SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
หัวข้อ “ธุรกิจโรงเรียนสอนทำอำหำรและกำรจัดกำร”
โครงการฝึกอบรมหลักสูตรด้านอาหารไทยและโรงเรียนสอนทาอาหารไทย (Thai
Food and Cookery School)
วันที่ 26-28 เมษายน 2557
โดย ศูนย์ศึกษาและบริการวิชาการด้านการท่องเที่ยว
ภาควิชาการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1
พัฒนำกำรของโรงเรียนสอนทำอำหำรในจังหวัดเชียงใหม่
• ผู้เข้าสู่ธุรกิจนี้ ส่วนใหญ่มักเริ่มต้นจากการทาธุรกิจนาเที่ยวมาก่อน
• แล้วพบว่า ชาวต่างชาติโดยเฉพาะชาติตะวันตกสนใจอาหารไทย
• หลังจากนั้น จึงเกิดแนวคิดเปิดโรงเรียนสอนทาอาหารไทย
• โรงเรียนสอนทาอาหารแห่งแรกในเชียงใหม่ เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2533
โดยคุณสมพล แนบเนียน
• ปัจจุบันมีโรงเรียนสอนทาอาหารมากกว่า 40 แห่ง
• โรงเรียนขนาดใหญ่ จะรับลูกค้าได้ครั้งละ 20-40 คน มีอยู่เพียงไม่กี่แห่ง
• ส่วนใหญ่เป็นโรงเรียนเล็กๆ เปิดตามบ้านหรือเกสต์เฮาส์ รับแขกได้ครั้งละเพียง
2-5 คน
2
ขั้นตอนกำรทำงำนของโรงเรียนสอนทำอำหำร
• เริ่มจากลูกค้าจองหลักสูตร (course) ที่ต้องการเรียนผ่าน agent หรือทาง
เว็บไซต์ของโรงเรียน
• โรงเรียนจัดรถรับ-ส่ง ลูกค้าที่สานักงานขายของโรงเรียน หรือรับลูกค้าที่
โรงแรม หรือที่อื่นๆ ตามที่ตกลงกับลูกค้า
• พาลูกค้ามาเรียนที่โรงเรียน โดยครูจะสาธิตก่อน หลังจากนั้นให้ลูกค้าลงมือ
ทา เมื่อทาเสร็จลูกค้าจะรับประทานอาหารที่ตัวเองทา
3
กิจกรรมอื่นๆ ในหลักสูตร
บางหลักสูตรจะมีกิจกรรมอื่นๆ นอกจากการเรียนและลงมือทาด้วย เช่น
• บางหลักสูตรจะมีการพาลูกค้าไปชมตลาดช่วงเช้าก่อน และมีการจ่ายตลาด
ซื้อวัตถุดิบในการทาอาหารไปด้วย ซึ่งลูกค้าจะชอบมาก
• บางโรงเรียนมีสวนผักของตัวเอง ก็จะมีกิจกรรมเก็บผักที่เป็นวัตถุดิบในการ
ทาอาหาร ตามแต่รายละเอียดของแต่ละหลักสูตร
4
ช่วงเวลำของกำรเรียน
• ส่วนใหญ่จะแบ่งออกเป็น 2 คาบเรียน คือ ช่วงเช้า และช่วงบ่าย
• ในช่วงเช้า เมื่อทาอาหารเสร็จ ลูกค้าก็จะรับประทานอาหารที่ตัวเองทาเป็น
อาหารกลางวัน
• ในช่วงบ่าย เมื่อทาอาหารเสร็จ ลูกค้าก็จะรับประทานอาหารที่ตัวเองทาเป็น
อาหารว่าง อาหารช่วงบ่ายจึงมักเป็นอาหารว่างหรือของหวาน
• นอกเหนือจากนั้น หากมีกรุ๊ปเหมาต้องการเรียนช่วงเวลาอื่น หรือเรียนรอบ
เย็น โรงเรียนก็อาจจัดให้ได้ตามความประสงค์ของลูกค้า
5
ตัวอย่ำงหลักสูตร (course)
• เริ่มต้นด้วยการแนะนาส่วนผสมต่างๆ เช่น ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด มะนาว
พริกแห้ง กะปิ น้าตาล ฯลฯ ที่ใช้ในการทาอาหาร
• จากนั้นสอนทาอาหารตามที่กาหนดในหลักสูตร เช่น มีอาหารคาว 5 อย่าง
ของหวาน 1 อย่าง เป็นต้น
• ตัวอย่างรายการอาหาร เช่น ต้มยากุ้ง แกงเขียวหวาน ผัดไทย ทอดมันปลา
กราย ลาบไก่ ทับทิมกรอบ เป็นต้น
6
• บางหลักสูตรมีกิจกรรม เริ่มต้นด้วยการชมตลาด ซึ่งแขกจะชอบมาก เป็นการ
พาแขกไปชมส่วนผสม เครื่องปรุง ผักต่างๆ ในตลาดตอนเช้า
• บางหลักสูตรนอกจากชมตลาดแล้ว มีการให้แขกหาซื้อส่วนผสมที่จะต้องใช้
ในการทาอาหารด้วย
• บางหลักสูตรเน้นกิจกรรมการสอนแกะสลักผลไม้ การตกแต่งจาน
• บางโรงเรียนมีกิจกรรมทัศนศึกษาสวนหลังบ้าน ซึ่งปลูกผักที่เป็นส่วนผสมใน
การทาอาหาร
• บางโรงเรียนมีหลักสูตรขั้นสูง (Advance) สาหรับแขกที่ต้องการเรียนรู้อย่าง
ลึกซึ้งมากขึ้น หรือต้องการเรียนเพื่อไปเปิดร้านอาหารไทย
ตัวอย่างหลักสูตร (course) (ต่อ)
7
อำหำรที่เป็ นที่รู้จักในหมู่นักท่องเที่ยว
อาหารที่เป็นที่รู้จักในหมู่นักท่องเที่ยว ได้แก่
• ต้มยากุ้ง
• ผัดไทย
• แกงเขียวหวาน
8
บริกำรอื่นๆ ที่ลูกค้ำจะได้รับ
โรงเรียนสอนทาอาหารส่วนใหญ่มักมีบริการต่างๆ ดังนี้
• มีบริการชา กาแฟ น้าดื่ม ไว้บริการแขกฟรี และมีเครื่องดื่มอื่นๆ จาหน่าย
• มีอุปกรณ์ต่างๆ สาหรับทาอาหาร ซึ่งบางโรงเรียนก็จาหน่ายอุปกรณ์ให้แก่
แขกด้วย หากแขกต้องการซื้อไปใช้หรือซื้อไปเป็นของที่ระลึก
• มีเอกสารหรือคู่มือการทาอาหารให้
9
กลุ่มลูกค้ำ
• แขกที่มาเรียนทาอาหาร ส่วนใหญ่ที่พบจะเป็นชาวออสเตรเลีย นิวซีแลนด์
แคนาดา อเมริกา ฝรั่งเศส จีน เกาหลี มาเลเซีย เป็นต้น
• คาดว่าหากเปิด AEC แล้วแขกชาวมาเลเซียจะมามากขึ้น
• คนไทยที่มาเรียนมีน้อยมากๆ และส่วนใหญ่คนไทยที่มาเรียนก็มักจะมากับ
ชาวต่างประเทศ
10
กำรทำกำรตลำด
• ลูกค้ามักรู้จักโดยผ่านการบอกกันปากต่อปาก
• การประชาสัมพันธ์ผ่านทางแผ่นพับ ใบปลิว ที่ไปวางไว้ตาม agents
• การประชาสัมพันธ์ผ่านทางเว็บไซต์
• บางโรงเรียนทาธุรกิจอื่นร่วมด้วย เช่น เปิด Homestay หรือบริษัททัวร์ ก็จะ
ทาให้เป็นธุรกิจที่ครบวงจรมากขึ้น สามารถแทรกกิจกรรมเรียนทาอาหารเข้า
ไปในรายการทัวร์ หรือใน Homestay ได้ด้วย
11

More Related Content

What's hot

célula- tecido- órgãos e sistemas
célula- tecido- órgãos e sistemascélula- tecido- órgãos e sistemas
célula- tecido- órgãos e sistemasRegina E Franck
 
Platelmintos+Nematodeos+Moluscos+Anelideos
Platelmintos+Nematodeos+Moluscos+AnelideosPlatelmintos+Nematodeos+Moluscos+Anelideos
Platelmintos+Nematodeos+Moluscos+AnelideosVitor Maciel
 
Classificação dos Seres Vivos
Classificação dos Seres VivosClassificação dos Seres Vivos
Classificação dos Seres VivosJuliana Mendes
 
Tecido muscular e nervoso
Tecido muscular e nervosoTecido muscular e nervoso
Tecido muscular e nervosoletyap
 
Introdução a biologia e citologia objetivo
Introdução a biologia e citologia objetivoIntrodução a biologia e citologia objetivo
Introdução a biologia e citologia objetivoMarcos Albuquerque
 
1° bimestre classificação dos seres vivos
1° bimestre   classificação dos seres vivos1° bimestre   classificação dos seres vivos
1° bimestre classificação dos seres vivossanthdalcin
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย Gain Gpk
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
7º ano - Estudo da Célula
7º ano - Estudo da Célula7º ano - Estudo da Célula
7º ano - Estudo da Célulasimbiotica.org
 
7º ano cap 23 mamíferos
7º ano cap 23  mamíferos7º ano cap 23  mamíferos
7º ano cap 23 mamíferosISJ
 
Cnidarios
CnidariosCnidarios
Cnidariosletyap
 

What's hot (20)

célula- tecido- órgãos e sistemas
célula- tecido- órgãos e sistemascélula- tecido- órgãos e sistemas
célula- tecido- órgãos e sistemas
 
Cordados
CordadosCordados
Cordados
 
1EM #2 Evolução
1EM #2 Evolução1EM #2 Evolução
1EM #2 Evolução
 
Platelmintos+Nematodeos+Moluscos+Anelideos
Platelmintos+Nematodeos+Moluscos+AnelideosPlatelmintos+Nematodeos+Moluscos+Anelideos
Platelmintos+Nematodeos+Moluscos+Anelideos
 
Répteis
 Répteis Répteis
Répteis
 
Classificação dos Seres Vivos
Classificação dos Seres VivosClassificação dos Seres Vivos
Classificação dos Seres Vivos
 
Card sorting
Card sorting Card sorting
Card sorting
 
Tecido muscular e nervoso
Tecido muscular e nervosoTecido muscular e nervoso
Tecido muscular e nervoso
 
Introdução a biologia e citologia objetivo
Introdução a biologia e citologia objetivoIntrodução a biologia e citologia objetivo
Introdução a biologia e citologia objetivo
 
1° bimestre classificação dos seres vivos
1° bimestre   classificação dos seres vivos1° bimestre   classificação dos seres vivos
1° bimestre classificação dos seres vivos
 
Bases da ecologia
Bases da ecologiaBases da ecologia
Bases da ecologia
 
Embriologia animal
Embriologia animalEmbriologia animal
Embriologia animal
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
Plano de aula semanal 2 nadja
Plano de aula semanal 2 nadjaPlano de aula semanal 2 nadja
Plano de aula semanal 2 nadja
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
Ecologia para 6º ano
Ecologia para 6º anoEcologia para 6º ano
Ecologia para 6º ano
 
7º ano - Estudo da Célula
7º ano - Estudo da Célula7º ano - Estudo da Célula
7º ano - Estudo da Célula
 
Poriferos
Poriferos Poriferos
Poriferos
 
7º ano cap 23 mamíferos
7º ano cap 23  mamíferos7º ano cap 23  mamíferos
7º ano cap 23 mamíferos
 
Cnidarios
CnidariosCnidarios
Cnidarios
 

Similar to 4 ธุรกิจโรงเรียนสอนทำอาหารและการจัดการ

ประกาศสถานศึกษาพอเพียง 2554
ประกาศสถานศึกษาพอเพียง 2554ประกาศสถานศึกษาพอเพียง 2554
ประกาศสถานศึกษาพอเพียง 2554Pochchara Tiamwong
 
แผนพัฒนาการศึกษา2
แผนพัฒนาการศึกษา2แผนพัฒนาการศึกษา2
แผนพัฒนาการศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
R.P.K.25
R.P.K.25R.P.K.25
R.P.K.25Lha Pan
 
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาโครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษานิรุทธิ์ อุทาทิพย์
 
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบล
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบลโครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบล
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบลblctoday
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามSuppalak Lim
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี Mana Suksa
 

Similar to 4 ธุรกิจโรงเรียนสอนทำอาหารและการจัดการ (9)

ประกาศสถานศึกษาพอเพียง 2554
ประกาศสถานศึกษาพอเพียง 2554ประกาศสถานศึกษาพอเพียง 2554
ประกาศสถานศึกษาพอเพียง 2554
 
แผนพัฒนาการศึกษา2
แผนพัฒนาการศึกษา2แผนพัฒนาการศึกษา2
แผนพัฒนาการศึกษา2
 
R.P.K.25
R.P.K.25R.P.K.25
R.P.K.25
 
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาโครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
 
ประวัติ ดร.ขวัญชัย ขัวนา
ประวัติ ดร.ขวัญชัย  ขัวนาประวัติ ดร.ขวัญชัย  ขัวนา
ประวัติ ดร.ขวัญชัย ขัวนา
 
บทท 7
บทท   7บทท   7
บทท 7
 
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบล
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบลโครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบล
โครงการบรรพชาหมู่สามเณรภาคฤดูร้อน โรงเรียนดีศรีตำบล
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
 

More from Mint NutniCha

8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสาMint NutniCha
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่นMint NutniCha
 
Conference programme
Conference programme Conference programme
Conference programme Mint NutniCha
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการMint NutniCha
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทยMint NutniCha
 
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้าMint NutniCha
 
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุนMint NutniCha
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการMint NutniCha
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสาMint NutniCha
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว Mint NutniCha
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 

More from Mint NutniCha (20)

Draft programme
Draft programmeDraft programme
Draft programme
 
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
 
Conference programme
Conference programme Conference programme
Conference programme
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
 
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
 
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 

4 ธุรกิจโรงเรียนสอนทำอาหารและการจัดการ