การใช้ echo และ print จะสามารถแทรกแท็ก html
10
ผสมลงไปได้
11
*/
12 ?>
13 </body> </html>
3. การแสดงผลข้อมูลผ่านเว็บบราวเซอร์
การแสดงผลคือ การที่ PHP ส่งผลลัพธ์ของทีเกิดจากการทางานของสคริปต์กลับไปที่
่
บราวเซอร์ ซึงใน PHP มีหลายคาสังทีสามารถทาเช่นนี้ได้ โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้
่
่ ่
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 16
ั

1) คาสัง print ( )
่
คาสัง่ print ( ) สามารถใช้แสดงผลลัพธ์ของข้อมูลแล้วส่งผ่านไปแสดงผลยังเว็บ
บราวเซอร์ โดยมีรปแบบ ดังนี้
ู
int print (string $arg)
เมื่อ $arg หมายถึง ตัวแปรข้อมูลนาเข้า (The input data) หากการทางาน
ของคาสัง่ print ( ) ถูกต้อง จะมีการส่งค่ากลับเป็น "1" เสมอ หากการทางานไม่ถูกต้องก็จะ
ส่งค่ากลับเป็ นค่าอื่นๆ
ตัวอย่างที่ 2.5 การใช้งานคาสัง่ print ( )
1 <?php
2
print ("<p>I love the summertime.</p>");
3 ?>
ตัวอย่างที่ 2.6 การแสดงค่าของตัวแปรผ่านคาสัง่ print ( )
1 <?php
2
$season = "summertime";
3
print "<p> I love the $season.</p>";
4 ?>
ตัวอย่างที่ 2.7 การใช้ประโยคพารามิเตอร์อยูคนละบรรทัดผ่านคาสัง่ print ( )
่
1 <?php
2
print "<p>I love the
3
summertime.</p>";
4 ?>
จากตัวอย่างทังหมดทีได้แสดงโค๊ดตัวอย่างคาสัง่ ผลลัพธ์ จะแสดง ดังนี้
้
่
I love the summertime.
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 17
ั

รูปแบบได้กาหนดให้ใส่พารามิเตอร์ในวงเล็บของประโยคคาสัง่ print ( ) ด้วยความ
ที่ PHP ออกแบบมาให้งายและยืดหยุน ซึ่งจะใส่วงเล็บก็ได้ไม่ใส่กได้ ก็จะสามารถแสดง
่
่
็
ผลลัพธ์ได้เหมือนกัน
2) คาสัง echo ( )
่
คาสัง่ echo ( ) สามารถใช้แสดงผลลัพธ์ของข้อมูลแล้วส่งผ่านไปแสดงผลยังเว็บ
บราวเซอร์ เหมือนกับคาสัง่ print ( ) ส่วนความแตกต่างนัน คือ คาสัง่ print ( ) จะมีการ
้
ตรวจสอบข้อผิดพลาดมากกว่าคาสัง่ echo ( ) แต่ไม่มความสาคัญมากนักสามารถใช้งาน
ี
เหมือนๆ กัน โดยรูปแบบของคาสัง่ echo มีดงนี้
ั
รูปแบบ
void echo ( string $arg1 [, string $... ] )
เมื่อ $arg1 หมายถึง ตัวแปรข้อมูลนาเข้า (สามารถกาหนดได้หลายตัวแปร)
ตัวอย่างที่ 2.8 การใช้คาสัง่ echo ( )
1 <?php
2
$heavyweight = "Lennox Lewis";
3
$lightweight = "Floyd May weather";
4
echo $heavyweight, " and ", $lightweight, " are great fighters.";
5 ?>
ผลลัพธ์
Lennox Lewis and Floyd May weather are great fighters.
หากเจตนาต้องการแสดงผลลัพธ์ท่มการผสมผสานระหว่างข้อความแบบคงที่และ
ี ี
ข้อมูลแบบไดนามิกผ่านตัวแปร ขอให้พจารณาใช้ printf ( ) แทนซึ่งมีการแนะนาต่อไป
ิ
หากเป็ นเพียงข้อความแบบคงทีธรรมดาทัวๆ ไป ก็ขอแนะนาให้ใช้คาสัง่ echo ( ) หรือ
่
่
print ( ) เพือการทางานก็เพียงพอแล้ว
่
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 18
ั

3) คาสัง printf ( )
่
คาสัง่ printf ( ) ใช้สาหรับแสดงในรูปแบบข้อความ (Formatted String) เหมาะสา
หรับการแสดงผลลัพธ์แบบผสมผสานระหว่างข้อความแบบคงทีและข้อมูลแบบไดนามิกที่
่
เก็บไว้ในตัวแปรหรือหลายๆ ตัวแปร และยังสามารถควบคุมการแสดงผลข้อมูลแบบไดนา
มิก เจาะจงการแสดงผลทีหน้าจอมีความเทียงในการจัดตาแหน่ งแต่และตาแหน่ ง มีรูปแบบ
่
่
การใช้งาน ดังนี้
รูปแบบ
int printf ( string $format [, mixed $args [, mixed $... ]] )
เมื่อ $format หมายถึง ตัวกาหนดชนิดการแสดงผล (Type Specifiers)
$args หมายถึง ตัวแปรข้อมูลนาเข้า
ตัวอย่างที่ 2.9 การใช้คาสัง่ printf ( ) สาหรับแสดงในรูปแบบข้อความ
printf ("Bar inventory: %d bottles of tonic water.", 100);
ผลลัพธ์
Bar inventory: 100 bottles of tonic water.
ในตัวอย่างนี้ %d เป็ น Format สาหรับตัวกาหนดชนิดการแสดงผล ในทีน้ี %d คือ
่
การกาหนดให้แสดงค่าของตัวเลขจานวนเต็ม นอกจากนันยังหมายถึงการระบุตาแหน่งทีจะ
้
่
ให้แสดงผลลัพธ์ จากตัวอย่าง เมื่อใช้คาสัง่ printf () มีค่าพารามิเตอร์ ทีส่งเข้ามา คือ 100
่
ค่า 100 จะถูกแทนทีใน %d ระหว่างข้อความ สาหรับกรณีท่ี ตัวเลขทีส่งเข้ามาเป็ นค่า
่
่
ั
ทศนิยม ค่าดังกล่าวก็จะถูกปดเศษให้เป็ นจานวนเต็มทีใกล้เคียงทีสุด เช่น ถ้าส่งค่าเป็ น
่
่
100.2 ผลลัพธ์จะแสดงเป็ น 100 สาหรับตัวกาหนดชนิดการแสดงผล มีรายละเอียด ดัง
ตารางที่ 2.1 ดังนี้
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 19
ั

ตารางที่ 2.1 แสดงตัวกาหนดชนิดการแสดงผลทีใช้รวมกับคาสัง่ printf ( )
่ ่
ตัวกาหนดชนิ ด
ความหมาย
%b
เป็ นชนิดตัวเลข แสดงผลเป็ นเลขไบนารี (a binary number)
%c
เป็ นชนิดตัวเลข แสดงผลเป็ นตัวอักขระ ASCII
%d
เป็ นชนิดตัวเลขจานวนเต็มบวกและลบ แสดงผลเป็ นตัว
เลขฐานสิบ
%f
เป็ นชนิดตัวเลขจานวนจริง แสดงผลเป็ นตัวเลขฐานสิบและ
ทศนิยม
%o
เป็ นชนิดตัวเลขจานวนเต็ม แสดงผลเป็ นตัวเลขฐานแปด
%s
เป็ นชนิดข้อความ แสดงผลเป็ นข้อความ
%u
เป็ นชนิดตัวเลขจานวนเต็มบวก แสดงผลเป็ นตัวเลขฐานสิบ
%x
เป็ นชนิดตัวเลข แสดงผลเป็ นเลขฐานสิบหก (อักษรพิมพ์
เล็ก)
%X
เป็ นชนิดตัวเลข แสดงผลเป็ นเลขฐานสิบหก (อักษรพิมพ์
ใหญ่)
ดังนันหากต้องการทีจะส่งผ่านข้อมูล 2 ค่า สามารถทาได้โดยระบุตวกาหนดชนิด 2
้
่
ั
ตัวเช่นกัน ดังตัวอย่าง ดังนี้
ตัวอย่างที่ 2.10 การใช้คาสัง่ printf ( ) โดยระบุตวกาหนดชนิดมากกว่า 1 ชนิด
ั
printf ("%d bottles of tonic water cost $%f", 100, 43.20);
ผลลัพธ์
100 bottles of tonic water cost $43.20
หากต้องการกาหนดจานวนของการแสดงผลจานวนเลขทศนิยม สามารถกาหนดได้
โดยระบุตวเลขไว้ก่อนหน้า ตัวกาหนดชนิด ดังนี้
ั
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 20
ั

ตัวอย่างที่ 2.11 การใช้คาสัง่ printf ( ) เพือการแสดงผลจานวนเลขทศนิยม
่
printf ("$%.2f", 43.2); // ผลลัพธ์ คือ $43.20
4) คาสัง sprintf ( )
่
ั ั ่
คาสัง่ sprintf ( ) เป็ นฟงก์ชนทีทาหน้าทีเหมือนคาสัง่ printf ( ) แตกต่างก็ตรงที่
่
ั ั
ฟงก์ชน sprintf () ใช้สาหรับส่งค่ากลับเป็ นข้อความหรือสตริงหรือเป็ นการนาสตริงมาต่อให้
เป็ นประโยคเดียวกันแล้วกาหนดค่าให้กบตัวแปร เพื่อประโยชน์การทางานตามเหมาะสม
ั
ไม่มการแสดงผลออกไปยังเว็บบราวเซอร์ ลักษะการใช้งานเหมือน printf ( ) ดังนันจะใช้
ี
้
ตัวกาหนดชนิด เหมือนกัน ตามตารางที่ 2.1 การใช้งานมีรปแบบ ดังนี้
ู
รูปแบบ
string sprintf ( string $format [, mixed $args [, mixed $... ]] )
ตัวอย่างที่ 2.12 การใช้คาสัง่ sprintf ( ) สาหรับส่งค่ากลับเป็ นข้อความให้เป็ น
ประโยคเดียวกัน
$cost = sprintf ("$%.2f", 43.2); // ผลลัพธ์ คือ กาหนดให้ $cost =
$43.20
4. ตัวแปร (Variable)
ตัวแปร ใช้ในการเก็บพักข้อมูลบางอย่างก่อนทีจะนeข้อมูลนันไปใช้งานอื่นๆ ต่อไป
่
้
ทีน่าสนใจสาหรับตัวแปรใน PHP ไม่จาเป็ นต้องได้รบการประกาศอย่างชัดเจนเหมือน
่
ั
ภาษาอื่นๆ แต่กไม่เป็ นสิงทีดนักหากขาดทักษะการเขียนโปรแกรมทีดี ก็อาจจะทาให้เกิด
็
่ ่ ี
่
ความสับสนในการใช้งานได้ รายละเอียดทีน่าสนใจเกียวกับตัวแปรมีดงนี้
่
่
ั
ข้อกาหนดของตัวแปรใน PHP
วิธการกาหนดตัวแปรใน PHP จะมีขอกาหนดทีสาคัญดังนี้คอ
ี
้
่
ื
1) ตัวแปรใน PHP ไม่จาเป็ นต้องระบุชนิดของข้อมูล เนื่องจากตัวแปรแต่ละตัว
สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ได้
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 21
ั

2) ตัวแปรใน PHP จะต้องขึนด้วยสัญลักษณ์เครื่องหมาย $ (Dollar Sign) แล้วตาม
้
ด้วยชื่อของตัวแปรทีตองการใช้งาน เช่น $name, $value, $a, $x เป็ นต้น
่ ้
3) ตามข้อกาหนดดังเดิมนัน ตัวแปรต้อง ขึนต้น ด้วยอักษร a-z หรือ A-Z หรือ
้
้
้
เครื่องหมาย _ เท่านัน ห้ามขึนต้นด้วยตัวเลข 0-9 หรืออักขระอื่นๆ นอกเหนือจากนี้
้
้
ตัวอย่างการกาหนดตัวแปรทีถูกต้อง เช่น $name, $_price, $value1, $num2string
่
4) การเขียนตัวแปรด้วยลักษณะ ตัวพิมพ์ทแตกต่างกัน ถือว่าเป็ นตัวแปรคนละตัว
่ี
เช่น $abc, $ABC จะถือว่าไม่ใช่ตวแปรเดียวกัน
ั
ั ั
5) ในปจจุบน สามารถนาอักขระภาษาอื่นๆ มาตังเป็ นชื่อตัวแปรได้ ซึ่งจากการ
้
ทดสอบของผูเขียนพบว่า สามารถตังชื่อเป็ นภาษาไทยก็ได้ เช่น $ ชื่อ, $จานวน1, $
้
้
ผลลัพธ์ เป็ นต้น แต่โดยทัวไปแล้ว นิยมตังชื่อตัวแปรเป็ นภาษาอังกฤษมากกว่า
่
้
เมื่อได้ประกาศตัวแปรก็สามารถเริมต้นใช้งานได้ทนที แต่ก่อนทีจะนาตัวแปรไปใช้
่
ั
่
งานได้นน ตัวแปรจะต้องเก็บข้อมูลบางอย่างเอาไว้ หรือเรียกว่าการกาหนดค่าตัวแปร การ
ั้
กาหนดค่าตัวแปรแบบง่ายๆ คือ การคัดลอกค่าหรือโอนถ่ายค่าของนิพจน์ หรือสมการ
ต่างๆ โดยมีสญลักษณ์ทใช้กาหนดค่า คือ เครื่องหมาย = (เท่ากับ) การกาหนดค่าตัวแปร
ั
่ี
นัน หลักๆ จะมีอยูดวยกัน 2 วิธี คือ 1) กาหนดค่าตัวแปรปกติ (by value) และ 2) กาหนด
้
่ ้
ตัวแปรโดยการอ้างอิง (by reference) ดังนี้
การกาหนดค่าตัวแปรปกติ (Value Assignment)
การกาหนดค่าตัวแปรรูปแบบนี้ เป็ นการกาหนดค่าตัวแปรแบบง่ายทีสุดและนิยมใช้
่
งานโดยทัวไป สามารถกาหนดได้หลายลักษณะขึนอยูกบชนิดข้อมูล ดังนี้
่
้ ่ ั
สาหรับข้อมูลชนิดตัวเลข ก็เขียนเป็ นตัวเลขลงๆ ไปโดยตรงได้เลย ตัวอย่างดังนี้
ตัวอย่างที่ 2.13 การกาหนดค่าตัวแปรปกติ
$x = 123; // กาหนดให้ตวแปร $x มีคาเท่ากับ 123
ั
่
$y = 4.56; // กาหนดให้ตวแปร $y มีคาเท่ากับ 4.56
ั
่
$z = -789; // กาหนดให้ตวแปร $z มีคาเท่ากับ -789
ั
่
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 22
ั

สาหรับข้อมูลชนิดข้อความก็กาหนดตามรูปแบบการเขียนข้อความ นังคือต้องเขียน
่
ไว้ในเครื่องหมาย ‚ ‛ หรือไม่ก็ ‘ ’ เท่านัน ตัวอย่างดังนี้
้
ตัวอย่างที่ 2.14 การกาหนดค่าตัวแปรชนิดข้อความหรือสตริง
$name = ‚ปริญญา‛; // กาหนดให้ตวแปร $name มีคาเท่ากับข้อความ ปริญญา
ั
่
$country = ‘Thailand’; // กาหนดให้ตวแปร $country มีคาเท่ากับข้อความ
ั
่
Thailand
$phone = ‘0123456789’; // กาหนดให้ตวแปร $phone มีค่าเท่ากับข้อความ
ั
0123456789
ตัวเลขทีเขียนในแบบข้อความ เช่น ‚123‛ จะถือว่าเป็ น ‚ชนิดข้อความ‛ แต่สามารถ
่
นาไปใช้คานวณได้ตามปกติ ทังนี้การกาหนดข้อความด้วยเครื่องหมาย ‚…‛ และ ‘…’ จะมี
้
ข้อแตกต่างกันบางกรณีซงจะอธิบายเพิมเติมในหัวข้อต่อๆ ไป
่ึ
่
ส่วนกรณีทตวแปรเป็ นชนิดบูลนก็กาหนดค่าเป็ น true หรือ false อย่างใดอย่างหนึ่ง
่ี ั
ี
ดังนี้
ตัวอย่างที่ 2.15 การกาหนดค่าตัวแปรชนิดบูลน
ี
$first_time = true ;
$is_valid = false ;
การใช้งานตัวแปรใน PHP มีความยืดหยุน ไม่จากัดชนิดของตัวแปรเป็ นชนิดใด
่
ชนิดหนึ่ง และยังสามารถสลับปรับเปลียนได้ในทันที มีตวอย่าง ดังนี้
่
ั
ตัวอย่างที่ 2.15 การกาหนดค่าตัวแปรแบบไม่จากัดชนิดของตัวแปร
$color = "red";
$number = 12;
$age = 12;
$sum = 12 + "15"; // ผลลัพธ์ ตัวแปร $sum = 27
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 23
ั

5. ชนิ ดข้อมูล (Data Types)
ใน PHP มีขอมูลอยูหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็ นข้อมูลชนิดบูลน (Boolean) ตัวเลข
้
่
ี
จานวนเต็ม (Integer) ตัวเลขจานวนจริง (Float) ข้อความหรือสตริง (String) และอาร์เรย์
(Array) เพื่อทาความเข้าใจและสามารถนาไปใช้ร่วมกับการกาหนดตัวแปรในหัวข้อต่อๆ
ไป ดังรายละเอียดต่อไปนี้
ชนิ ดข้อมูล (Data Types)
Integer
Double
String
Boolean
Object
Array

ตัวอย่าง
5
3.234
‚hello‛
true

อธิ บาย
จานวนเต็ม
จานวนจริง
กลุมของตัวอักขระ
่
ค่าพิเศษหนึ่งในสองค่าของ true และ false
วัตถุทอยูในคลาส
่ี ่
กลุมของข้อมูลทีมลาดับของคีย์
่
่ ี

ฟั งก์ชนที่เกี่ยวข้องกับชนิ ดข้อมูล (Type-Related Functions)
ั
ั ั ่ ่
ฟงก์ชนทีเกียวข้องกับชนิดข้อมูล เช่น การตรวจสอบ และการแปลงชนิดข้อมูล มี
รายละเอียด ดังนี้
1) ฟั งก์ชนเรียกดูชนิ ดของข้อมูล (Retrieving Types)
ั
ั ั่
เราสามารถใช้ฟงก์ชน gettype() ของ PHP เพื่อทดสอบชนิดของข้อมูล โดยตัว
ั
แปรทีตองการตรวจสอบจะอยูในเครื่องหมายวงเล็บของฟงก์ช ั ่น gettype() ผลลัพธ์ทได้จะ
่ ้
่
่ี
ส่งค่ากลับมาเป็ นข้อความแสดงชนิดของข้อมูลของตัวแปรทีทาการทดสอบ
่

1
2
3
4

ั ั
ตัวอย่างที่ 2.22 ตัวอย่างการใช้ฟงก์ชน gettype ( ) เรียกดูชนิดของข้อมูล
<?php
$data = "Mr.Parinya";
echo gettype ($data); // ผลลัพธ์ คือ string
?>
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 24
ั

2) ฟั งก์ชนแปลงชนิ ดข้อมูล (Converting Types)
ั
ั ั
ั ั
ฟงก์ชน settype ( ) เป็ นฟงก์ชนสาหรับแปลงตัวแปรตามทีระบุ ให้เป็ นชนิดอื่นๆ
่
ตามต้องการ ชนิดของข้อมูลที่สามารถแปลงได้นน มี 7 ชนิด ประกอบด้วย array,
ั้
boolean, float, integer, null, object และ string นอกจากนี้ถ้าหากการแปลงชนิดข้อมูล
ั ั
ประสบความสาเร็จ ฟงก์ชน settype ( ) จะมีการส่งค่ากลับผลลัพธ์จะมีค่าเป็ น TRUE หาก
ไม่สาเร็จจะส่งค่ากลับเป็ น FALSE รูปแบบการใช้งาน ดังนี้
รูปแบบ
bool settype ( mixed &$var , string $type )
เมื่อ $var หมายถึง ตัวแปรทีตองการแปลงชนิด
่ ้
$type หมายถึง ชนิดทีตองการแปลง มีรายละเอียดดังนี้
่ ้
"boolean" คือ บูลน
ี
"integer" คือ เลขจานวนเต็ม
"float" คือ เลขจานวนจริง
"string" คือ ข้อความ
"array" คือ อาร์เรย์
"object" คือ ออบเจ็กต์
"null" คือ ค่าว่างหรือไม่กาหนดชนิดใดๆ
ั ั
ตัวอย่างที่ 2.23 ตัวอย่างการใช้ฟงก์ชน settype ( ) เพือแปลงหรือกาหนดชนิด
่
ข้อมูล
1 <?php
2
$foo = "5bar"; // เป็ นชนิด string
3
$bar = true; // เป็ นชนิด boolean
4
settype ($foo, "integer"); // ผลลัพธ์ $foo จะมีคาเท่ากับ 5 และเป็ นชนิด integer
่
5
settype ($bar, "string"); // ผลลัพธ์ $bar จะมีคาเท่ากับ "1" และเป็ นชนิด string
่
6 ?>
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 25
ั

3) ฟั งก์ชนตรวจสอบชนิ ดของข้อมูล (Type Identifier Functions)
ั
ั ั
ฟงก์ชนที่ใช้สาหรับตรวจสอบชนิดของข้อมูล ประกอบด้วย is_array(),
is_bool(), is_float() หรือ is_rea (), is_integer () หรือ is_int( ), is_null(), is_numeric(),
ั ั
is_object ( ), is_resource ( ), is_scalar ( ) และ is_string ( ) ทุกฟงก์ชนจะมีรูปแบบการ
ั ั
ใช้งานเหมือนกัน ประกอบด้วย ชื่อฟงก์ชนตรวจสอบ และในพารามิเตอร์ให้ใส่ตวแปรที่
ั
ต้องการตรวจสอบ หลังจากทีฟงก์ชนทาการตรวจสอบแล้วและมีการส่งค่ากลับเป็ น TRUE
่ ั ั
หากค่าของตัวแปรตรงกับชนิดข้อมูลทีตรวจสอบ หากไม่ตรงกับชนิดข้อมูลทีตรวจสอบจะ
่
่
ส่งค่ากลับเป็ น FALSE มีรปแบบ ดังนี้
ู
รูปแบบ
boolean is_name (mixed var) // เมื่อกาหนดให้ is_name แทนชื่อฟั งก์ชน
ั
ตรวจสอบ
เมื่อ $var หมายถึง ตัวแปรทีตองการตรวจสอบชนิด
่ ้

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

ั ั
ตัวอย่างที่ 2.24 ตัวอย่างการใช้ฟงก์ชน is_name ( ) เพือตรวจสอบชนิดของข้อมูล
่
<?php
if (is_int (23)) {
echo "is integer <br/>";
} else {
echo "is not an integer <br/>";
}
var_dump (is_int (23));
var_dump (is_int ("23"));
var_dump (is_int (23.5));
?>
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 26
ั

ผลลัพธ์
is integer
bool (true)
bool (false)
bool (false)
การแปลงชนิ ดข้อมูลโดยใช้ตวแปร
ั
การแปลงค่าของชนิดข้อมูลหนึ่งไปเป็ นชนิดข้อมูลอื่นๆ ได้นน จาเป็ นต้องรูถงชนิด
ั้
้ ึ
ของข้อมูลที่จะแปลงไป การแปลงค่าของชนิดข้อมูลสามารถทาได้โดยการวางชนิดที่
ต้องการแปลงไว้ในด้านหน้าของตัวแปรทีจะทาการแปลง สาหรับรายละเอียดของชนิดของ
่
ตัวแปลง แสดงในตารางที่ 2.2 มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้
ตารางที่ 2.2 ตัวดาเนินการแปลงชนิดของข้อมูล (Type Casting Operators)
Cast Operators
Conversion
(array)
Array
(bool) or (boolean)
Boolean
(int) or (integer)
Integer
(int64) 64-bit
integer (introduced in PHP 6)
(object)
Object
(real) or (double) or
Float
(float)
String
(string)

1
2
3
4

ตัวอย่างที่ 2.25 ตัวอย่างการแปลงชนิดข้อมูล
$score = (double) 13; // ผลลัพธ์ทได้คอ $score = 13.0
่ี ื
$score = (int) 14.8; // ผลลัพธ์ คือ $score = 14
$sentence = "This is a sentence";
echo (int) $sentence; // ผลลัพธ์ คือ returns 0
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 27
ั

5
6
7
8
9
10
11

$score = 1114;
$scoreboard = (array) $score;
echo $scoreboard [0]; // ผลลัพธ์ทแสดงออกมา คือ 1114
่ี
$model = "Toyota";
$obj = (object) $model;
//ค่าของข้อมูลสามารถอ้างอิงได้ ดังนี้
print $obj -> scalar; // ผลลัพธ์ คือ returns "Toyota"

การปรับเปลี่ยนชนิ ดข้อมูลแบบอัตโนมัติ (Adapting Data types with Type
Juggling)
PHP ถูกออกแบบมาให้มความยืดหยุ่นสูง สามารถปรับเปลี่ยนค่าตัวแปรได้
ี
หลากหลายและทันท่วงที แบบอัตโนมัติหรือสามารถปรับเปลี่ยนชนิดของตัวแปรแบบ
อัตโนมัติ โดยจะระบบจะทาการพิจารณาความเหมาะสมกับสถานการณ์ทมการอ้างอิงตัว
่ี ี
แปร ตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 2.26 การปรับเปลียนชนิดข้อมูลแบบอัตโนมัติ แบบที่ 1
่
1 <?php
2
$total = 5; // เป็ นชนิดตัวเลข integer
3
$count = "15"; // เป็ นชนิด string
4
$total += $count; // ผลลัพธ์ของการคานวณ คือ $total = 20 (เป็ นชนิด integer)
5 ?>

1
2
3
4
5

ตัวอย่างที่ 2.27 การปรับเปลียนชนิดข้อมูลแบบอัตโนมัติ แบบที่ 2
่
<?php
$total = "45 fire engines";
$incoming = 10;
$total = $incoming + $total; // ผลลัพธ์ คือ $total = 55
?>
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 28
ั

1
2
3
4
5

ตัวอย่างที่ 2.28 การปรับเปลียนชนิดข้อมูลแบบอัตโนมัติ แบบที่ 3
่
<?php
$val1 = "1.2e3"; // 1,200
$val2 = 2;
echo $val1 * $val2; // ผลลัพธ์ทแสดงออกมา คือ 2400
่ี
?>

6. ตัวดาเนิ นการ (Operators) และนิ พจน์ (Expressions)
ตัวดาเนินการ เป็ นสัญลักษณ์ทใช้กาหนดรูปแบบการประมวลผลข้อมูล ซึ่งแบ่งได้
่ี
หลายประเภท เช่น ตัวดาเนินการเกี่ยวกับการคานวณทางคณิตศาสตร์ การเปรียบเทียบ
และการประมวลผลทางด้านตรรกะ (Logic) เป็ นต้น
นิพจน์ คือ การกระทาเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ค่าหนึ่งค่า ประกอบไปด้วยตัวถูกกระทา
(Operands) และตัวดาเนินการ (Operators) เขียนเรียงกันไป เช่น 3 * 2 - 1 + 7 หรือ a *
5 เป็ นต้น
ลาดับความสาคัญของตัวดาเนิ นการ
ลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการนัน มีความสาคัญมากในการเขียนโปรแกรม
้
ซึ่งถ้าจัดลาดับผิด ก็อาจจะทาให้โปรแกรมของเกิดข้อผิดพลาด (bug) ได้ และบางทีจะทา
ให้หาจุดผิดพลาดนันๆ ยากด้วย ลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการแต่ละตัวจะมี
้
ความสาคัญแตกต่างกันเป็ นทีแน่ นอนอยูแล้วว่า ลาดับความสาคัญสูงก็จะถูกทาก่อนลาดับ
่
่
ความสาคัญต่า ตัวอย่าง ดังนี้
ตัวอย่างที่ 2.29 แสดงนิพจน์และตัวดาเนินการ 2 + 4 * 3
จากตัวอย่าง ถ้าลองมาคานวณกันเองแล้ว ก็คงจะได้หลายๆ ค่าแตกต่างกันไป
เนื่องจากว่าไม่รู้ว่าจะนาตัวไหนมาคานวณกันก่อนหลัง จากตัวอย่างเครื่องหมายที่มี
ความสาคัญสูงคือเครื่องหมาย Multiply (*) หรือคูณนันเอง รองลงมา คือ Addition (+)
่
หรือบวก ซึ่งหมายความว่าจะทาการคานวณ 4 * 3 ก่อน แล้วค่อยนาผลลัพธ์น้ีไปบวก
กับ 2 ผลลัพธ์จงมีคาเท่ากับ 14
ึ ่
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 29
ั

ตัวอย่างที่ 2.30 แสดงนิพจน์และลาดับความสาของตัวดาเนินการ
(2 + 4) * 3
หรือ ขึนอยูกบว่าจะให้นิพจน์ใดคานวณก่อน-หลัง การคานวณจะเกิดขึนในวงเล็บ
้ ่ ั
้
ก่อนเสมอ
2 + (4 * 3)
พิจารณาตัวอย่าง
1/3*3
จากตัวอย่างเครื่องหมายคูณและหารจะมีลาดับความสาคัญเท่ากัน ในกรณีน้ี การ
คานวณจะเกิดขึนจากซ้ายไปขวาเสมอ คือ 1 / 3 ก่อน แล้วจึงนาผลลัพธ์ไปคูณกับ 3
้
คาตอบ คือ 1
1) ตัวดาเนิ นการสาหรับการกาหนดค่า (Assignment)
เป็ น ตัว ด าเนิ น การในการก าหนดค่ า ให้ก ับ ตัว แปรที่อ ยู่ท างด้า นซ้า ยของตัว
ดาเนินการ ด้วยค่าทีอยูทางขวาโดยประกอบด้วยตัวดาเนินการดังต่อไปนี้
่ ่
ตารางที่ 2.4 ตัวดาเนินการสาหรับการกาหนดค่า
=
กาหนดค่า เช่น
$x = 10;
+=
นาค่าทีกาหนดไปบวกเพิมจากค่าเดิมตัวแปร แล้วผลลัพธ์ทได้เก็บไว้ในตัว
่
่
่ี
แปรเดิม เช่น
$x = 10;
$x += 8; // $x = 18
-=
ลดค่าตัวแปรลงเท่ากับค่าทีระบุ เช่น
่
$x = 10;
$x -= 8; // $x = 2
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 30
ั

ตารางที่ 2.4 (ต่อ)
*=

/=

%=

.=

คูณค่าเดิมของตัวแปรด้วยค่าทีระบุ เช่น
่
$x = 10;
$x *= 8; // $x = 80
หารค่าเดิมของตัวแปรด้วยค่าทีระบุ เช่น
่
$x = 16;
$x /= 8; // $x = 2
นาค่าที่ระบุไปหารค่าเดิมของตัวแปร แต่จะเอาเฉพาะเศษจากการหาร
เท่านัน หรือเรียกว่าการหารแบบ Modulus เช่น
้
$x = 10;
$x %= 3; // $x = 1
ใช้ในการเชื่อมต่อข้อความโดยนาข้อความด้านขวามือไปต่อท้ายข้อความ
ด้านซ้ายมือ
$x = ‚PHP‛;
$x .= ‚/MySQL‛; // $x = ‚PHP/MySQL‛

2) ตัวดาเนิ นการสาหรับการคานวณ
ตัวดาเนินการทีใช้ในการคานวณทางคณิตศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวดาเนินการ
่
ดังต่อไปนี้
ตารางที่ 2.5 ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดาเนิ นการ
ชื่อ
ตัวอย่าง
ผลลัพธ์ตวอย่าง
ั
+
การบวก
10+3
13
การลบ
10-3
7
*
การคูณ
10*3
30
/
การหาร
10/3
3.3333333
%
มอดูโล
10*3
1
การหารเอาเศษ
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 31
ั

3) ตัวดาเนิ นการสาหรับเชื่อมต่อข้อความ (String Concatenation)
สาหรับใน PHP จะใช้เครื่องหมายจุด (.) ในการเชื่อมต่อข้อความ ตัวอย่างตัว
ดาเนินการสาหรับเชื่อมต่อข้อความ

1
2
3
4
5
6
7
8

ตัวอย่างที่ 2.31 การใช้เครื่องหมายจุด (.) ในการเชื่อมต่อข้อความ
<?php
$str = ‚My‛ . ‚SQL‛; // $str = ‚MySQL‛
echo ‚สมชาย‛ . ‚ ‛ . ‚พายเรือ‛; // สมชาย พายเรือ
$fname = ‚Parinya‛;
$lname = ‚Mai‛;
echo ‚My name is‛ . $fname . ‚ ‛ . $lname ; //My name is Parinya Mai
echo 1 . 2 . 3 ; //123
?>
4) ตัวดาเนิ นการสาหรับเพิ่ ม และลดค่า (Increment & Decrement)
ประกอบด้วยตัวดาเนินการดังต่อไปนี้

ตารางที่ 2.5 ตัวดาเนินการสาหรับเพิม และลดค่า
่
++ เป็ นการเพิมตัวแปรขึนไปอีก 1 เช่น
่
้
-- เป็ นการลดค่าตัวแปรลงอีก 1 เช่น
$x = 10;
$x = 10;
$x++; //$x = 11
$x--; //$x = 9
ข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้ตวดาเนิ นการ ++ และ -ั
การวางตัวดาเนินการ ++ หรือ -- ไว้ดานหน้า หรือหลังตัวแปร หากตัวแปรนันอยู่
้
้
เดียวๆ ค่าทีได้จะไม่ต่างกัน เช่น กรณีตวอย่างต่อไปนี้
่
่
ั
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 32
ั

ตัวอย่างที่ 2.32 ข้อควรระวังการวางตัวดาเนินการ ++ หรือ -- ไว้ดานหน้า หรือ
้
หลังตัวแปร
$x = 10;
$y = 10;
$x++; // $x = 11
++$y; // $y = 11
แต่หากนาไปใช้ในรูปแบบของนิพจน์ (Expression) หรือกระทากับค่าอื่นๆ ด้วย
ค่าทีได้อาจแตกต่างกันไป เช่น สองกรณีต่อไปนี้
่
ตัวอย่างที่ 2.33 การเปรียบเทียบรูปแบบของการใช้นิพจน์สองกรณี
$x = 10;
$x = 10;
$y = 20;
$y = 20;
$y += ++$x; // $x = 11, $y = 31
$y += $x++; // $x = 11, $y = 30
หากกาหนดแบบนี้ y จะมีคาเท่ากับ
่
หากกาหนดแบบนี้ y จะมีคาเท่ากับ
่
(20+1)+10=31 นันคือ จะเพิมค่า x ขึนไป 20+10=30 นันคือ จะนาค่า x เดิมไปบวก
่
่
้
่
อีก 1 ก่อนแล้วค่อยนาไปบวกกับ y
กับ y ก่อน แล้วค่อยเพิมค่า x ขึนไปอีก 1
่
้
ความจริงหลักการทีกล่าวมานี้ พิจารณาจากลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการ
่
ตามทีจะกล่าวถึงในลาดับต่อไป
่
5) ตัวดาเนิ นการสาหรับการเปรียบเทียบ (Comparison)
ใช้ในการเปรียบเทียบหาค่าความจริงระหว่าง 2 นิพจน์ โดยผลลัพธ์ทได้จะเป็ นได้
่ี
เพียง true หรือ false อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านัน โดยตัวดาเนินการในกลุมนี้ มีดงนี้
้
่
ั
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 33
ั

ตารางที่ 2.6 ตัวดาเนินการสาหรับการเปรียบเทียบ
< น้อยกว่า
== เท่ากัน
<= น้อยกว่า หรือเท่ากับ
=== เท่ากันทังหมดทังค่า และชนิดข้อมูล
้
้
> มากกว่า
!= ไม่เท่ากัน
=> มากกว่า หรือเท่ากับ
ตัวอย่างที่ 2.34 ตัวอย่างผลลักษณะการเปรียบเทียบ กรณีศกษาแบบที่ 1
ึ
$a = (10 <= 9); // $a = false เพราะ 10 > 9
$b = (10 == 10); // $b = true
$c = (10 == ‚10‛); // $c = true
$d = (10 === ‚10‛); // $d = false เพราะ 10 เป็ นตัวเลข ขณะที่ ‚10‛ ถือว่าเป็ นข้อความ
$e = (‚php‛ == ‚PHP‛); // $e = false เพราะลักษณะตัวพิมพ์ต่างกัน
6) ตัวดาเนิ นการสาหรับการเปรียบเทียบทางตรรกะ (Bitwise Operators)
การเปรียบเทียบทางตรรกะ (Logical) เป็ นการเปรียบเพื่อหาค่าความจริง
ระหว่าง 2 นิพจน์ เช่น หากพิสูจน์พจน์แรกเป็ นจริง และนิพจน์ทสองเป็ นเท็จ แล้วผลลัพธ์
่ี
จะออกมาเป็ นอย่างไร เป็ นต้น ซึงตัวดาเนินการในการเปรียบเทียบทางตรรกะมีดงต่อไปนี้
่
ั
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 34
ั

ตารางที่ 2.7 ตัวดาเนินการสาหรับการเปรียบเทียบทางตรรกะ
ตัวดาเนิ นการ
การเปรียบเทียบ
! หรือ not
!(true)
!(false)
&& หรือ and
true && true
true && false
false && false
|| หรือ or
true || true
true || false
false || false
^ หรือ xor
true ^ true
true ^ false
false ^ false

ผลลัพธ์
true
false
true
false
false
true
true
false
false
true
false

ตัวอย่างที่ 2.35 ตัวอย่างผลลักษณะการเปรียบเทียบ กรณีศกษาแบบที่ 2
ึ
$a = ! (1 = = 2); //$a = ! (false) => $a = true;
$b = (1 != 2) && (1>0); // $b = (true) && (true) => $b = true;
$c = (1 = = 2) && (1>0); // $c = (false) && (true) => $c = false;
$d = (1 = = 2) || (1>0); // $c = (false) || (true) => $d = true;
ลาดับความสาคัญของตัวดาเนิ นการ
ลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการก็คอ ลาดับในการประมวลผลก่อนหลัง ซึ่งเป็ น
ื
สิงทีสาคัญมาก หากวางตาแหน่ ง หรือจัดกลุ่มไม่ถูกต้อง ผลลัพธ์ทได้อาจไม่ตรงตามที่
่ ่
่ี
ต้องการก็ได้ โดยลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการมีดงนี้
ั
1. ( )
6. &&
2. ++, -- (วางไว้หน้าตัวแปร)
7. ||
3. *, /, %
8. =, +=, -=, /=, %=
4. +, 9. ++, -- (วางไว้หลังตัวแปร)
5. ==, !=
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 35
ั

ตัวอย่างที่ 2.36 ตัวดาเนินการที่มลาดับความสาคัญเท่ากัน ตัวทีมาก่อนจะถูก
ี
่
ประมวลผลก่อน
$a = 2*100/10; //$a = 20 เพราะ 100/10 = 10 => 2*10 = 20 หรือเท่ากับ 2*(100/10)
$b = 100/10%2; //$b = 0 เพราะ 100/10 = 10 => 10%2 เหลือเศษ 0 หรือเท่ากับ (100/10)%2
$c = 100%80*2; //$c = 40 เพราะ 100%80 เหลือเศษ20 => 20*2 = 40
$d = 100/10+30; //$d = 40 ซึงเท่ากับ (100/10)+30
่
$e = 2*100/10+30; //$e = 50 ซึงเท่ากับ (2*(100/10))+30
่

ในทางปฏิบตเพือหลีกเลียงข้อผิดพลาดจากลาดับความสาคัญของเครื่องหมาย ควร
ั ิ ่
่
ใช้วงเล็บในการจัดแบ่งกลุมให้ชดเจน
่
ั
7. ตัวแปรค่าคงที่ (Constants)
ตัวแปรค่าคงทีในภาษา PHP นันได้กาหนดวิธการประกาศตัวแปรค่าคงที่ โดยผ่าน
่
้
ี
ั ั
ฟงก์ชน define ( ) หรือใช้คยเวิรด const (ใช้ได้ตงแต่ PHP 5.3.0) เมื่อตัวแปรค่าคงทีถูก
ี ์ ์
ั้
่
กาหนดแล้ว จะไม่สามารถเปลียนหรือคืนค่าได้อกต่อไป สามารถรับค่าของค่าคงทีได้โดย
่
ี
่
ระบุช่อตัวแปรของค่าคงที่ ซึ่งจะแตกต่างจากการรับค่าตัวแปรทัวไป นันก็คอตัวแปร
ื
่
่ ื
ค่าคงทีไม่ต้องใช้เครื่องหมาย $ นาหน้าตัวแปรค่าคงที่ หรือว่าจะรับค่าของค่าคงทีผาน
่
่ ่
ั ั
ฟงก์ชน constant ( ) แต่ถามีช่อตัวแปรค่าคงทีทเปลียนแปลงตลอด นันจะไม่รว่ามีช่อตัว
้ ื
่ ่ี ่
้
ู้
ื
ั ั
แปรค่าคงทีใดบ้าง สามารถใช้ฟงก์ชน get_defined_constants ( ) เพื่อรับค่ารายการการ
่
ประกาศค่าคงทีทงหมด
่ ั้
รูปแบบ
boolean define ( string $name , mixed $value )
เมื่อ $name หมายถึง ชื่อของตัวแปรทีตองการกาหนดให้เป็ นตัวแปรค่าคงที่
่ ้
$value หมายถึง ค่าทีตองการกาหนด
่ ้
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 36
ั

1
2
3
4
5
6

ตัวอย่างที่ 2.37 การกาหนดตัวแปรค่าคงที่
<?php
define ("PI", 3.141592);
printf ("The value of pi is %f", PI); // The value of pi is 3.141592
$pi2 = 2 * PI;
printf ("Pi doubled equals %f", $pi2); // Pi doubled equals 6.283184
?>

ฝึ กปฏิ บติ
ั
ชื่อหน่ วยเรียน PHP 1

จุดประสงค์

1.
2.
3.
4.

นักศึกษาสามารถใช้ภาษา html เบืองต้นได้
้
นักศึกษาสามารถใช้ syntax php ได้
นักศึกษาสามารถใช้ variable ได้
นักศึกษาสามารถใช้คาสัง่ echo, print ได้

จงสร้างไฟล์นามสกุล php 1 ไฟล์ ซึงเมื่อแสดงบน browser แล้ว แสดง
่
ได้ดง รูปข้างล่าง
ั
ฝึกปฏิบติ
ั
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 37
ั

หน่ วยเรียน

PHP 2
ภาษา PHP

จุดประสงค์

1. นักศึกษาสามารถใช้ตวแปรแบบ string ได้
ั
2. นักศึกษาสามารถใช้ comment
จงสร้างไฟล์นามสกุล php 1 ไฟล์ ซึงเมื่อแสดงบน browser แล้ว แสดง
่
ได้ดง รูปข้างล่าง
ั

ฝึกปฏิบติ
ั

ชื่อหน่ วยเรียน PHP 3
จุดประสงค์
ฝึกปฏิบติ
ั

1. นักศึกษาสามารถใช้ Form ใน HTML ได้
2. นักศึกษาสามารถรับข้อมูลจาก Form และแสดงผลได้
จงสร้างรับข้อมูล ชื่อ นามสกุล และทีอยู่
่
ซึงเมื่อแสดงบน browser แล้ว แสดงได้ดง รูปที่ 1
่
ั
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 38
ั

รูปที่ 1
่
และเมื่อคลิกปุมส่งแล้ว ให้แสดงข้อมูล ชื่อ นามสกุล และทีอยู่ ตามทีได้
่
่
ป้อน เพือเป็ นการยืนยันว่า ที่ server ได้รบข้อมูลดังกล่าวถูกต้อง
่
ั
ครบถ้วนแล้ว
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 39
ั

บทที่ 3
การใช้งานฟอร์มกับ PHP
ฟอร์มทาหน้าทีในการติดต่อสื่อสารหรือโต้ตอบกับผูใช้เว็บไซต์ในลักษณะการรับส่ง
่
้
ข้อมูล เมื่อผูใช้กรอกข้อมูลในฟอร์มและคลิกปุ่มส่งข้อมูล ข้อมูลเหล่านันก็จะถูกส่งไป
้
้
ประมวลผลทีเซิรฟเวอร์ ฟอร์มจะประกอบไปด้วยอ็อบเจ็คต์ต่างๆ ซึ่งแต่ละอ็อบเจ็คต์ก็มี
่ ์
ลักษณะการโต้ตอบกับผู้ใช้แตกต่างกันไป รายละเอียดการทางานแต่ละอ็อบเจ็คต์จะ
กล่าวถึงในลาดับต่อไป นอกจากนันภายในแท็กฟอร์มยังมีพารามิเตอร์ท่เราสามารถ
้
ี
กาหนดค่าเป็ นการระบุให้ส่งค่าไปยังไฟล์สคริปต์บนเซิรฟเวอร์หรือโปรแกรมอื่นๆ เพื่อทา
์
หน้าทีประมวลผลข้อมูลทีถูกส่งมากับฟอร์มได้อกด้วย
่
่
ี

รูปแสดงการทางานของฟอร์ม
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 40
ั

วิ ธีการทางานของฟอร์ม
จากรูปด้านบน แสดงวิธการทางานของฟอร์มดังนี้
ี
่
1) เริมต้นเมื่อผูใช้กรอกแบบฟอร์มบนเว็บเพจและคลิกปุมส่งข้อมูลมาทีเว็บ
่
้
่
เซิรฟเวอร์
์
2) ข้อมูลจากฟอร์มจะถูกประมวลผลทีไฟล์ PHP, ASP หรือไฟล์ CGI อื่นๆบนเว็บ
่
เซิรฟเวอร์
์
3) เมื่อประมวลผลเสร็จแล้ว ผลลัพธ์จะถูกส่งกลับไปให้ผูใช้ในรูปแบบเอกสาร
้
HTML เพือให้เว็บเบราเซอร์แสดงผล
่
การสร้างและใช้งานฟอร์มกับ PHP
ขันตอนการสร้างฟอร์ม:
้
1. เริมต้นทีโปรแกรม Dreamweaver คลิกเมนู File > New จะปรากฏไดอะล็อก
่
่
่
New Document ขึนมา ให้คลิก HTML หลังจากนันคลิกปุม Create บันทึกเป็ นไฟล์
้
้
form.php
2. ทีหน้าจอของเว็บเพจ ให้คลิกเพือวางเคอร์เซอร์ในตาแหน่ งทีตองการสร้างฟอร์ม
่
่
่ ้
หลังจากนันคลิกทีเมนู Insert > Form > Form ฟอร์มจะถูกแทรกลงในเว็บเพจ หากอยูใน
้
่
่
Design View จะเห็นขอบเขตของฟอร์มแสดงเป็ นเส้นประสีแดง (หากไม่มเส้นประสีแสดง
ี
ขึนมา ให้คลิกทีเมนู View > Visual Aids > Invisible Elements)
้
่

รูปแสดงเว็บเพจทีแทรกฟอร์ม
่
รูปแบบของฟอร์ม
<form name = ชื่อฟอร์ม method = วิธการส่งข้อมูล action = ไฟล์ทรบข้อมูล
ี
่ี ั
จากฟอร์ม
</form>
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 41
ั

3. คลิกวางตาแหน่ งเคอร์เซอร์ลงภายในขอบเขตของฟอร์ม หลังจากนันให้คลิก
้
เลือกแท็ก <form> จาก Tag Selector บริเวณขอบล่างซ้ายของเว็บเพจ เมื่อปรากฏ
ไดอะล็อก Properties ช่อง Form Name ให้กาหนดชื่อของฟอร์ม เท่ากับ fmProcess ชื่อ
ของฟอร์มนี้จะถูกใช้เพืออ้างอิงในสคริปต์ PHP
่

รูปแสดง Property ของฟอร์ม
4. ไดอะล็อก Properties ช่อง Action ให้กาหนดชื่อไฟล์ หรือ URL ของสคริปต์ทจะ
่ี
ใช้ในการประมวลผลฟอร์ม เท่ากับ formprocess.php (หากต้องการระบุเป็ น URL ให้
พิมพ์เป็ น http://localhost/person/formprocess.php)
5. ไดอะล็อก Properties ช่อง Method ให้เลือกรูปแบบการส่งข้อมูลจากฟอร์มไปที่
เว็บเซิรฟเวอร์ ซึงมีให้เลือก 3 รูปแบบ คือ
์
่
การทางานของ METHOD:
“ POST ส่งข้อมูลโดยส่งข้อมูลส่งไปกับ HTTP Request
“ GET ส่งข้อมูลโดยการแปะค่าเป็ น URL Parameter (Query String) ไปกับ URL
(ข้อมูลทีสงจะแสดงอยูบนURL ของเว็บเบราเซอร์)
่่
่
“ DEFAULT ส่งข้อมูลโดยขึนอยูกบค่า default ของเว็บเบราเซอร์ โดยปกติจะเป็ น
้ ่ ั
แบบ GET
NOTE: วิธการส่งข้อมูลแบบ GET ไม่ควรใช้กบฟอร์มทีมการส่งข้อมูลจานวนมาก รวมทัง
ี
ั
่ ี
้
ไม่ควรใช้ในการส่งข้อมูลทีเป็ นความลับ เช่น username, password หรือเลขทีบตรเครดิต
่
่ ั
เป็ นต้น เนื่องจากวิธการส่งแบบ GET นี้ ข้อมูลที่เราส่งจะถูกแสดงบน URL เช่น
ี
http://localhost/person/detail.php?emp_id=01020489
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 42
ั

6. ไดอะล็อก Properties ช่อง Enctype ให้ระบุชนิดของการเข้ารหัสข้อมูล โดยค่า
default ของ Enctype จะเป็ น application/x-www-form-urlencode ซึ่งจะถูกใช้ร่วมกับ
method แบบ POST หากใช้ฟอร์มในการอัปโหลดไฟล์ ให้เลือก Enctype เป็ นแบบ
multipart/form-data
7. ไดอะล็อก Properties ช่อง Target ให้พมพ์ช่อหน้าจอของเว็บเบราเซอร์ท่ี
ิ ื
ต้องการแสดงผลลัพธ์ของฟอร์มหรือเลือกจากรายการทีกาหนดไว้ให้ หากเว็บเบราเซอร์ยง
่
ั
ไม่มช่อหน้าจอทีระบุ เว็บเบราเซอร์จะสร้างหน้าจอชื่อทีระบุขนมาใหม่ ตัวเลือกทีกาหนดไว้
ี ื
่
่
้ึ
่
ให้ในช่อง Target
การทางานของ TARGET:
“ _blank ผลลัพธ์ของฟอร์มจะแสดงทีหน้าจอเว็บเบราเซอร์ทสร้างขึนมาใหม่
่
่ี
้
“ _parent ผลลัพธ์ของฟอร์มจะแสดงทีหน้าจอหลัก (parent) ของหน้าจอเว็บเบรา
่
เซอร์ขณะนัน
้
“ _self ผลลัพธ์จะแสดงทีหน้าจอเว็บเบราเซอร์เดียวกับฟอร์ม
่
“ _top ผลลัพธ์ของฟอร์มจะแสดงที่หน้าจอหลัก ในกรณีทหน้าจอเว็บเบราเซอร์
่ี
แบ่งเป็ นหลายเฟรม
่
8. คลิกปุม Code View เพื่อเขียนโค้ด HTML ดังรูปด้านล่าง หลังจากนันบันทึก
้
ไฟล์ form.php
1
2
3
4
5
6
7
8

<html>
<body>
<form action="formprocess.php" method="post" name="fmProcess">
ชื่อ: <input name="firstname" type="text" size="32" maxlength="30">
<br>
นามสกุล: <input name="lastname" type="text" size="32"
maxlength="30">
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 43
ั

9
<br>
10 <input name="btnSubmit" type="submit" value="ตกลง">
11 <input name="btnReset" type="reset" value="ยกเลิก">
12 </form>
13
14 </body>
</html>
รูปแสดงโค้ดไฟล์ form.php
จากรูป ชื่อฟอร์ม (name) กาหนดเป็ น fmProcess , ส่วน action กาหนดเป็ น
formprocess.php หมายถึงหลังจากทีกดปุม Submit แล้วให้เรียกไฟล์ช่อ
่ ่
ื
formprocess.php วิธการส่งฟอร์ม (method) กาหนดเป็ น post
ี
9. เปิ ดโปรแกรม Dreamweaver คลิกเมนู File > New จะปรากฏไดอะล็อก New
่
Document ขึนมา ให้คลิก PHP คลิกปุม Create หลังจากนันให้เพื่อเขียนโค้ด PHP ดังรูป
้
้
ด้านล่าง บันทึกเป็ นไฟล์ formprocess.php
1 <html>
2 <body>
3
4 <?php
5
echo "ชื่อ: " . $_POST['firstname'] . "<br>";
6
echo "นามสกุล: " . $_POST['lastname'] . "<br>";
7 ?>
8
9

</body>
</html>
รูปแสดงโค้ดไฟล์ formprocess.php
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 44
ั

10. ทดสอบการทางานของฟอร์ม โดยเปิ ด Dreamweaver ไปทีหน้าจอไฟล์
่
่
form.php หลังจากนันกดปุม F12 จะปรากฏหน้าจอ Internet Explorer เป็ นแบบฟอร์ม
้
่
กรอกข้อมูล ให้กรอกข้อมูล แล้วคลิกปุม "บันทึก" ให้สงเกตผลลัพธ์การทางานของเว็บ
ั
เพจ

รูปแสดงการทางานของไฟล์ form.php

รูปแสดงการทางานของไฟล์ formprocess.php
11. เปลียน METHOD ของฟอร์มในไฟล์ form.php จาก METHOD="POST"
่
เป็ น METHOD="GET"
12. เปลียนชื่อตัวแปรในไฟล์ formprocess.php จาก $_POST['firstname’] เป็ น
่
$_GET['firstname'] และ $_POST['lastname'] เป็ น $_GET['lastname']
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 45
ั

13. ทดสอบการทางานของฟอร์มใหม่อกครัง ให้สงเกตผลลัพธ์การทางานของเว็บ
ี ้
ั
เพจ
การใช้งานอ็อบเจ็คต์ของฟอร์มชนิ ดต่างๆ
อ็อบเจ็คต์ คือส่วนของฟอร์มทีใช้ในการรับข้อมูลจากผูใช้ ก่อนทีจะแทรกอ็อบเจ็คต์
่
้
่
ลงบนเว็บเพจ ต้องมีการสร้างหรือแทรกฟอร์มลงในเว็บเพจก่อนเสมอ หากมีการแทรกอ็อบ
เจ็คต์ลงในส่วนทีไม่มฟอร์ม Dreamweaver จะถามโดยปรากฏไดอะล็อก ‚Add form
่ ี
tags?‛ ให้เลือก Yes เพื่อให้ Dreamweaver สร้างแท็กฟอร์มสาหรับอ็อบเจ็คต์นน การ
ั้
เรียกใช้ออบเจ็คต์โดยเลือกเมนู Window > Insert > form
็

รูปแสดงฟอร์มและอ็อบเจ็คต์
การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Text Field
อ็อบเจ็คต์ชนิด Text Field จะมีหน้าทีในการรับค่าข้อมูล เพือใช้ในการจัดเก็บข้อมูล
่
่
หรือส่งค่าบางอย่างทีตองการค้นหา เช่น ใช้ในการค้นหาข้อมูล (Search Engine) เป็ นต้น
่ ้
วิธการสร้าง Text Field ทาได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Text Field เสร็จ
ี
แล้วให้กาหนดคุณสมบัตของ Text Field โดยให้คลิกเลือกที่ Text Field ในเว็บเพจ
ิ
หลังจากนันให้ไปทีเมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัตของ Text Field แสดง
้
่
ิ
ในไดอะล็อก Properties
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 46
ั

รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Text Field แบบ Single line

คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Text Field:
“ TextField กาหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Text Field
“ Char Width กาหนดความกว้างของ Text Field
“ Max Chars กาหนดจานวนตัวอักษรสูงสุดทีกรอกข้อมูลได้ของ Text Field
่
“ Type กาหนดชนิดของ Text Field มี 3 ลักษณะ คือ
o Single Line กาหนดให้แสดงเป็ นแบบบรรทัด (Textarea)
o Multi Line กาหนดให้แสดงเป็ นแบบหลายบรรทัด
o Password กาหนดให้แสดงแบบรหัสผ่าน
“ Init Val กาหนดค่าเริมต้น
่

รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Text Field
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 47
ั

จากโปรแกรม
1 <html>
2 <body>
3
4 <form action="formprocess.php" method="post" name="fmProcess">
5
ชื่อ: <input name="firstname" type="text" size="32" maxlength="30">
6
<br>
7
นามสกุล: <input name="lastname" type="text" size="32"
8 maxlength="30">
9
<br>
10 <input name="btnSubmit" type="submit" value="ตกลง">
11 <input name="btnReset" type="reset" value="ยกเลิก">
12 </form>
13
14 </body>
</html>
คาสังทีอยูในฟอร์มคือ
่ ่ ่
<input name = ‚firstname‛ type = ‚text‛ > เป็นการกาหนดช่องรับข้อมูลโดยใช้
text field เมื่อป้อนข้อมูลแล้ว จะเก็บไว้ทตวแปรชือ firstname
่ี ั
่
<input name = ‚lastname‛ type =‛test‛> เป็ นการกาหนดช่องรับข้อมูลโดยใช้
text field เมื่อป้อนข้อมูลแล้ว จะเก็บไว้ทตวแปรชือ lastname
่ี ั
่
การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Textarea
อ็อบเจ็คต์ชนิด Textarea จะมีหน้าทีในการรับค่าข้อมูลทีมขนาดใหญ่ เช่น ทีอยู่
่
่ ี
่
เป็ นต้น
วิธการสร้าง Text Field ทาได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Textarea เสร็จ
ี
แล้วให้กาหนดคุณสมบัตของ Textarea โดยให้คลิกเลือกที่ Textarea ในเว็บเพจ หลังจาก
ิ
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 48
ั

นันให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัตของ Textarea แสดงใน
้
ิ
ไดอะล็อก Properties

รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Textarea
คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Textarea:
“ TextField กาหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Textarea
“ Char Width กาหนดความกว้างของ Textarea
“ Max Chars กาหนดจานวนตัวอักษรสูงสุดทีกรอกข้อมูลได้ของ Textarea
่
“ Type กาหนดชนิดของ Textarea คือ Multi Line
“ Init Val กาหนดค่าเริมต้น
่
รูปแบบ
<textarea name = ชื่อของ textarea>
</textarea>
ตัวอย่าง
1 form action="" method="post" name="fmProcess" id="fmProcess">
2 ชื่อ: <input name="firstname" type="text">
3 <br>
4 นามสกุล: <input name="lastname" type="text">
5 <br>
6 ทีอยู:่ <textarea name="address" cols="60" rows="5"></textarea>
่
7 </form>
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 49
ั

รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Textarea

การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Button
อ็อบเจ็คต์ชนิด Button มักถูกนามาใช้เพื่อทาหน้าที่ในการยืนยันการเพิมข้อมูล
่
แก้ไขข้อมูล การลบข้อมูล หรือยกเลิกการใช้งาน
วิธการสร้าง Button ทาได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Button เสร็จแล้วให้
ี
กาหนดคุณสมบัตของ Button โดยให้คลิกเลือกที่ Button ในเว็บเพจ หลังจากนันให้ไปที่
ิ
้
เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัตของ Button แสดงในไดอะล็อก
ิ
Properties

รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Button
คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Button:
“ Button name กาหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Button
่
“ Label กาหนดข้อความทีจะแสดงบนปุม Button
่
“ Action กาหนดชนิดของ Action มี 3 ลักษณะ คือ
เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 50
ั

o Submit Form กาหนดให้ใช้สาหรับส่งฟอร์มไปประมวลผล
o Reset Form กาหนดให้ใช้สาหรับยกเลิกการกรอกข้อมูลในฟอร์ม
่ ่
o None กาหนดให้เป็ นปุมทีคลิกแล้วไม่ทางานใดๆ
รูปแบบ
่
่
่
<input type ‚Submit‛ name = ชื่อปุม value = ข้อความบนปุม > ปุมประเภทส่งข้อมูล
่
่
่
<input type ‚reset‛ name = ชื่อปุม value = ข้อความบนปุม > ปุมประเภทยกเลิก
่
่
่
<input type ‚button‛ name = ชื่อปุม value = ข้อความบนปุม > ปุมประเภทธรรมดา

1 <form action="" method="post" name="fmProcess" id="fmProcess">
2 <input name="btnSubmit" type="submit" id="btnSubmit"
3 value="บันทึก">
4 <input name="btnReset" type="reset" id="btnReset"
value="ยกเลิก">
</form>

รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Button
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1
Doc1

More Related Content

Viewers also liked (9)

Php dreamwaver
Php dreamwaverPhp dreamwaver
Php dreamwaver
 
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
Course Syllabus การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
 
Php & mysql
Php & mysqlPhp & mysql
Php & mysql
 
Session6
Session6Session6
Session6
 
หลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหาหลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหา
 
Session4
Session4Session4
Session4
 
php5new
php5newphp5new
php5new
 
Dream mx
Dream mxDream mx
Dream mx
 
การสร้างเว็บด้วย Bootstrap framework
การสร้างเว็บด้วย Bootstrap frameworkการสร้างเว็บด้วย Bootstrap framework
การสร้างเว็บด้วย Bootstrap framework
 

Similar to Doc1

คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...Arrat Krupeach
 
Java Programming [10/12]: Java Applet
Java Programming [10/12]: Java AppletJava Programming [10/12]: Java Applet
Java Programming [10/12]: Java AppletIMC Institute
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
Phptraining
PhptrainingPhptraining
Phptrainingphochai
 
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHSOAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHSBoonlert Aroonpiboon
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
Joomla-installation
Joomla-installationJoomla-installation
Joomla-installationSo Pias
 
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่Manop Kongoon
 
เริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHPเริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHPEKNARIN
 
Atomymaxsite25
Atomymaxsite25Atomymaxsite25
Atomymaxsite25Vegas Man
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comKnow Mastikate
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 gotaweesit doh
 

Similar to Doc1 (20)

Appserv
AppservAppserv
Appserv
 
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
 
Greenstone Installation
Greenstone InstallationGreenstone Installation
Greenstone Installation
 
Php
PhpPhp
Php
 
Java Programming [10/12]: Java Applet
Java Programming [10/12]: Java AppletJava Programming [10/12]: Java Applet
Java Programming [10/12]: Java Applet
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Phptraining
PhptrainingPhptraining
Phptraining
 
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHSOAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
OAI-PMH with Drupal + XAMPP Portable + PKP OHS
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
Joomla-installation
Joomla-installationJoomla-installation
Joomla-installation
 
20121102 joomla2-5
20121102 joomla2-520121102 joomla2-5
20121102 joomla2-5
 
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
 
Joomla CMS
Joomla CMSJoomla CMS
Joomla CMS
 
เริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHPเริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHP
 
Atomymaxsite25
Atomymaxsite25Atomymaxsite25
Atomymaxsite25
 
20110303 joomla-appserv-server2go
20110303 joomla-appserv-server2go20110303 joomla-appserv-server2go
20110303 joomla-appserv-server2go
 
Joomla 56 km
Joomla 56 kmJoomla 56 km
Joomla 56 km
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.com
 
20080306 Appserv
20080306 Appserv20080306 Appserv
20080306 Appserv
 
20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go20100806 wordpress-server2 go
20100806 wordpress-server2 go
 

Doc1

  • 1. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 1 ั บทที่ 1 การติดตัง AppServ (PHP แอพพลิเคชันเซิรฟเวอร์) ้ ่ ์ AppServ คือ ชุดติดตังโปรแกรม PHP แอพพลิเคชันเซิรฟเวอร์สาหรับติดตังบน ้ ่ ์ ้ ระบบปฏิบตการ Windows ั ิ ในชุดติดตัง AppServ นี้ ประกอบด้วยโปรแกรมต่างๆ ดังต่อไปนี้ ้  Apache สาหรับทาหน้าทีเป็ นเว็บเซิรฟเวอร์ ่ ์  PHP สาหรับทาหน้าทีเป็ นตัวแปรภาษา PHP ่  MySQL สาหรับทาหน้าทีเป็ นดาต้าเบสเซิรฟเวอร์ ่ ์  phpMyAdmin สาหรับทาหน้าทีเป็ นโปรแกรมบริหารจัดการฐานข้อมูลของ ่ MySQL เนื้อหาในส่วนนี้จะกล่าวถึงวิธการติดตังโปรแกรม AppServ (PHP แอพพลิเคชัน ี ้ ่ เซิรฟเวอร์) ซึงสามารถดาวน์โหลดได้ทเี่ ว็บไซต์ http://www.appservnetwork.com ์ ่ การติ ดตังโปรแกรม AppServ (PHP แอพพลิ เคชั ่นเซิ รฟเวอร์) ้ ์ 1. ดับเบิลคลิกไฟล์ appserv-win32-2.5.10.exe หลังจากนันคลิก ้ รูปที่ 1 ขันตอนการติดตังโปรแกรมAppServ ้ ้
  • 2. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 2 ั 2. เข้าสูขนตอนเงือนไขการใช้งานโปรแกรม โดยโปรแกรม AppServ ได้แจกจ่ายใน ่ ั้ ่ รูปแบบ GNU License หากผูตดตังอ่านเงือนไขต่างๆ เสร็จสินแล้ว หากยอมรับเงือนไขให้ ้ ิ ้ ่ ้ ่ กด Next เพือเข้าสูการติดตังในขันต่อไป แต่หากว่าไม่ยอมรับเงือนไขให้กด Cancel เพือ ่ ่ ้ ้ ่ ่ ่ ออกจากการติดตังโปรแกรม AppServ ดังรูป จะปรากฏหน้าแสดงลิขสิทธิ ์ ให้กดปุม ้ รูปที่ 2 หน้าลิขสิทธิโปรแกรม AppServ ์ 3. เข้าสูขนตอนการเลือกปลายทางทีตองการติดตัง โดยค่าเริมต้นปลายทางทีตดตัง ่ ั้ ่ ้ ้ ่ ่ ิ ้ จะเป็ น C:AppServ หากต้องการเปลี่ยนปลายทางทีตดตัง ให้กด Browse แล้วเลือก ่ ิ ้ ่ ปลายทางทีตองการ ตามรูปที่ 3 เมื่อเลือกปลายทางเสร็จสินให้กดปุม Next เพื่อเข้าสู่ ่ ้ ้ ขันตอนการติดตังขันต่อไป (ค่า default คือ C:AppServ) ้ ้ ้
  • 3. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 3 ั รูปที่ 3 หน้าต่างกาหนดไดเรกทอรี 4. Package เลือก Components ทีตองการติดตัง โดยค่าเริมต้นนันจะให้เลือกลง ่ ้ ้ ่ ้ ทุก Package แต่หากว่าผูใช้งานต้องการเลือกลงเฉพาะบาง Package ก็สามารถเลือกตาม ้ ข้อทีตองการออก โดยรายละเอียดแต่ละ Package มีดงนี้ - Apache HTTP Server คือ ่ ้ ั โปรแกรมทีทาหน้าเป็ น Web Server - MySQL Database คือ โปรแกรมทาหน้าที่เป็ น ่ Database Server - PHP Hypertext Preprocessor คือ โปรแกรมทาหน้าทีประมวลผล ่ การทางานของภาษา PHP - PhpMyAdmin คือ โปรแกรมทีใช้ในการบริหารจัดการ ่ ฐานข้อมูล MySQL ผ่านเว็บไซต์ เมื่อทาการเลือก Package ตามรูปที่ 4 เรียบร้อยแล้ว ให้ กด Next เพือเข้าสูขนตอนการติดตังต่อไป ่ ่ ั้ ้
  • 4. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 4 ั รูปที่ 4 หน้าต่างแสดงองค์ประกอบของโปรแกรม AppServ 5. กาหนดค่าคอนฟิ กของ Apache Web Server มีอยูดวยกันทังหมด 3 ส่วน ตาม ่ ้ ้ รูป คือ - Server Name คือช่องสาหรับป้อนข้อมูลชื่อ Web Server ของท่าน ในทีน้ีใช้ ่ localhost - Admin Email คือช่องสาหรับป้อนข้อมูล อีเมล์ผดูแลระบบ ในที่น้ีใช้ ู้ jirasaklert@yahoo.com - HTTP Port คือช่องสาหรับระบุ Port ทีจะเรียกใช้งาน Apache ่ Web Server โดยทัวไปแล้ว Protocol HTTP นันจะมีค่าหลักคือ 80 หากว่าท่านต้องการ ่ ้ หลีกเลียงการใช้ Port 80 ก็สามารถแก้ไขได้ หากมีการเปลี่ยนแปลง Port การเข้าใช้งาน ่ Web Server แล้ว ทุกครังทีเรียกใช้งานเว็บไซต์จาเป็ นทีตองระบุหมายเลข Port ด้วย เช่น ้ ่ ่ ้ หากเลื อ กใช้ Port 99 ในการเข้ า เว็ บ ไซต์ ทุ ก ครั ง ต้ อ งใช้ ้ ttp://www.appservnetwork.com:99 จึงจะสามารถเข้าใช้งานได้
  • 5. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 5 ั รูปที่ 5 หน้าต่างกาหนดชื่อ Server Server Name : localhost Http Port : 80 6. กาหนดค่าคอนฟิ กของ MySQL Database มีอยูดวยกันทังหมด 3 ส่วน ตามรูป ่ ้ ้ ที่ 6 คือ - Root Password คือช่องสาหรับป้อน รหัสผ่านการเข้าใช้งานฐานข้อมูลของ Root หรือผูดูแลระบบทุกครังทีเข้าใช้งานฐานข้อมูล ในลักษณะที่เป็ นผูดูแลระบบ ให้ระบุ ้ ้ ่ ้ user คือ root - Character Sets ใช้ในการกาหนดค่าระบบภาษาทีใช้ในการจัดเก็บ ่ ฐานข้อมูล, เรียงลาดับฐานข้อมูล,Import ฐานข้อมูล, Export ฐานข้อมูล, ติดต่อฐานข้อมูล ั Old Password หากท่านมีปญหาเกี่ยวกับการใช้งาน PHP กับ MySQL API เวอร์ชนเก่า ั่ โดยเจอ Error Client does not support authentication protocol requested by server; consider upgrading MySQL client ให้เลือกในส่วนของ Old Password เพื่อหลีกเลียง ่ ั ปญหานี้ - Enable InnoDB หากท่านต้องการใช้งานฐานข้อมูลในรูปแบบ InnoDB ให้เลือก ในส่วนนี้ หลังจากนันคลิก ้
  • 6. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 6 ั รูปที่ 6 หน้าต่างกาหนด password สาหรับเข้าใช้งาน Enter root password : root Re-enter root password : root Character sets and Collations : tis620 Thai 7. ชุดติดตังจะทาการติดตังโปรแกรมจนกระทังเสร็จสิน ดังรูป ้ ้ ่ ้
  • 7. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 7 ั รูปที่ 7 หน้าต่างการติดตังโปรแกรม AppServ ้ 8. สินสุดขันตอนการติดตังโปรแกรม AppServ สาหรับขันตอนสุดท้ายนี้จะมีให้ ้ ้ ้ ้ ่ เลือกว่าต้องการสังให้มการรัน Apache และ MySQL ทันทีหรือไม่ จากนันกดปุม ่ ี ้ รูปที่ 8 หน้าต่างแสดงการติดตังทีเสร็จสมบูรณ์ ้ ่
  • 8. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 8 ั 9. ทดสอบการติดตังโดยเปิดเว็บเบราเซอร์ (เช่น Internet Explorer) ไปที่ ้ http://localhost รูปที่ 9 ทดสอบการใช้โปรแกรม การสร้างโฟลเดอร์เพื่อใช้งาน 1. ให้เข้าไปทีโฟลเดอร์ทเราสร้างขึนจากข้อ 1 ในที่น้ีคอ C:AppServ จากนันสังเกต ่ ่ี ้ ื ้ โครงสร้างของโฟลเดอร์น้ี รูปที่ 10 โฟลเดอร์ C:AppServ
  • 9. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 9 ั 2. จะพบโฟลเดอร์ ดังรูปที่ 11 รูปที่ 11 โฟลเดอร์ยอยของ C:/AppServ ่ 3. ให้ดบเบิลคลิกทีโฟลเดอร์ www ซึงเป็ นโฟลเดอร์สาหรับเก็บโปรเจ็กต์ของเรา ดัง ั ้ ่ ่ รูปที่ 12 รูปที่ 12 โฟลเดอร์ยอย www สาหรับเก็บโปรเจ็กต์ ่ 4. ให้สร้างโฟลเดอร์ยอยใน www ชื่อ myweb และมีโฟลเดอร์ยอยชื่อ images เพือ ่ ่ ่ เก็บรูปภาพใน myweb
  • 10. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 10 ั รูปที่ 1.13 โครงสร้างโฟลเดอร์ โปรแกรมแรกของฉัน 1. ให้เปิดโปรแกรมเอดิเตอร์สาหรับการเขียนโปรแกรม จากนันให้พมพ์โปรแกรม ้ ิ ต่อไปนี้ลงไป 2. จากนันทาการบันทึกไฟล์ลงในโฟลเดอร์ทเี่ รากาหนด นันคือ C:AppServperson ้ ้ โดยในทีน้ีบนทึกชื่อ first.php ่ ั 3. ทาการประมวลผลโปรแกรม ให้เปิดบราวเซอร์ขนมา จากนันพิมพ์ URL : ้ึ ้ http://localhost และตามด้วยชื่อโฟลเดอร์และโปรแกรม จะได้เป็ น http://localhost/myweb/first.php เมื่อกด enter จะปรากฏข้อความตามโปรแกรม ดังรูป
  • 11. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 11 ั สรุป ให้นกศึกษาสรุปหลักการทางานของโปรแกรม โดยวาดรูปพร้อมอธิบาย ั ………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………...………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………
  • 12. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 12 ั บทที่ 2 PHP เบืองต้น ้ ในบทนี้จะกล่าวถึงพืนฐาน PHP เพื่อเป็ นพืนฐานในการศึกษาบทต่อ ๆ ไป โดย ้ ้ กล่าวถึง การแทรกคาสังภาษา PHP ในเอกสาร HTML องค์ประกอบพืนฐานของการเขียน ่ ้ โปรแกรม PHP ตัวแปรและชนิดตัวแปร ข้อมูลที่รองรับ PHP การแปลงชนิดข้อมูล ตัว ดาเนินการและนิพจน์ และค่าคงที่ 1. การแทรกคาสัง PHP ลงในเอกสาร HTML ่ สามารถแทรกคาสังภาษา PHP ได้โดยการใช้ PHP tags ซึงมีไว้เพือเป็ นการบ่ง ่ ่ ่ บอกให้รสวนทีเป็ นคาสังของภาษา PHP ทีอยูในเอกสาร HTML การใช้ PHP tags นัน ู้ ่ ่ ่ ่ ่ ้ สามารถทาได้ 4 รูปแบบ ดังต่อไปนี้ แบบที่ ชื่อแบบ รูปแบบ หมายเหตุ 1 XML style <?php หรือแบบ คาสัง; ่ มาตรฐาน ?> 2 SGML หรือ <? Short Tags คาสัง; ่ ?> 3 Script Style <script language=`php’> คาสัง; ่ </script> 4 ASP Style <% แบบทีควรใช้คอ XML style ่ ื คาสัง; ่ เนื่องจากสามารถรันได้กบทุก ั %> Server อีกทังสอดคล้องกับ ้ ไวยากรณ์ของภาษา XML
  • 13. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 13 ั หมายเหตุ สาหรับการใช้แท็กแบบ ASP นัน ก่อนจะใช้งานได้จะต้องมีการปรับแต่งไฟล์ ้ php.ini (อยูในโฟลเดอร์ C:windows) โดยต้องทาการเปลียนค่าในไฟล์ ่ ่ asp_tags = off เปลียนให้เป็ น ่ asp_tags = on ฝึ กปฏิ บติ ให้นกศึกษาพิมพ์โปรแกรมตามตัวอย่างที่ 2.1 ต่อไปนี้ และศึกษาการแทรก ั ั PHP ในเอกสาร HTML <html><head> <title>การใช้ php tag</title> </head><body> XML style <?php echo "แบบมาตรฐาน <br>"; ?> SGML หรือ <? Short Tags echo "แบบสัน <br>"; ้ ?> <script language="php"> Script Style echo "แบบสคริปต์ <br>"; </script> ASP Style <% echo "แบบ asp <br>"; %> </body> </html> สามารถวางคาสังในภาษา PHP ไว้ภายในเอกสาร HTML ตามทีตองการได้ โดยที่ ่ ่ ้ PHP tags อาจจะวางอยูสลับกับ HTML tags ตัวอย่าง ดังนี้ ่
  • 14. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 14 ั ตัวอย่างที่ 2.2 การใช้ PHP tags ร่วมกับ HTML tags 1 <html> 2 <head> 3 <title>My Homepage</title> 4 </head> 5 <body> 6 <h1><?php echo "Hello World!"; ?></h1> 7 </body> 8 </html> 2. องค์ประกอบพืนฐานของการเขียน PHP ้ PHP นันจะใช้โครงสร้างทางภาษาในรูปแบบเดียวกับภาษาซี ดังนันแนวทางในการ ้ ้ เขียนจึงคล้ายคลึงกัน ทังนี้มองค์ประกอบพืนฐานบางส่วนที่ควรรูจก เพื่อจะได้นาไปใช้ ้ ี ้ ้ั ร่วมกับการเขียนโปรแกรมอื่นๆ ต่อไป ดังนี้ 1) เครื่องหมายสิ้ นสุดคาสั ่ง ใน PHP จะใช้เครื่องหมาย ; (Semicolon) เป็ นตัวแสดงจุดสินสุดในแต่ละคาสัง่ เช่น ้ $x = 10; $z = ‚abc‛; หลังใส่เครื่องหมาย ; เพือสินสุดคาสังแล้ว สามารถนาคาสังอื่นมาต่อท้ายได้เลย แต่ ่ ้ ่ ่ การเขียนโค๊ดลักษณะนี้จะอ่านโปรแกรมได้ยาก ดังนันไม่นิยมทากัน เช่น ้ $x = 10; $y = x + 10 : $z = ‚abc‛; 2) คาอธิ บาย (Comment) คาอธิบาย ใช้ในการอธิบายเกียวกับโปรแกรมทีเขียน เพื่อช่วยให้พจารณาโค้ด ่ ่ ิ ได้งายขึน แต่โปรแกรมจะไม่นาส่วนทีเป็ นคาอธิบายไปประมวลผลได้ใน PHP สามารถ ่ ้ ่ เขียนคาอธิบายได้หลายแบบดังนี้
  • 15. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 15 ั - แบบบรรทัดเดียว เริมต้นด้วย // (Slashes) หรือ # จากนันตามด้วยเนื้อหาของ ่ ้ คอมเมนต์ // ข้อความคอมเมนต์ # ข้อความคอมเมนต์ - แบบหลายบรรทัด เริมต้นด้วย /* ตามด้วยเนื้อหาของคอมเมนต์ และจบด้วย */ ่ /* ข้อความคอมเมนต์ บรรทัดที่ 1 ข้อความคอมเมนต์ บรรทัดที่ 2 */ ตัวอย่างที่ 2.4 โปรแกรมตัวอย่างการใช้คาอธิ บาย 1 <html><head> 2 <title> comment </title> 3 </head><body> 4 <?php 5 echo "สวัสดี"; // แสดงข้อความสวัสดี 6 echo "<br>"; # เว้น 1 บรรทัด 7 echo "<b>สวัสดี นักศึกษา IT</b>"; 8 /* 9 การใช้ echo และ print จะสามารถแทรกแท็ก html 10 ผสมลงไปได้ 11 */ 12 ?> 13 </body> </html> 3. การแสดงผลข้อมูลผ่านเว็บบราวเซอร์ การแสดงผลคือ การที่ PHP ส่งผลลัพธ์ของทีเกิดจากการทางานของสคริปต์กลับไปที่ ่ บราวเซอร์ ซึงใน PHP มีหลายคาสังทีสามารถทาเช่นนี้ได้ โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ ่ ่ ่
  • 16. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 16 ั 1) คาสัง print ( ) ่ คาสัง่ print ( ) สามารถใช้แสดงผลลัพธ์ของข้อมูลแล้วส่งผ่านไปแสดงผลยังเว็บ บราวเซอร์ โดยมีรปแบบ ดังนี้ ู int print (string $arg) เมื่อ $arg หมายถึง ตัวแปรข้อมูลนาเข้า (The input data) หากการทางาน ของคาสัง่ print ( ) ถูกต้อง จะมีการส่งค่ากลับเป็น "1" เสมอ หากการทางานไม่ถูกต้องก็จะ ส่งค่ากลับเป็ นค่าอื่นๆ ตัวอย่างที่ 2.5 การใช้งานคาสัง่ print ( ) 1 <?php 2 print ("<p>I love the summertime.</p>"); 3 ?> ตัวอย่างที่ 2.6 การแสดงค่าของตัวแปรผ่านคาสัง่ print ( ) 1 <?php 2 $season = "summertime"; 3 print "<p> I love the $season.</p>"; 4 ?> ตัวอย่างที่ 2.7 การใช้ประโยคพารามิเตอร์อยูคนละบรรทัดผ่านคาสัง่ print ( ) ่ 1 <?php 2 print "<p>I love the 3 summertime.</p>"; 4 ?> จากตัวอย่างทังหมดทีได้แสดงโค๊ดตัวอย่างคาสัง่ ผลลัพธ์ จะแสดง ดังนี้ ้ ่ I love the summertime.
  • 17. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 17 ั รูปแบบได้กาหนดให้ใส่พารามิเตอร์ในวงเล็บของประโยคคาสัง่ print ( ) ด้วยความ ที่ PHP ออกแบบมาให้งายและยืดหยุน ซึ่งจะใส่วงเล็บก็ได้ไม่ใส่กได้ ก็จะสามารถแสดง ่ ่ ็ ผลลัพธ์ได้เหมือนกัน 2) คาสัง echo ( ) ่ คาสัง่ echo ( ) สามารถใช้แสดงผลลัพธ์ของข้อมูลแล้วส่งผ่านไปแสดงผลยังเว็บ บราวเซอร์ เหมือนกับคาสัง่ print ( ) ส่วนความแตกต่างนัน คือ คาสัง่ print ( ) จะมีการ ้ ตรวจสอบข้อผิดพลาดมากกว่าคาสัง่ echo ( ) แต่ไม่มความสาคัญมากนักสามารถใช้งาน ี เหมือนๆ กัน โดยรูปแบบของคาสัง่ echo มีดงนี้ ั รูปแบบ void echo ( string $arg1 [, string $... ] ) เมื่อ $arg1 หมายถึง ตัวแปรข้อมูลนาเข้า (สามารถกาหนดได้หลายตัวแปร) ตัวอย่างที่ 2.8 การใช้คาสัง่ echo ( ) 1 <?php 2 $heavyweight = "Lennox Lewis"; 3 $lightweight = "Floyd May weather"; 4 echo $heavyweight, " and ", $lightweight, " are great fighters."; 5 ?> ผลลัพธ์ Lennox Lewis and Floyd May weather are great fighters. หากเจตนาต้องการแสดงผลลัพธ์ท่มการผสมผสานระหว่างข้อความแบบคงที่และ ี ี ข้อมูลแบบไดนามิกผ่านตัวแปร ขอให้พจารณาใช้ printf ( ) แทนซึ่งมีการแนะนาต่อไป ิ หากเป็ นเพียงข้อความแบบคงทีธรรมดาทัวๆ ไป ก็ขอแนะนาให้ใช้คาสัง่ echo ( ) หรือ ่ ่ print ( ) เพือการทางานก็เพียงพอแล้ว ่
  • 18. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 18 ั 3) คาสัง printf ( ) ่ คาสัง่ printf ( ) ใช้สาหรับแสดงในรูปแบบข้อความ (Formatted String) เหมาะสา หรับการแสดงผลลัพธ์แบบผสมผสานระหว่างข้อความแบบคงทีและข้อมูลแบบไดนามิกที่ ่ เก็บไว้ในตัวแปรหรือหลายๆ ตัวแปร และยังสามารถควบคุมการแสดงผลข้อมูลแบบไดนา มิก เจาะจงการแสดงผลทีหน้าจอมีความเทียงในการจัดตาแหน่ งแต่และตาแหน่ ง มีรูปแบบ ่ ่ การใช้งาน ดังนี้ รูปแบบ int printf ( string $format [, mixed $args [, mixed $... ]] ) เมื่อ $format หมายถึง ตัวกาหนดชนิดการแสดงผล (Type Specifiers) $args หมายถึง ตัวแปรข้อมูลนาเข้า ตัวอย่างที่ 2.9 การใช้คาสัง่ printf ( ) สาหรับแสดงในรูปแบบข้อความ printf ("Bar inventory: %d bottles of tonic water.", 100); ผลลัพธ์ Bar inventory: 100 bottles of tonic water. ในตัวอย่างนี้ %d เป็ น Format สาหรับตัวกาหนดชนิดการแสดงผล ในทีน้ี %d คือ ่ การกาหนดให้แสดงค่าของตัวเลขจานวนเต็ม นอกจากนันยังหมายถึงการระบุตาแหน่งทีจะ ้ ่ ให้แสดงผลลัพธ์ จากตัวอย่าง เมื่อใช้คาสัง่ printf () มีค่าพารามิเตอร์ ทีส่งเข้ามา คือ 100 ่ ค่า 100 จะถูกแทนทีใน %d ระหว่างข้อความ สาหรับกรณีท่ี ตัวเลขทีส่งเข้ามาเป็ นค่า ่ ่ ั ทศนิยม ค่าดังกล่าวก็จะถูกปดเศษให้เป็ นจานวนเต็มทีใกล้เคียงทีสุด เช่น ถ้าส่งค่าเป็ น ่ ่ 100.2 ผลลัพธ์จะแสดงเป็ น 100 สาหรับตัวกาหนดชนิดการแสดงผล มีรายละเอียด ดัง ตารางที่ 2.1 ดังนี้
  • 19. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 19 ั ตารางที่ 2.1 แสดงตัวกาหนดชนิดการแสดงผลทีใช้รวมกับคาสัง่ printf ( ) ่ ่ ตัวกาหนดชนิ ด ความหมาย %b เป็ นชนิดตัวเลข แสดงผลเป็ นเลขไบนารี (a binary number) %c เป็ นชนิดตัวเลข แสดงผลเป็ นตัวอักขระ ASCII %d เป็ นชนิดตัวเลขจานวนเต็มบวกและลบ แสดงผลเป็ นตัว เลขฐานสิบ %f เป็ นชนิดตัวเลขจานวนจริง แสดงผลเป็ นตัวเลขฐานสิบและ ทศนิยม %o เป็ นชนิดตัวเลขจานวนเต็ม แสดงผลเป็ นตัวเลขฐานแปด %s เป็ นชนิดข้อความ แสดงผลเป็ นข้อความ %u เป็ นชนิดตัวเลขจานวนเต็มบวก แสดงผลเป็ นตัวเลขฐานสิบ %x เป็ นชนิดตัวเลข แสดงผลเป็ นเลขฐานสิบหก (อักษรพิมพ์ เล็ก) %X เป็ นชนิดตัวเลข แสดงผลเป็ นเลขฐานสิบหก (อักษรพิมพ์ ใหญ่) ดังนันหากต้องการทีจะส่งผ่านข้อมูล 2 ค่า สามารถทาได้โดยระบุตวกาหนดชนิด 2 ้ ่ ั ตัวเช่นกัน ดังตัวอย่าง ดังนี้ ตัวอย่างที่ 2.10 การใช้คาสัง่ printf ( ) โดยระบุตวกาหนดชนิดมากกว่า 1 ชนิด ั printf ("%d bottles of tonic water cost $%f", 100, 43.20); ผลลัพธ์ 100 bottles of tonic water cost $43.20 หากต้องการกาหนดจานวนของการแสดงผลจานวนเลขทศนิยม สามารถกาหนดได้ โดยระบุตวเลขไว้ก่อนหน้า ตัวกาหนดชนิด ดังนี้ ั
  • 20. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 20 ั ตัวอย่างที่ 2.11 การใช้คาสัง่ printf ( ) เพือการแสดงผลจานวนเลขทศนิยม ่ printf ("$%.2f", 43.2); // ผลลัพธ์ คือ $43.20 4) คาสัง sprintf ( ) ่ ั ั ่ คาสัง่ sprintf ( ) เป็ นฟงก์ชนทีทาหน้าทีเหมือนคาสัง่ printf ( ) แตกต่างก็ตรงที่ ่ ั ั ฟงก์ชน sprintf () ใช้สาหรับส่งค่ากลับเป็ นข้อความหรือสตริงหรือเป็ นการนาสตริงมาต่อให้ เป็ นประโยคเดียวกันแล้วกาหนดค่าให้กบตัวแปร เพื่อประโยชน์การทางานตามเหมาะสม ั ไม่มการแสดงผลออกไปยังเว็บบราวเซอร์ ลักษะการใช้งานเหมือน printf ( ) ดังนันจะใช้ ี ้ ตัวกาหนดชนิด เหมือนกัน ตามตารางที่ 2.1 การใช้งานมีรปแบบ ดังนี้ ู รูปแบบ string sprintf ( string $format [, mixed $args [, mixed $... ]] ) ตัวอย่างที่ 2.12 การใช้คาสัง่ sprintf ( ) สาหรับส่งค่ากลับเป็ นข้อความให้เป็ น ประโยคเดียวกัน $cost = sprintf ("$%.2f", 43.2); // ผลลัพธ์ คือ กาหนดให้ $cost = $43.20 4. ตัวแปร (Variable) ตัวแปร ใช้ในการเก็บพักข้อมูลบางอย่างก่อนทีจะนeข้อมูลนันไปใช้งานอื่นๆ ต่อไป ่ ้ ทีน่าสนใจสาหรับตัวแปรใน PHP ไม่จาเป็ นต้องได้รบการประกาศอย่างชัดเจนเหมือน ่ ั ภาษาอื่นๆ แต่กไม่เป็ นสิงทีดนักหากขาดทักษะการเขียนโปรแกรมทีดี ก็อาจจะทาให้เกิด ็ ่ ่ ี ่ ความสับสนในการใช้งานได้ รายละเอียดทีน่าสนใจเกียวกับตัวแปรมีดงนี้ ่ ่ ั ข้อกาหนดของตัวแปรใน PHP วิธการกาหนดตัวแปรใน PHP จะมีขอกาหนดทีสาคัญดังนี้คอ ี ้ ่ ื 1) ตัวแปรใน PHP ไม่จาเป็ นต้องระบุชนิดของข้อมูล เนื่องจากตัวแปรแต่ละตัว สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ได้
  • 21. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 21 ั 2) ตัวแปรใน PHP จะต้องขึนด้วยสัญลักษณ์เครื่องหมาย $ (Dollar Sign) แล้วตาม ้ ด้วยชื่อของตัวแปรทีตองการใช้งาน เช่น $name, $value, $a, $x เป็ นต้น ่ ้ 3) ตามข้อกาหนดดังเดิมนัน ตัวแปรต้อง ขึนต้น ด้วยอักษร a-z หรือ A-Z หรือ ้ ้ ้ เครื่องหมาย _ เท่านัน ห้ามขึนต้นด้วยตัวเลข 0-9 หรืออักขระอื่นๆ นอกเหนือจากนี้ ้ ้ ตัวอย่างการกาหนดตัวแปรทีถูกต้อง เช่น $name, $_price, $value1, $num2string ่ 4) การเขียนตัวแปรด้วยลักษณะ ตัวพิมพ์ทแตกต่างกัน ถือว่าเป็ นตัวแปรคนละตัว ่ี เช่น $abc, $ABC จะถือว่าไม่ใช่ตวแปรเดียวกัน ั ั ั 5) ในปจจุบน สามารถนาอักขระภาษาอื่นๆ มาตังเป็ นชื่อตัวแปรได้ ซึ่งจากการ ้ ทดสอบของผูเขียนพบว่า สามารถตังชื่อเป็ นภาษาไทยก็ได้ เช่น $ ชื่อ, $จานวน1, $ ้ ้ ผลลัพธ์ เป็ นต้น แต่โดยทัวไปแล้ว นิยมตังชื่อตัวแปรเป็ นภาษาอังกฤษมากกว่า ่ ้ เมื่อได้ประกาศตัวแปรก็สามารถเริมต้นใช้งานได้ทนที แต่ก่อนทีจะนาตัวแปรไปใช้ ่ ั ่ งานได้นน ตัวแปรจะต้องเก็บข้อมูลบางอย่างเอาไว้ หรือเรียกว่าการกาหนดค่าตัวแปร การ ั้ กาหนดค่าตัวแปรแบบง่ายๆ คือ การคัดลอกค่าหรือโอนถ่ายค่าของนิพจน์ หรือสมการ ต่างๆ โดยมีสญลักษณ์ทใช้กาหนดค่า คือ เครื่องหมาย = (เท่ากับ) การกาหนดค่าตัวแปร ั ่ี นัน หลักๆ จะมีอยูดวยกัน 2 วิธี คือ 1) กาหนดค่าตัวแปรปกติ (by value) และ 2) กาหนด ้ ่ ้ ตัวแปรโดยการอ้างอิง (by reference) ดังนี้ การกาหนดค่าตัวแปรปกติ (Value Assignment) การกาหนดค่าตัวแปรรูปแบบนี้ เป็ นการกาหนดค่าตัวแปรแบบง่ายทีสุดและนิยมใช้ ่ งานโดยทัวไป สามารถกาหนดได้หลายลักษณะขึนอยูกบชนิดข้อมูล ดังนี้ ่ ้ ่ ั สาหรับข้อมูลชนิดตัวเลข ก็เขียนเป็ นตัวเลขลงๆ ไปโดยตรงได้เลย ตัวอย่างดังนี้ ตัวอย่างที่ 2.13 การกาหนดค่าตัวแปรปกติ $x = 123; // กาหนดให้ตวแปร $x มีคาเท่ากับ 123 ั ่ $y = 4.56; // กาหนดให้ตวแปร $y มีคาเท่ากับ 4.56 ั ่ $z = -789; // กาหนดให้ตวแปร $z มีคาเท่ากับ -789 ั ่
  • 22. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 22 ั สาหรับข้อมูลชนิดข้อความก็กาหนดตามรูปแบบการเขียนข้อความ นังคือต้องเขียน ่ ไว้ในเครื่องหมาย ‚ ‛ หรือไม่ก็ ‘ ’ เท่านัน ตัวอย่างดังนี้ ้ ตัวอย่างที่ 2.14 การกาหนดค่าตัวแปรชนิดข้อความหรือสตริง $name = ‚ปริญญา‛; // กาหนดให้ตวแปร $name มีคาเท่ากับข้อความ ปริญญา ั ่ $country = ‘Thailand’; // กาหนดให้ตวแปร $country มีคาเท่ากับข้อความ ั ่ Thailand $phone = ‘0123456789’; // กาหนดให้ตวแปร $phone มีค่าเท่ากับข้อความ ั 0123456789 ตัวเลขทีเขียนในแบบข้อความ เช่น ‚123‛ จะถือว่าเป็ น ‚ชนิดข้อความ‛ แต่สามารถ ่ นาไปใช้คานวณได้ตามปกติ ทังนี้การกาหนดข้อความด้วยเครื่องหมาย ‚…‛ และ ‘…’ จะมี ้ ข้อแตกต่างกันบางกรณีซงจะอธิบายเพิมเติมในหัวข้อต่อๆ ไป ่ึ ่ ส่วนกรณีทตวแปรเป็ นชนิดบูลนก็กาหนดค่าเป็ น true หรือ false อย่างใดอย่างหนึ่ง ่ี ั ี ดังนี้ ตัวอย่างที่ 2.15 การกาหนดค่าตัวแปรชนิดบูลน ี $first_time = true ; $is_valid = false ; การใช้งานตัวแปรใน PHP มีความยืดหยุน ไม่จากัดชนิดของตัวแปรเป็ นชนิดใด ่ ชนิดหนึ่ง และยังสามารถสลับปรับเปลียนได้ในทันที มีตวอย่าง ดังนี้ ่ ั ตัวอย่างที่ 2.15 การกาหนดค่าตัวแปรแบบไม่จากัดชนิดของตัวแปร $color = "red"; $number = 12; $age = 12; $sum = 12 + "15"; // ผลลัพธ์ ตัวแปร $sum = 27
  • 23. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 23 ั 5. ชนิ ดข้อมูล (Data Types) ใน PHP มีขอมูลอยูหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็ นข้อมูลชนิดบูลน (Boolean) ตัวเลข ้ ่ ี จานวนเต็ม (Integer) ตัวเลขจานวนจริง (Float) ข้อความหรือสตริง (String) และอาร์เรย์ (Array) เพื่อทาความเข้าใจและสามารถนาไปใช้ร่วมกับการกาหนดตัวแปรในหัวข้อต่อๆ ไป ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ชนิ ดข้อมูล (Data Types) Integer Double String Boolean Object Array ตัวอย่าง 5 3.234 ‚hello‛ true อธิ บาย จานวนเต็ม จานวนจริง กลุมของตัวอักขระ ่ ค่าพิเศษหนึ่งในสองค่าของ true และ false วัตถุทอยูในคลาส ่ี ่ กลุมของข้อมูลทีมลาดับของคีย์ ่ ่ ี ฟั งก์ชนที่เกี่ยวข้องกับชนิ ดข้อมูล (Type-Related Functions) ั ั ั ่ ่ ฟงก์ชนทีเกียวข้องกับชนิดข้อมูล เช่น การตรวจสอบ และการแปลงชนิดข้อมูล มี รายละเอียด ดังนี้ 1) ฟั งก์ชนเรียกดูชนิ ดของข้อมูล (Retrieving Types) ั ั ั่ เราสามารถใช้ฟงก์ชน gettype() ของ PHP เพื่อทดสอบชนิดของข้อมูล โดยตัว ั แปรทีตองการตรวจสอบจะอยูในเครื่องหมายวงเล็บของฟงก์ช ั ่น gettype() ผลลัพธ์ทได้จะ ่ ้ ่ ่ี ส่งค่ากลับมาเป็ นข้อความแสดงชนิดของข้อมูลของตัวแปรทีทาการทดสอบ ่ 1 2 3 4 ั ั ตัวอย่างที่ 2.22 ตัวอย่างการใช้ฟงก์ชน gettype ( ) เรียกดูชนิดของข้อมูล <?php $data = "Mr.Parinya"; echo gettype ($data); // ผลลัพธ์ คือ string ?>
  • 24. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 24 ั 2) ฟั งก์ชนแปลงชนิ ดข้อมูล (Converting Types) ั ั ั ั ั ฟงก์ชน settype ( ) เป็ นฟงก์ชนสาหรับแปลงตัวแปรตามทีระบุ ให้เป็ นชนิดอื่นๆ ่ ตามต้องการ ชนิดของข้อมูลที่สามารถแปลงได้นน มี 7 ชนิด ประกอบด้วย array, ั้ boolean, float, integer, null, object และ string นอกจากนี้ถ้าหากการแปลงชนิดข้อมูล ั ั ประสบความสาเร็จ ฟงก์ชน settype ( ) จะมีการส่งค่ากลับผลลัพธ์จะมีค่าเป็ น TRUE หาก ไม่สาเร็จจะส่งค่ากลับเป็ น FALSE รูปแบบการใช้งาน ดังนี้ รูปแบบ bool settype ( mixed &$var , string $type ) เมื่อ $var หมายถึง ตัวแปรทีตองการแปลงชนิด ่ ้ $type หมายถึง ชนิดทีตองการแปลง มีรายละเอียดดังนี้ ่ ้ "boolean" คือ บูลน ี "integer" คือ เลขจานวนเต็ม "float" คือ เลขจานวนจริง "string" คือ ข้อความ "array" คือ อาร์เรย์ "object" คือ ออบเจ็กต์ "null" คือ ค่าว่างหรือไม่กาหนดชนิดใดๆ ั ั ตัวอย่างที่ 2.23 ตัวอย่างการใช้ฟงก์ชน settype ( ) เพือแปลงหรือกาหนดชนิด ่ ข้อมูล 1 <?php 2 $foo = "5bar"; // เป็ นชนิด string 3 $bar = true; // เป็ นชนิด boolean 4 settype ($foo, "integer"); // ผลลัพธ์ $foo จะมีคาเท่ากับ 5 และเป็ นชนิด integer ่ 5 settype ($bar, "string"); // ผลลัพธ์ $bar จะมีคาเท่ากับ "1" และเป็ นชนิด string ่ 6 ?>
  • 25. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 25 ั 3) ฟั งก์ชนตรวจสอบชนิ ดของข้อมูล (Type Identifier Functions) ั ั ั ฟงก์ชนที่ใช้สาหรับตรวจสอบชนิดของข้อมูล ประกอบด้วย is_array(), is_bool(), is_float() หรือ is_rea (), is_integer () หรือ is_int( ), is_null(), is_numeric(), ั ั is_object ( ), is_resource ( ), is_scalar ( ) และ is_string ( ) ทุกฟงก์ชนจะมีรูปแบบการ ั ั ใช้งานเหมือนกัน ประกอบด้วย ชื่อฟงก์ชนตรวจสอบ และในพารามิเตอร์ให้ใส่ตวแปรที่ ั ต้องการตรวจสอบ หลังจากทีฟงก์ชนทาการตรวจสอบแล้วและมีการส่งค่ากลับเป็ น TRUE ่ ั ั หากค่าของตัวแปรตรงกับชนิดข้อมูลทีตรวจสอบ หากไม่ตรงกับชนิดข้อมูลทีตรวจสอบจะ ่ ่ ส่งค่ากลับเป็ น FALSE มีรปแบบ ดังนี้ ู รูปแบบ boolean is_name (mixed var) // เมื่อกาหนดให้ is_name แทนชื่อฟั งก์ชน ั ตรวจสอบ เมื่อ $var หมายถึง ตัวแปรทีตองการตรวจสอบชนิด ่ ้ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ั ั ตัวอย่างที่ 2.24 ตัวอย่างการใช้ฟงก์ชน is_name ( ) เพือตรวจสอบชนิดของข้อมูล ่ <?php if (is_int (23)) { echo "is integer <br/>"; } else { echo "is not an integer <br/>"; } var_dump (is_int (23)); var_dump (is_int ("23")); var_dump (is_int (23.5)); ?>
  • 26. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 26 ั ผลลัพธ์ is integer bool (true) bool (false) bool (false) การแปลงชนิ ดข้อมูลโดยใช้ตวแปร ั การแปลงค่าของชนิดข้อมูลหนึ่งไปเป็ นชนิดข้อมูลอื่นๆ ได้นน จาเป็ นต้องรูถงชนิด ั้ ้ ึ ของข้อมูลที่จะแปลงไป การแปลงค่าของชนิดข้อมูลสามารถทาได้โดยการวางชนิดที่ ต้องการแปลงไว้ในด้านหน้าของตัวแปรทีจะทาการแปลง สาหรับรายละเอียดของชนิดของ ่ ตัวแปลง แสดงในตารางที่ 2.2 มีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ ตารางที่ 2.2 ตัวดาเนินการแปลงชนิดของข้อมูล (Type Casting Operators) Cast Operators Conversion (array) Array (bool) or (boolean) Boolean (int) or (integer) Integer (int64) 64-bit integer (introduced in PHP 6) (object) Object (real) or (double) or Float (float) String (string) 1 2 3 4 ตัวอย่างที่ 2.25 ตัวอย่างการแปลงชนิดข้อมูล $score = (double) 13; // ผลลัพธ์ทได้คอ $score = 13.0 ่ี ื $score = (int) 14.8; // ผลลัพธ์ คือ $score = 14 $sentence = "This is a sentence"; echo (int) $sentence; // ผลลัพธ์ คือ returns 0
  • 27. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 27 ั 5 6 7 8 9 10 11 $score = 1114; $scoreboard = (array) $score; echo $scoreboard [0]; // ผลลัพธ์ทแสดงออกมา คือ 1114 ่ี $model = "Toyota"; $obj = (object) $model; //ค่าของข้อมูลสามารถอ้างอิงได้ ดังนี้ print $obj -> scalar; // ผลลัพธ์ คือ returns "Toyota" การปรับเปลี่ยนชนิ ดข้อมูลแบบอัตโนมัติ (Adapting Data types with Type Juggling) PHP ถูกออกแบบมาให้มความยืดหยุ่นสูง สามารถปรับเปลี่ยนค่าตัวแปรได้ ี หลากหลายและทันท่วงที แบบอัตโนมัติหรือสามารถปรับเปลี่ยนชนิดของตัวแปรแบบ อัตโนมัติ โดยจะระบบจะทาการพิจารณาความเหมาะสมกับสถานการณ์ทมการอ้างอิงตัว ่ี ี แปร ตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 2.26 การปรับเปลียนชนิดข้อมูลแบบอัตโนมัติ แบบที่ 1 ่ 1 <?php 2 $total = 5; // เป็ นชนิดตัวเลข integer 3 $count = "15"; // เป็ นชนิด string 4 $total += $count; // ผลลัพธ์ของการคานวณ คือ $total = 20 (เป็ นชนิด integer) 5 ?> 1 2 3 4 5 ตัวอย่างที่ 2.27 การปรับเปลียนชนิดข้อมูลแบบอัตโนมัติ แบบที่ 2 ่ <?php $total = "45 fire engines"; $incoming = 10; $total = $incoming + $total; // ผลลัพธ์ คือ $total = 55 ?>
  • 28. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 28 ั 1 2 3 4 5 ตัวอย่างที่ 2.28 การปรับเปลียนชนิดข้อมูลแบบอัตโนมัติ แบบที่ 3 ่ <?php $val1 = "1.2e3"; // 1,200 $val2 = 2; echo $val1 * $val2; // ผลลัพธ์ทแสดงออกมา คือ 2400 ่ี ?> 6. ตัวดาเนิ นการ (Operators) และนิ พจน์ (Expressions) ตัวดาเนินการ เป็ นสัญลักษณ์ทใช้กาหนดรูปแบบการประมวลผลข้อมูล ซึ่งแบ่งได้ ่ี หลายประเภท เช่น ตัวดาเนินการเกี่ยวกับการคานวณทางคณิตศาสตร์ การเปรียบเทียบ และการประมวลผลทางด้านตรรกะ (Logic) เป็ นต้น นิพจน์ คือ การกระทาเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ค่าหนึ่งค่า ประกอบไปด้วยตัวถูกกระทา (Operands) และตัวดาเนินการ (Operators) เขียนเรียงกันไป เช่น 3 * 2 - 1 + 7 หรือ a * 5 เป็ นต้น ลาดับความสาคัญของตัวดาเนิ นการ ลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการนัน มีความสาคัญมากในการเขียนโปรแกรม ้ ซึ่งถ้าจัดลาดับผิด ก็อาจจะทาให้โปรแกรมของเกิดข้อผิดพลาด (bug) ได้ และบางทีจะทา ให้หาจุดผิดพลาดนันๆ ยากด้วย ลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการแต่ละตัวจะมี ้ ความสาคัญแตกต่างกันเป็ นทีแน่ นอนอยูแล้วว่า ลาดับความสาคัญสูงก็จะถูกทาก่อนลาดับ ่ ่ ความสาคัญต่า ตัวอย่าง ดังนี้ ตัวอย่างที่ 2.29 แสดงนิพจน์และตัวดาเนินการ 2 + 4 * 3 จากตัวอย่าง ถ้าลองมาคานวณกันเองแล้ว ก็คงจะได้หลายๆ ค่าแตกต่างกันไป เนื่องจากว่าไม่รู้ว่าจะนาตัวไหนมาคานวณกันก่อนหลัง จากตัวอย่างเครื่องหมายที่มี ความสาคัญสูงคือเครื่องหมาย Multiply (*) หรือคูณนันเอง รองลงมา คือ Addition (+) ่ หรือบวก ซึ่งหมายความว่าจะทาการคานวณ 4 * 3 ก่อน แล้วค่อยนาผลลัพธ์น้ีไปบวก กับ 2 ผลลัพธ์จงมีคาเท่ากับ 14 ึ ่
  • 29. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 29 ั ตัวอย่างที่ 2.30 แสดงนิพจน์และลาดับความสาของตัวดาเนินการ (2 + 4) * 3 หรือ ขึนอยูกบว่าจะให้นิพจน์ใดคานวณก่อน-หลัง การคานวณจะเกิดขึนในวงเล็บ ้ ่ ั ้ ก่อนเสมอ 2 + (4 * 3) พิจารณาตัวอย่าง 1/3*3 จากตัวอย่างเครื่องหมายคูณและหารจะมีลาดับความสาคัญเท่ากัน ในกรณีน้ี การ คานวณจะเกิดขึนจากซ้ายไปขวาเสมอ คือ 1 / 3 ก่อน แล้วจึงนาผลลัพธ์ไปคูณกับ 3 ้ คาตอบ คือ 1 1) ตัวดาเนิ นการสาหรับการกาหนดค่า (Assignment) เป็ น ตัว ด าเนิ น การในการก าหนดค่ า ให้ก ับ ตัว แปรที่อ ยู่ท างด้า นซ้า ยของตัว ดาเนินการ ด้วยค่าทีอยูทางขวาโดยประกอบด้วยตัวดาเนินการดังต่อไปนี้ ่ ่ ตารางที่ 2.4 ตัวดาเนินการสาหรับการกาหนดค่า = กาหนดค่า เช่น $x = 10; += นาค่าทีกาหนดไปบวกเพิมจากค่าเดิมตัวแปร แล้วผลลัพธ์ทได้เก็บไว้ในตัว ่ ่ ่ี แปรเดิม เช่น $x = 10; $x += 8; // $x = 18 -= ลดค่าตัวแปรลงเท่ากับค่าทีระบุ เช่น ่ $x = 10; $x -= 8; // $x = 2
  • 30. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 30 ั ตารางที่ 2.4 (ต่อ) *= /= %= .= คูณค่าเดิมของตัวแปรด้วยค่าทีระบุ เช่น ่ $x = 10; $x *= 8; // $x = 80 หารค่าเดิมของตัวแปรด้วยค่าทีระบุ เช่น ่ $x = 16; $x /= 8; // $x = 2 นาค่าที่ระบุไปหารค่าเดิมของตัวแปร แต่จะเอาเฉพาะเศษจากการหาร เท่านัน หรือเรียกว่าการหารแบบ Modulus เช่น ้ $x = 10; $x %= 3; // $x = 1 ใช้ในการเชื่อมต่อข้อความโดยนาข้อความด้านขวามือไปต่อท้ายข้อความ ด้านซ้ายมือ $x = ‚PHP‛; $x .= ‚/MySQL‛; // $x = ‚PHP/MySQL‛ 2) ตัวดาเนิ นการสาหรับการคานวณ ตัวดาเนินการทีใช้ในการคานวณทางคณิตศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวดาเนินการ ่ ดังต่อไปนี้ ตารางที่ 2.5 ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ ตัวดาเนิ นการ ชื่อ ตัวอย่าง ผลลัพธ์ตวอย่าง ั + การบวก 10+3 13 การลบ 10-3 7 * การคูณ 10*3 30 / การหาร 10/3 3.3333333 % มอดูโล 10*3 1 การหารเอาเศษ
  • 31. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 31 ั 3) ตัวดาเนิ นการสาหรับเชื่อมต่อข้อความ (String Concatenation) สาหรับใน PHP จะใช้เครื่องหมายจุด (.) ในการเชื่อมต่อข้อความ ตัวอย่างตัว ดาเนินการสาหรับเชื่อมต่อข้อความ 1 2 3 4 5 6 7 8 ตัวอย่างที่ 2.31 การใช้เครื่องหมายจุด (.) ในการเชื่อมต่อข้อความ <?php $str = ‚My‛ . ‚SQL‛; // $str = ‚MySQL‛ echo ‚สมชาย‛ . ‚ ‛ . ‚พายเรือ‛; // สมชาย พายเรือ $fname = ‚Parinya‛; $lname = ‚Mai‛; echo ‚My name is‛ . $fname . ‚ ‛ . $lname ; //My name is Parinya Mai echo 1 . 2 . 3 ; //123 ?> 4) ตัวดาเนิ นการสาหรับเพิ่ ม และลดค่า (Increment & Decrement) ประกอบด้วยตัวดาเนินการดังต่อไปนี้ ตารางที่ 2.5 ตัวดาเนินการสาหรับเพิม และลดค่า ่ ++ เป็ นการเพิมตัวแปรขึนไปอีก 1 เช่น ่ ้ -- เป็ นการลดค่าตัวแปรลงอีก 1 เช่น $x = 10; $x = 10; $x++; //$x = 11 $x--; //$x = 9 ข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้ตวดาเนิ นการ ++ และ -ั การวางตัวดาเนินการ ++ หรือ -- ไว้ดานหน้า หรือหลังตัวแปร หากตัวแปรนันอยู่ ้ ้ เดียวๆ ค่าทีได้จะไม่ต่างกัน เช่น กรณีตวอย่างต่อไปนี้ ่ ่ ั
  • 32. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 32 ั ตัวอย่างที่ 2.32 ข้อควรระวังการวางตัวดาเนินการ ++ หรือ -- ไว้ดานหน้า หรือ ้ หลังตัวแปร $x = 10; $y = 10; $x++; // $x = 11 ++$y; // $y = 11 แต่หากนาไปใช้ในรูปแบบของนิพจน์ (Expression) หรือกระทากับค่าอื่นๆ ด้วย ค่าทีได้อาจแตกต่างกันไป เช่น สองกรณีต่อไปนี้ ่ ตัวอย่างที่ 2.33 การเปรียบเทียบรูปแบบของการใช้นิพจน์สองกรณี $x = 10; $x = 10; $y = 20; $y = 20; $y += ++$x; // $x = 11, $y = 31 $y += $x++; // $x = 11, $y = 30 หากกาหนดแบบนี้ y จะมีคาเท่ากับ ่ หากกาหนดแบบนี้ y จะมีคาเท่ากับ ่ (20+1)+10=31 นันคือ จะเพิมค่า x ขึนไป 20+10=30 นันคือ จะนาค่า x เดิมไปบวก ่ ่ ้ ่ อีก 1 ก่อนแล้วค่อยนาไปบวกกับ y กับ y ก่อน แล้วค่อยเพิมค่า x ขึนไปอีก 1 ่ ้ ความจริงหลักการทีกล่าวมานี้ พิจารณาจากลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการ ่ ตามทีจะกล่าวถึงในลาดับต่อไป ่ 5) ตัวดาเนิ นการสาหรับการเปรียบเทียบ (Comparison) ใช้ในการเปรียบเทียบหาค่าความจริงระหว่าง 2 นิพจน์ โดยผลลัพธ์ทได้จะเป็ นได้ ่ี เพียง true หรือ false อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านัน โดยตัวดาเนินการในกลุมนี้ มีดงนี้ ้ ่ ั
  • 33. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 33 ั ตารางที่ 2.6 ตัวดาเนินการสาหรับการเปรียบเทียบ < น้อยกว่า == เท่ากัน <= น้อยกว่า หรือเท่ากับ === เท่ากันทังหมดทังค่า และชนิดข้อมูล ้ ้ > มากกว่า != ไม่เท่ากัน => มากกว่า หรือเท่ากับ ตัวอย่างที่ 2.34 ตัวอย่างผลลักษณะการเปรียบเทียบ กรณีศกษาแบบที่ 1 ึ $a = (10 <= 9); // $a = false เพราะ 10 > 9 $b = (10 == 10); // $b = true $c = (10 == ‚10‛); // $c = true $d = (10 === ‚10‛); // $d = false เพราะ 10 เป็ นตัวเลข ขณะที่ ‚10‛ ถือว่าเป็ นข้อความ $e = (‚php‛ == ‚PHP‛); // $e = false เพราะลักษณะตัวพิมพ์ต่างกัน 6) ตัวดาเนิ นการสาหรับการเปรียบเทียบทางตรรกะ (Bitwise Operators) การเปรียบเทียบทางตรรกะ (Logical) เป็ นการเปรียบเพื่อหาค่าความจริง ระหว่าง 2 นิพจน์ เช่น หากพิสูจน์พจน์แรกเป็ นจริง และนิพจน์ทสองเป็ นเท็จ แล้วผลลัพธ์ ่ี จะออกมาเป็ นอย่างไร เป็ นต้น ซึงตัวดาเนินการในการเปรียบเทียบทางตรรกะมีดงต่อไปนี้ ่ ั
  • 34. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 34 ั ตารางที่ 2.7 ตัวดาเนินการสาหรับการเปรียบเทียบทางตรรกะ ตัวดาเนิ นการ การเปรียบเทียบ ! หรือ not !(true) !(false) && หรือ and true && true true && false false && false || หรือ or true || true true || false false || false ^ หรือ xor true ^ true true ^ false false ^ false ผลลัพธ์ true false true false false true true false false true false ตัวอย่างที่ 2.35 ตัวอย่างผลลักษณะการเปรียบเทียบ กรณีศกษาแบบที่ 2 ึ $a = ! (1 = = 2); //$a = ! (false) => $a = true; $b = (1 != 2) && (1>0); // $b = (true) && (true) => $b = true; $c = (1 = = 2) && (1>0); // $c = (false) && (true) => $c = false; $d = (1 = = 2) || (1>0); // $c = (false) || (true) => $d = true; ลาดับความสาคัญของตัวดาเนิ นการ ลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการก็คอ ลาดับในการประมวลผลก่อนหลัง ซึ่งเป็ น ื สิงทีสาคัญมาก หากวางตาแหน่ ง หรือจัดกลุ่มไม่ถูกต้อง ผลลัพธ์ทได้อาจไม่ตรงตามที่ ่ ่ ่ี ต้องการก็ได้ โดยลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการมีดงนี้ ั 1. ( ) 6. && 2. ++, -- (วางไว้หน้าตัวแปร) 7. || 3. *, /, % 8. =, +=, -=, /=, %= 4. +, 9. ++, -- (วางไว้หลังตัวแปร) 5. ==, !=
  • 35. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 35 ั ตัวอย่างที่ 2.36 ตัวดาเนินการที่มลาดับความสาคัญเท่ากัน ตัวทีมาก่อนจะถูก ี ่ ประมวลผลก่อน $a = 2*100/10; //$a = 20 เพราะ 100/10 = 10 => 2*10 = 20 หรือเท่ากับ 2*(100/10) $b = 100/10%2; //$b = 0 เพราะ 100/10 = 10 => 10%2 เหลือเศษ 0 หรือเท่ากับ (100/10)%2 $c = 100%80*2; //$c = 40 เพราะ 100%80 เหลือเศษ20 => 20*2 = 40 $d = 100/10+30; //$d = 40 ซึงเท่ากับ (100/10)+30 ่ $e = 2*100/10+30; //$e = 50 ซึงเท่ากับ (2*(100/10))+30 ่ ในทางปฏิบตเพือหลีกเลียงข้อผิดพลาดจากลาดับความสาคัญของเครื่องหมาย ควร ั ิ ่ ่ ใช้วงเล็บในการจัดแบ่งกลุมให้ชดเจน ่ ั 7. ตัวแปรค่าคงที่ (Constants) ตัวแปรค่าคงทีในภาษา PHP นันได้กาหนดวิธการประกาศตัวแปรค่าคงที่ โดยผ่าน ่ ้ ี ั ั ฟงก์ชน define ( ) หรือใช้คยเวิรด const (ใช้ได้ตงแต่ PHP 5.3.0) เมื่อตัวแปรค่าคงทีถูก ี ์ ์ ั้ ่ กาหนดแล้ว จะไม่สามารถเปลียนหรือคืนค่าได้อกต่อไป สามารถรับค่าของค่าคงทีได้โดย ่ ี ่ ระบุช่อตัวแปรของค่าคงที่ ซึ่งจะแตกต่างจากการรับค่าตัวแปรทัวไป นันก็คอตัวแปร ื ่ ่ ื ค่าคงทีไม่ต้องใช้เครื่องหมาย $ นาหน้าตัวแปรค่าคงที่ หรือว่าจะรับค่าของค่าคงทีผาน ่ ่ ่ ั ั ฟงก์ชน constant ( ) แต่ถามีช่อตัวแปรค่าคงทีทเปลียนแปลงตลอด นันจะไม่รว่ามีช่อตัว ้ ื ่ ่ี ่ ้ ู้ ื ั ั แปรค่าคงทีใดบ้าง สามารถใช้ฟงก์ชน get_defined_constants ( ) เพื่อรับค่ารายการการ ่ ประกาศค่าคงทีทงหมด ่ ั้ รูปแบบ boolean define ( string $name , mixed $value ) เมื่อ $name หมายถึง ชื่อของตัวแปรทีตองการกาหนดให้เป็ นตัวแปรค่าคงที่ ่ ้ $value หมายถึง ค่าทีตองการกาหนด ่ ้
  • 36. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 36 ั 1 2 3 4 5 6 ตัวอย่างที่ 2.37 การกาหนดตัวแปรค่าคงที่ <?php define ("PI", 3.141592); printf ("The value of pi is %f", PI); // The value of pi is 3.141592 $pi2 = 2 * PI; printf ("Pi doubled equals %f", $pi2); // Pi doubled equals 6.283184 ?> ฝึ กปฏิ บติ ั ชื่อหน่ วยเรียน PHP 1 จุดประสงค์ 1. 2. 3. 4. นักศึกษาสามารถใช้ภาษา html เบืองต้นได้ ้ นักศึกษาสามารถใช้ syntax php ได้ นักศึกษาสามารถใช้ variable ได้ นักศึกษาสามารถใช้คาสัง่ echo, print ได้ จงสร้างไฟล์นามสกุล php 1 ไฟล์ ซึงเมื่อแสดงบน browser แล้ว แสดง ่ ได้ดง รูปข้างล่าง ั ฝึกปฏิบติ ั
  • 37. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 37 ั หน่ วยเรียน PHP 2 ภาษา PHP จุดประสงค์ 1. นักศึกษาสามารถใช้ตวแปรแบบ string ได้ ั 2. นักศึกษาสามารถใช้ comment จงสร้างไฟล์นามสกุล php 1 ไฟล์ ซึงเมื่อแสดงบน browser แล้ว แสดง ่ ได้ดง รูปข้างล่าง ั ฝึกปฏิบติ ั ชื่อหน่ วยเรียน PHP 3 จุดประสงค์ ฝึกปฏิบติ ั 1. นักศึกษาสามารถใช้ Form ใน HTML ได้ 2. นักศึกษาสามารถรับข้อมูลจาก Form และแสดงผลได้ จงสร้างรับข้อมูล ชื่อ นามสกุล และทีอยู่ ่ ซึงเมื่อแสดงบน browser แล้ว แสดงได้ดง รูปที่ 1 ่ ั
  • 38. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 38 ั รูปที่ 1 ่ และเมื่อคลิกปุมส่งแล้ว ให้แสดงข้อมูล ชื่อ นามสกุล และทีอยู่ ตามทีได้ ่ ่ ป้อน เพือเป็ นการยืนยันว่า ที่ server ได้รบข้อมูลดังกล่าวถูกต้อง ่ ั ครบถ้วนแล้ว
  • 39. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 39 ั บทที่ 3 การใช้งานฟอร์มกับ PHP ฟอร์มทาหน้าทีในการติดต่อสื่อสารหรือโต้ตอบกับผูใช้เว็บไซต์ในลักษณะการรับส่ง ่ ้ ข้อมูล เมื่อผูใช้กรอกข้อมูลในฟอร์มและคลิกปุ่มส่งข้อมูล ข้อมูลเหล่านันก็จะถูกส่งไป ้ ้ ประมวลผลทีเซิรฟเวอร์ ฟอร์มจะประกอบไปด้วยอ็อบเจ็คต์ต่างๆ ซึ่งแต่ละอ็อบเจ็คต์ก็มี ่ ์ ลักษณะการโต้ตอบกับผู้ใช้แตกต่างกันไป รายละเอียดการทางานแต่ละอ็อบเจ็คต์จะ กล่าวถึงในลาดับต่อไป นอกจากนันภายในแท็กฟอร์มยังมีพารามิเตอร์ท่เราสามารถ ้ ี กาหนดค่าเป็ นการระบุให้ส่งค่าไปยังไฟล์สคริปต์บนเซิรฟเวอร์หรือโปรแกรมอื่นๆ เพื่อทา ์ หน้าทีประมวลผลข้อมูลทีถูกส่งมากับฟอร์มได้อกด้วย ่ ่ ี รูปแสดงการทางานของฟอร์ม
  • 40. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 40 ั วิ ธีการทางานของฟอร์ม จากรูปด้านบน แสดงวิธการทางานของฟอร์มดังนี้ ี ่ 1) เริมต้นเมื่อผูใช้กรอกแบบฟอร์มบนเว็บเพจและคลิกปุมส่งข้อมูลมาทีเว็บ ่ ้ ่ เซิรฟเวอร์ ์ 2) ข้อมูลจากฟอร์มจะถูกประมวลผลทีไฟล์ PHP, ASP หรือไฟล์ CGI อื่นๆบนเว็บ ่ เซิรฟเวอร์ ์ 3) เมื่อประมวลผลเสร็จแล้ว ผลลัพธ์จะถูกส่งกลับไปให้ผูใช้ในรูปแบบเอกสาร ้ HTML เพือให้เว็บเบราเซอร์แสดงผล ่ การสร้างและใช้งานฟอร์มกับ PHP ขันตอนการสร้างฟอร์ม: ้ 1. เริมต้นทีโปรแกรม Dreamweaver คลิกเมนู File > New จะปรากฏไดอะล็อก ่ ่ ่ New Document ขึนมา ให้คลิก HTML หลังจากนันคลิกปุม Create บันทึกเป็ นไฟล์ ้ ้ form.php 2. ทีหน้าจอของเว็บเพจ ให้คลิกเพือวางเคอร์เซอร์ในตาแหน่ งทีตองการสร้างฟอร์ม ่ ่ ่ ้ หลังจากนันคลิกทีเมนู Insert > Form > Form ฟอร์มจะถูกแทรกลงในเว็บเพจ หากอยูใน ้ ่ ่ Design View จะเห็นขอบเขตของฟอร์มแสดงเป็ นเส้นประสีแดง (หากไม่มเส้นประสีแสดง ี ขึนมา ให้คลิกทีเมนู View > Visual Aids > Invisible Elements) ้ ่ รูปแสดงเว็บเพจทีแทรกฟอร์ม ่ รูปแบบของฟอร์ม <form name = ชื่อฟอร์ม method = วิธการส่งข้อมูล action = ไฟล์ทรบข้อมูล ี ่ี ั จากฟอร์ม </form>
  • 41. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 41 ั 3. คลิกวางตาแหน่ งเคอร์เซอร์ลงภายในขอบเขตของฟอร์ม หลังจากนันให้คลิก ้ เลือกแท็ก <form> จาก Tag Selector บริเวณขอบล่างซ้ายของเว็บเพจ เมื่อปรากฏ ไดอะล็อก Properties ช่อง Form Name ให้กาหนดชื่อของฟอร์ม เท่ากับ fmProcess ชื่อ ของฟอร์มนี้จะถูกใช้เพืออ้างอิงในสคริปต์ PHP ่ รูปแสดง Property ของฟอร์ม 4. ไดอะล็อก Properties ช่อง Action ให้กาหนดชื่อไฟล์ หรือ URL ของสคริปต์ทจะ ่ี ใช้ในการประมวลผลฟอร์ม เท่ากับ formprocess.php (หากต้องการระบุเป็ น URL ให้ พิมพ์เป็ น http://localhost/person/formprocess.php) 5. ไดอะล็อก Properties ช่อง Method ให้เลือกรูปแบบการส่งข้อมูลจากฟอร์มไปที่ เว็บเซิรฟเวอร์ ซึงมีให้เลือก 3 รูปแบบ คือ ์ ่ การทางานของ METHOD: “ POST ส่งข้อมูลโดยส่งข้อมูลส่งไปกับ HTTP Request “ GET ส่งข้อมูลโดยการแปะค่าเป็ น URL Parameter (Query String) ไปกับ URL (ข้อมูลทีสงจะแสดงอยูบนURL ของเว็บเบราเซอร์) ่่ ่ “ DEFAULT ส่งข้อมูลโดยขึนอยูกบค่า default ของเว็บเบราเซอร์ โดยปกติจะเป็ น ้ ่ ั แบบ GET NOTE: วิธการส่งข้อมูลแบบ GET ไม่ควรใช้กบฟอร์มทีมการส่งข้อมูลจานวนมาก รวมทัง ี ั ่ ี ้ ไม่ควรใช้ในการส่งข้อมูลทีเป็ นความลับ เช่น username, password หรือเลขทีบตรเครดิต ่ ่ ั เป็ นต้น เนื่องจากวิธการส่งแบบ GET นี้ ข้อมูลที่เราส่งจะถูกแสดงบน URL เช่น ี http://localhost/person/detail.php?emp_id=01020489
  • 42. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 42 ั 6. ไดอะล็อก Properties ช่อง Enctype ให้ระบุชนิดของการเข้ารหัสข้อมูล โดยค่า default ของ Enctype จะเป็ น application/x-www-form-urlencode ซึ่งจะถูกใช้ร่วมกับ method แบบ POST หากใช้ฟอร์มในการอัปโหลดไฟล์ ให้เลือก Enctype เป็ นแบบ multipart/form-data 7. ไดอะล็อก Properties ช่อง Target ให้พมพ์ช่อหน้าจอของเว็บเบราเซอร์ท่ี ิ ื ต้องการแสดงผลลัพธ์ของฟอร์มหรือเลือกจากรายการทีกาหนดไว้ให้ หากเว็บเบราเซอร์ยง ่ ั ไม่มช่อหน้าจอทีระบุ เว็บเบราเซอร์จะสร้างหน้าจอชื่อทีระบุขนมาใหม่ ตัวเลือกทีกาหนดไว้ ี ื ่ ่ ้ึ ่ ให้ในช่อง Target การทางานของ TARGET: “ _blank ผลลัพธ์ของฟอร์มจะแสดงทีหน้าจอเว็บเบราเซอร์ทสร้างขึนมาใหม่ ่ ่ี ้ “ _parent ผลลัพธ์ของฟอร์มจะแสดงทีหน้าจอหลัก (parent) ของหน้าจอเว็บเบรา ่ เซอร์ขณะนัน ้ “ _self ผลลัพธ์จะแสดงทีหน้าจอเว็บเบราเซอร์เดียวกับฟอร์ม ่ “ _top ผลลัพธ์ของฟอร์มจะแสดงที่หน้าจอหลัก ในกรณีทหน้าจอเว็บเบราเซอร์ ่ี แบ่งเป็ นหลายเฟรม ่ 8. คลิกปุม Code View เพื่อเขียนโค้ด HTML ดังรูปด้านล่าง หลังจากนันบันทึก ้ ไฟล์ form.php 1 2 3 4 5 6 7 8 <html> <body> <form action="formprocess.php" method="post" name="fmProcess"> ชื่อ: <input name="firstname" type="text" size="32" maxlength="30"> <br> นามสกุล: <input name="lastname" type="text" size="32" maxlength="30">
  • 43. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 43 ั 9 <br> 10 <input name="btnSubmit" type="submit" value="ตกลง"> 11 <input name="btnReset" type="reset" value="ยกเลิก"> 12 </form> 13 14 </body> </html> รูปแสดงโค้ดไฟล์ form.php จากรูป ชื่อฟอร์ม (name) กาหนดเป็ น fmProcess , ส่วน action กาหนดเป็ น formprocess.php หมายถึงหลังจากทีกดปุม Submit แล้วให้เรียกไฟล์ช่อ ่ ่ ื formprocess.php วิธการส่งฟอร์ม (method) กาหนดเป็ น post ี 9. เปิ ดโปรแกรม Dreamweaver คลิกเมนู File > New จะปรากฏไดอะล็อก New ่ Document ขึนมา ให้คลิก PHP คลิกปุม Create หลังจากนันให้เพื่อเขียนโค้ด PHP ดังรูป ้ ้ ด้านล่าง บันทึกเป็ นไฟล์ formprocess.php 1 <html> 2 <body> 3 4 <?php 5 echo "ชื่อ: " . $_POST['firstname'] . "<br>"; 6 echo "นามสกุล: " . $_POST['lastname'] . "<br>"; 7 ?> 8 9 </body> </html> รูปแสดงโค้ดไฟล์ formprocess.php
  • 44. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 44 ั 10. ทดสอบการทางานของฟอร์ม โดยเปิ ด Dreamweaver ไปทีหน้าจอไฟล์ ่ ่ form.php หลังจากนันกดปุม F12 จะปรากฏหน้าจอ Internet Explorer เป็ นแบบฟอร์ม ้ ่ กรอกข้อมูล ให้กรอกข้อมูล แล้วคลิกปุม "บันทึก" ให้สงเกตผลลัพธ์การทางานของเว็บ ั เพจ รูปแสดงการทางานของไฟล์ form.php รูปแสดงการทางานของไฟล์ formprocess.php 11. เปลียน METHOD ของฟอร์มในไฟล์ form.php จาก METHOD="POST" ่ เป็ น METHOD="GET" 12. เปลียนชื่อตัวแปรในไฟล์ formprocess.php จาก $_POST['firstname’] เป็ น ่ $_GET['firstname'] และ $_POST['lastname'] เป็ น $_GET['lastname']
  • 45. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 45 ั 13. ทดสอบการทางานของฟอร์มใหม่อกครัง ให้สงเกตผลลัพธ์การทางานของเว็บ ี ้ ั เพจ การใช้งานอ็อบเจ็คต์ของฟอร์มชนิ ดต่างๆ อ็อบเจ็คต์ คือส่วนของฟอร์มทีใช้ในการรับข้อมูลจากผูใช้ ก่อนทีจะแทรกอ็อบเจ็คต์ ่ ้ ่ ลงบนเว็บเพจ ต้องมีการสร้างหรือแทรกฟอร์มลงในเว็บเพจก่อนเสมอ หากมีการแทรกอ็อบ เจ็คต์ลงในส่วนทีไม่มฟอร์ม Dreamweaver จะถามโดยปรากฏไดอะล็อก ‚Add form ่ ี tags?‛ ให้เลือก Yes เพื่อให้ Dreamweaver สร้างแท็กฟอร์มสาหรับอ็อบเจ็คต์นน การ ั้ เรียกใช้ออบเจ็คต์โดยเลือกเมนู Window > Insert > form ็ รูปแสดงฟอร์มและอ็อบเจ็คต์ การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Text Field อ็อบเจ็คต์ชนิด Text Field จะมีหน้าทีในการรับค่าข้อมูล เพือใช้ในการจัดเก็บข้อมูล ่ ่ หรือส่งค่าบางอย่างทีตองการค้นหา เช่น ใช้ในการค้นหาข้อมูล (Search Engine) เป็ นต้น ่ ้ วิธการสร้าง Text Field ทาได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Text Field เสร็จ ี แล้วให้กาหนดคุณสมบัตของ Text Field โดยให้คลิกเลือกที่ Text Field ในเว็บเพจ ิ หลังจากนันให้ไปทีเมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัตของ Text Field แสดง ้ ่ ิ ในไดอะล็อก Properties
  • 46. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 46 ั รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Text Field แบบ Single line คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Text Field: “ TextField กาหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Text Field “ Char Width กาหนดความกว้างของ Text Field “ Max Chars กาหนดจานวนตัวอักษรสูงสุดทีกรอกข้อมูลได้ของ Text Field ่ “ Type กาหนดชนิดของ Text Field มี 3 ลักษณะ คือ o Single Line กาหนดให้แสดงเป็ นแบบบรรทัด (Textarea) o Multi Line กาหนดให้แสดงเป็ นแบบหลายบรรทัด o Password กาหนดให้แสดงแบบรหัสผ่าน “ Init Val กาหนดค่าเริมต้น ่ รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Text Field
  • 47. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 47 ั จากโปรแกรม 1 <html> 2 <body> 3 4 <form action="formprocess.php" method="post" name="fmProcess"> 5 ชื่อ: <input name="firstname" type="text" size="32" maxlength="30"> 6 <br> 7 นามสกุล: <input name="lastname" type="text" size="32" 8 maxlength="30"> 9 <br> 10 <input name="btnSubmit" type="submit" value="ตกลง"> 11 <input name="btnReset" type="reset" value="ยกเลิก"> 12 </form> 13 14 </body> </html> คาสังทีอยูในฟอร์มคือ ่ ่ ่ <input name = ‚firstname‛ type = ‚text‛ > เป็นการกาหนดช่องรับข้อมูลโดยใช้ text field เมื่อป้อนข้อมูลแล้ว จะเก็บไว้ทตวแปรชือ firstname ่ี ั ่ <input name = ‚lastname‛ type =‛test‛> เป็ นการกาหนดช่องรับข้อมูลโดยใช้ text field เมื่อป้อนข้อมูลแล้ว จะเก็บไว้ทตวแปรชือ lastname ่ี ั ่ การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Textarea อ็อบเจ็คต์ชนิด Textarea จะมีหน้าทีในการรับค่าข้อมูลทีมขนาดใหญ่ เช่น ทีอยู่ ่ ่ ี ่ เป็ นต้น วิธการสร้าง Text Field ทาได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Textarea เสร็จ ี แล้วให้กาหนดคุณสมบัตของ Textarea โดยให้คลิกเลือกที่ Textarea ในเว็บเพจ หลังจาก ิ
  • 48. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 48 ั นันให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัตของ Textarea แสดงใน ้ ิ ไดอะล็อก Properties รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Textarea คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Textarea: “ TextField กาหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Textarea “ Char Width กาหนดความกว้างของ Textarea “ Max Chars กาหนดจานวนตัวอักษรสูงสุดทีกรอกข้อมูลได้ของ Textarea ่ “ Type กาหนดชนิดของ Textarea คือ Multi Line “ Init Val กาหนดค่าเริมต้น ่ รูปแบบ <textarea name = ชื่อของ textarea> </textarea> ตัวอย่าง 1 form action="" method="post" name="fmProcess" id="fmProcess"> 2 ชื่อ: <input name="firstname" type="text"> 3 <br> 4 นามสกุล: <input name="lastname" type="text"> 5 <br> 6 ทีอยู:่ <textarea name="address" cols="60" rows="5"></textarea> ่ 7 </form>
  • 49. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 49 ั รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Textarea การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Button อ็อบเจ็คต์ชนิด Button มักถูกนามาใช้เพื่อทาหน้าที่ในการยืนยันการเพิมข้อมูล ่ แก้ไขข้อมูล การลบข้อมูล หรือยกเลิกการใช้งาน วิธการสร้าง Button ทาได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Button เสร็จแล้วให้ ี กาหนดคุณสมบัตของ Button โดยให้คลิกเลือกที่ Button ในเว็บเพจ หลังจากนันให้ไปที่ ิ ้ เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัตของ Button แสดงในไดอะล็อก ิ Properties รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Button คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Button: “ Button name กาหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Button ่ “ Label กาหนดข้อความทีจะแสดงบนปุม Button ่ “ Action กาหนดชนิดของ Action มี 3 ลักษณะ คือ
  • 50. เอกสารฝึ กปฏิบติ การเขียนโปรแกรมบนเว็บ หน้ า 50 ั o Submit Form กาหนดให้ใช้สาหรับส่งฟอร์มไปประมวลผล o Reset Form กาหนดให้ใช้สาหรับยกเลิกการกรอกข้อมูลในฟอร์ม ่ ่ o None กาหนดให้เป็ นปุมทีคลิกแล้วไม่ทางานใดๆ รูปแบบ ่ ่ ่ <input type ‚Submit‛ name = ชื่อปุม value = ข้อความบนปุม > ปุมประเภทส่งข้อมูล ่ ่ ่ <input type ‚reset‛ name = ชื่อปุม value = ข้อความบนปุม > ปุมประเภทยกเลิก ่ ่ ่ <input type ‚button‛ name = ชื่อปุม value = ข้อความบนปุม > ปุมประเภทธรรมดา 1 <form action="" method="post" name="fmProcess" id="fmProcess"> 2 <input name="btnSubmit" type="submit" id="btnSubmit" 3 value="บันทึก"> 4 <input name="btnReset" type="reset" id="btnReset" value="ยกเลิก"> </form> รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Button