SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
เป็นภาษาสาหรับเขียนโปรแกรมที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ(OOP : Object-Oriented Programming)
โปรแกรมที่เขียนขึ้นถูกสร้างภายในคลาส ดังนั้นคลาสคือที่เก็บเมทอด (Method) หรือพฤติกรรม (Behavior) ซึ่งมีสถานะ
(State) และรูปพรรณ(Identity) ประจาพฤติกรรม(Behavior)
ภาษา Java
ข้อดีของภาษาJava
1.ภาษา Java เป็นภาษาที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุแบบสมบูรณ์ ซึ่งเหมาะสาหรับพัฒนาระบบที่มีความซับซ้อน การพัฒนา
โปรแกรมแบบวัตถุจะช่วยให้เราสามารถใช้คาหรือชื่อ ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในระบบงานนั้นมาใช้ในการออกแบบโปรแกรมได้ ทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
2.โปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยใช้ภาษา Java จะมีความสามารถทางานได้ในระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน ไม่จาเป็นต้องดัดแปลงแก้ไข
โปรแกรม เช่น หากเขียนโปรแกรมบนเครื่อง Sun โปรแกรมนั้นก็สามารถถูก compile และ run บนเครื่องพีซีธรรมดาได้
3.ภาษาจาวามีการตรวจสอบข้อผิดพลาดทั้งตอน compile time และ runtime ทาให้ลดข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในโปรแกรม และช่วยให้
debug โปรแกรมได้ง่าย
4.ภาษาจาวามีความซับซ้อนน้อยกว่าภาษา C++ เมื่อเปรียบเทียบ code ของโปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยภาษา Java กับ C++ พบว่า โปรแกรม
ที่เขียนโดยภาษา Java จะมีจานวน code น้อยกว่าโปรแกรมที่เขียนโดยภาษา C++ ทาให้ใช้งานได้ง่ายกว่าและลดความผิดพลาดได้มากขึ้น
5. ภาษาจาวาถูกออกแบบมาให้มีความปลอดภัยสูงตั้งแต่แรก ทาให้โปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วยจาวามีความปลอดภัยมากกว่าโปรแกรมที่เขียน
ขึ้น ด้วยภาษาอื่น เพราะ Java มี security ทั้ง low level และ high level ได้แก่ electronic signature, public andprivate key
management, access control และ certificates
ข้อเสียของภาษา Java
1.ทางานได้ช้ากว่า native code
(โปรแกรมที่ compile ให้อยู่ในรูปของภาษาเครื่อง)หรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วยภาษาอื่น อย่างเช่น C หรือ C++ ทั้งนี้ก็เพราะว่าโปรแกรมที่
เขียนขึ้นด้วยภาษาจาวาจะถูกแปลงเป็นภาษากลาง ก่อน แล้วเมื่อโปรแกรมทางานคาสั่งของภาษากลางนี้จะถูกเปลี่ยนเป็นภาษาเครื่องอีก ทีหนึ่ง
ทีล่ะคาสั่ง (หรือกลุ่มของคาสั่ง) ณ runtime ทาให้ทางานช้ากว่า native code ซึ่งอยู่ในรูปของภาษาเครื่องแล้วตั้งแต่ compile โปรแกรมที่
ต้องการความเร็วในการทางานจึงไม่นิยมเขียนด้วยจาวา
2.tool ที่มีในการใช้พัฒนาโปรแกรมจาวามักไม่ค่อยเก่ง ทาให้หลายอย่างโปรแกรมเมอร์จะต้องเป็นคนทาเอง ทาให้ต้องเสียเวลาทางานในส่วนที่
tool ทาไม่ได้ ถ้าเราดู tool ของ MS จะใช้งานได้ง่ายกว่า และพัฒนาได้เร็วกว่า
ประวัติของภาษา Java
ภาษาจาวา เป็นภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุที่พัฒนาขึ้นโดย “เจมส์ กอสลิง” และทีมวิศวกรของเขา ซึ่งบริษัทซันไมโครซิสเต็ม ต้องการนา
ภาษาจาวามาใช้แทนภาษา C++ ชื่อของ “จาวา” มาจากชื่อกาแฟที่ทีมวิศวกรของซันดื่มตอนที่ร่วมกันพัฒนาภาษาจาวาขึ้นมา Java ถูก
คิดค้นและสร้างโดย บริษัท Sun Microsystems
ค.ศ. 1996 ค.ศ. 1997 ค.ศ. 1998 ค.ศ. 2000ค.ศ. 2002 ค.ศ. 2004
ออกครั้งแรกสุด
ปรับปรุงครั้งใหญ่ โดยเพิ่ม Inner Class
รหัส Playground ด้านจาวาแพลตฟอร ์มได้รับ
การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ใน API และ JVM
รหัส Kestrel แก้ไข
เล็กน้อย
รหัส Merlin เป็ นรุ่นที่ถูกใช้งาน
มากที่สุดในปัจจุบัน
รหัส Tiger (เดิมที
นับเป็ น 1.5) เพิ่ม
คุณสมบัติใหม่ใน
ภาษาจาวา
วิวัฒนาการภาษา Java
การพัฒนาการในช่วงเวลาต่าง ๆ
การพัฒนาการในช่วงเวลาต่าง ๆ
ถูกพัฒนาตั้งแต่ปี 1991 โดยบริษัท Sun Microsystems ซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งของ Green Project
Write Once Run Anywhere
ค.ศ.1991
บริษัท ซันไมโครซิสเต็ม (Sun Microsystems) ได้ทาการวิจัยเพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ใช้ควบคุมอุปกรณ์เล็กทรอนิคส์ขนาดเล็ก ซึ่งได้
ผลลัพธ์ที่สาคัญคือ ภาษา โอ๊ค (Oak)
ค.ศ.1993
ภาษา โอ๊คได้ถูกปรับปรุงใหม่เพื่อใช้ในการสร้างเว็บแอพพลิเคชั่น (Web Application) พร้อมกับสร้างเว็บเบราว์เซอร์ (Web
Browser) ที่รองรับ ชื่อว่าเว็บรันเนอร์ (Web Runner)
ค.ศ.1995
บริษัทซันได้เปิดตัวภาษาจาวา (Java) (ภาษา โอ๊ค เดิม) พร้อมกับเว็บ เบราว์เซอร์ ที่รองรับภาษานี้ชื่อว่า ออต จาวา (HotJava)
(WebRunner เดิม)
ได้รับการสนับสนุนจากบริษัทใหญ่ทั้ง เน็ต สเคบ (Netscape), ไมโครซอฟต์ (Microsoft), และ ไอบีเอ็ม (IBM)
บริษัทซัน ได้เริ่มแจกจ่าย Java development Kit (JDK) ซึ่งเป็นชุดพัฒนาโปรแกรมภาษาจาวาในอินเทอร์เน็ต
ความหมาย
ความหมาย
ภาษาจาวา (Java Language) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท ซันไมโครซิสเต็มส์ เป็น
ภาษาสาหรับเขียนโปรแกรมที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP : Object-Oriented
Programming) โปรแกรมที่เขียนขึ้นถูกสร้างภายในคลาส ดังนั้นคลาสคือที่เก็บเมทอด (Method)
หรือพฤติกรรม (Behavior) ซึ่งมีสถานะ (State) และรูปพรรณ (Identity) ประจาพฤติกรรม
(Behavior)
โปรแกรมเชิงวัตถุ
การโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP = Object-
Oriented Programming)
การเขียนโปรแกรมที่ประกอบด้วยกลุ่มของวัตถุ(Objects)
แต่ละวัตถุจะจัดเป็นกลุ่มในรูปของคลาส ซึ่งแต่ละคลาสอาจมี
คุณสมบัติ การปกป้อง (Encapsulation) การสืบทอด
(Inheritance) การพ้องรูป (Polymorphism)
แนวคิดของการโปรแกรมเชิงวัตถุ
แนวคิดของการโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP Concepts)
1. การปกป้อง (Encapsulation)
– การรวมกลุ่มของข้อมูล และกลุ่มของโปรแกรม เพื่อการปกป้อง และเลือกตอบสนอง
2. การสืบทอด (Inheritance)
– ยอมให้นาไปใช้ หรือเขียนขึ้นมาทดแทนของเดิม
3. การพ้องรูป (Polymorphism) = Many Shapes
– Overloading มีชื่อโปรแกรมเดียวกัน แต่รายการตัวแปร (Parameter List) ต่างกัน
– Overriding มีชื่อโปรแกรม และตัวแปรเหมือนกัน เพื่อเขียน behavior ขึ้นมาใหม่
คุณลักษณะเด่นของภาษา JAVa
คุณลักษณะเด่นของภาษา Java
– ภาษา Java เป็นภาษาที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุแบบ
สมบูรณ์
– โปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยใช้ภาษา Java จะมีความสามารถทางานได้ใน
ระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน ไม่จาเป็นต้องดัดแปลงแก้ไขโปรแกรม เช่น หาก
เขียนโปรแกรมบนเครื่อง Sun โปรแกรมนั้นก็สามารถถูก compile และ
run บนเครื่องพีซีธรรมดาได้
– เมื่อเปรียบเทียบ code ของโปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยภาษา Java กับ
C++ พบว่า โปรแกรมที่เขียนโดยภาษา Java จะมีจานวน code น้อยกว่า
โปรแกรมที่เขียนโดยภาษา C++ ถึง 4 เท่า และใช้เวลาในการเขียนโปรแกรม
น้อยกว่าประมาณ 2 เท่า
– Java มี security ทั้ง low level และ high level ได้แก่
electronic signature, public andprivate key
management, access control และ certificatesของภาษา
จาวา
จุดเด่นของภาษา JAVA
จุดเด่นของภาษาจาวา
– ความง่าย (simple)
– ภาษาเชิงออปเจ็ค (object oriented)
– การกระจาย (distributed)
– การป้อ้องกันการผิดพลาด (robust)
– ความปลอดภัย (secure)
– สถาปัตัตยกรรมกลาง (architecture neutral)
– เคลื่อนย้ายง่าย (portable)
– อินเตอร์พ์พรีต (interpreted)
– ประสิทธิภาพสูง (high performance)
– มัลติเธรด (multithreaded)
– พลวัต (dynamic)
ทำจัดโดย
นาย ภูรินทร ์อินทสร้อย เลขที่ 11
นายปฏิภาณ ฤเดช เลขที่26
ป.ว.ช.1/4

More Related Content

Similar to ภาษาJava

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาPrawwe Papasson
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาVisiene Lssbh
 
คู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Pythonคู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and PythonBongkotporn Jachernram
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Bk Tham
 
Unit 2 Java Programming
Unit 2 Java ProgrammingUnit 2 Java Programming
Unit 2 Java ProgrammingIrinApat
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Taksinfeef
 
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 pom_2555
 
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตา
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตาโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตา
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตาpom_2555
 
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวา
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวาความรู้เบื้องต้นภาษาจาวา
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวาThanachart Numnonda
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5suparada
 
โครงงานพ ฒนาเคร _องม_อ 5
โครงงานพ ฒนาเคร _องม_อ 5โครงงานพ ฒนาเคร _องม_อ 5
โครงงานพ ฒนาเคร _องม_อ 5Yokyok' Nnp
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5suparada
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
รู้จักกับภาษาจาวา
รู้จักกับภาษาจาวารู้จักกับภาษาจาวา
รู้จักกับภาษาจาวาAugkun Kanchanapisitkun
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxssuser07f67b
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์N'Name Phuthiphong
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Dome Pumpong Weeraphan
 

Similar to ภาษาJava (20)

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
 
คู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Pythonคู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Python
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
Unit 2 Java Programming
Unit 2 Java ProgrammingUnit 2 Java Programming
Unit 2 Java Programming
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
แนะนำโปรแกรม Macromedia authorware 7.0
 
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตา
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตาโปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตา
โปรแกรม Macromedia authorware 7.0 พิมผกา ลลิตา
 
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวา
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวาความรู้เบื้องต้นภาษาจาวา
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวา
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพ ฒนาเคร _องม_อ 5
โครงงานพ ฒนาเคร _องม_อ 5โครงงานพ ฒนาเคร _องม_อ 5
โครงงานพ ฒนาเคร _องม_อ 5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
5
55
5
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
รู้จักกับภาษาจาวา
รู้จักกับภาษาจาวารู้จักกับภาษาจาวา
รู้จักกับภาษาจาวา
 
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docxeruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
eruueng_kaarcchadkaarchftaewrain_Windows_7.docx
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 

ภาษาJava

  • 1.
  • 2. เป็นภาษาสาหรับเขียนโปรแกรมที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ(OOP : Object-Oriented Programming) โปรแกรมที่เขียนขึ้นถูกสร้างภายในคลาส ดังนั้นคลาสคือที่เก็บเมทอด (Method) หรือพฤติกรรม (Behavior) ซึ่งมีสถานะ (State) และรูปพรรณ(Identity) ประจาพฤติกรรม(Behavior) ภาษา Java
  • 3. ข้อดีของภาษาJava 1.ภาษา Java เป็นภาษาที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุแบบสมบูรณ์ ซึ่งเหมาะสาหรับพัฒนาระบบที่มีความซับซ้อน การพัฒนา โปรแกรมแบบวัตถุจะช่วยให้เราสามารถใช้คาหรือชื่อ ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในระบบงานนั้นมาใช้ในการออกแบบโปรแกรมได้ ทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น 2.โปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยใช้ภาษา Java จะมีความสามารถทางานได้ในระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน ไม่จาเป็นต้องดัดแปลงแก้ไข โปรแกรม เช่น หากเขียนโปรแกรมบนเครื่อง Sun โปรแกรมนั้นก็สามารถถูก compile และ run บนเครื่องพีซีธรรมดาได้ 3.ภาษาจาวามีการตรวจสอบข้อผิดพลาดทั้งตอน compile time และ runtime ทาให้ลดข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในโปรแกรม และช่วยให้ debug โปรแกรมได้ง่าย 4.ภาษาจาวามีความซับซ้อนน้อยกว่าภาษา C++ เมื่อเปรียบเทียบ code ของโปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยภาษา Java กับ C++ พบว่า โปรแกรม ที่เขียนโดยภาษา Java จะมีจานวน code น้อยกว่าโปรแกรมที่เขียนโดยภาษา C++ ทาให้ใช้งานได้ง่ายกว่าและลดความผิดพลาดได้มากขึ้น 5. ภาษาจาวาถูกออกแบบมาให้มีความปลอดภัยสูงตั้งแต่แรก ทาให้โปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วยจาวามีความปลอดภัยมากกว่าโปรแกรมที่เขียน ขึ้น ด้วยภาษาอื่น เพราะ Java มี security ทั้ง low level และ high level ได้แก่ electronic signature, public andprivate key management, access control และ certificates
  • 4. ข้อเสียของภาษา Java 1.ทางานได้ช้ากว่า native code (โปรแกรมที่ compile ให้อยู่ในรูปของภาษาเครื่อง)หรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วยภาษาอื่น อย่างเช่น C หรือ C++ ทั้งนี้ก็เพราะว่าโปรแกรมที่ เขียนขึ้นด้วยภาษาจาวาจะถูกแปลงเป็นภาษากลาง ก่อน แล้วเมื่อโปรแกรมทางานคาสั่งของภาษากลางนี้จะถูกเปลี่ยนเป็นภาษาเครื่องอีก ทีหนึ่ง ทีล่ะคาสั่ง (หรือกลุ่มของคาสั่ง) ณ runtime ทาให้ทางานช้ากว่า native code ซึ่งอยู่ในรูปของภาษาเครื่องแล้วตั้งแต่ compile โปรแกรมที่ ต้องการความเร็วในการทางานจึงไม่นิยมเขียนด้วยจาวา 2.tool ที่มีในการใช้พัฒนาโปรแกรมจาวามักไม่ค่อยเก่ง ทาให้หลายอย่างโปรแกรมเมอร์จะต้องเป็นคนทาเอง ทาให้ต้องเสียเวลาทางานในส่วนที่ tool ทาไม่ได้ ถ้าเราดู tool ของ MS จะใช้งานได้ง่ายกว่า และพัฒนาได้เร็วกว่า
  • 5. ประวัติของภาษา Java ภาษาจาวา เป็นภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุที่พัฒนาขึ้นโดย “เจมส์ กอสลิง” และทีมวิศวกรของเขา ซึ่งบริษัทซันไมโครซิสเต็ม ต้องการนา ภาษาจาวามาใช้แทนภาษา C++ ชื่อของ “จาวา” มาจากชื่อกาแฟที่ทีมวิศวกรของซันดื่มตอนที่ร่วมกันพัฒนาภาษาจาวาขึ้นมา Java ถูก คิดค้นและสร้างโดย บริษัท Sun Microsystems
  • 6. ค.ศ. 1996 ค.ศ. 1997 ค.ศ. 1998 ค.ศ. 2000ค.ศ. 2002 ค.ศ. 2004 ออกครั้งแรกสุด ปรับปรุงครั้งใหญ่ โดยเพิ่ม Inner Class รหัส Playground ด้านจาวาแพลตฟอร ์มได้รับ การเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ใน API และ JVM รหัส Kestrel แก้ไข เล็กน้อย รหัส Merlin เป็ นรุ่นที่ถูกใช้งาน มากที่สุดในปัจจุบัน รหัส Tiger (เดิมที นับเป็ น 1.5) เพิ่ม คุณสมบัติใหม่ใน ภาษาจาวา วิวัฒนาการภาษา Java
  • 7. การพัฒนาการในช่วงเวลาต่าง ๆ การพัฒนาการในช่วงเวลาต่าง ๆ ถูกพัฒนาตั้งแต่ปี 1991 โดยบริษัท Sun Microsystems ซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งของ Green Project Write Once Run Anywhere ค.ศ.1991 บริษัท ซันไมโครซิสเต็ม (Sun Microsystems) ได้ทาการวิจัยเพื่อพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ใช้ควบคุมอุปกรณ์เล็กทรอนิคส์ขนาดเล็ก ซึ่งได้ ผลลัพธ์ที่สาคัญคือ ภาษา โอ๊ค (Oak) ค.ศ.1993 ภาษา โอ๊คได้ถูกปรับปรุงใหม่เพื่อใช้ในการสร้างเว็บแอพพลิเคชั่น (Web Application) พร้อมกับสร้างเว็บเบราว์เซอร์ (Web Browser) ที่รองรับ ชื่อว่าเว็บรันเนอร์ (Web Runner) ค.ศ.1995 บริษัทซันได้เปิดตัวภาษาจาวา (Java) (ภาษา โอ๊ค เดิม) พร้อมกับเว็บ เบราว์เซอร์ ที่รองรับภาษานี้ชื่อว่า ออต จาวา (HotJava) (WebRunner เดิม) ได้รับการสนับสนุนจากบริษัทใหญ่ทั้ง เน็ต สเคบ (Netscape), ไมโครซอฟต์ (Microsoft), และ ไอบีเอ็ม (IBM) บริษัทซัน ได้เริ่มแจกจ่าย Java development Kit (JDK) ซึ่งเป็นชุดพัฒนาโปรแกรมภาษาจาวาในอินเทอร์เน็ต
  • 8. ความหมาย ความหมาย ภาษาจาวา (Java Language) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท ซันไมโครซิสเต็มส์ เป็น ภาษาสาหรับเขียนโปรแกรมที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP : Object-Oriented Programming) โปรแกรมที่เขียนขึ้นถูกสร้างภายในคลาส ดังนั้นคลาสคือที่เก็บเมทอด (Method) หรือพฤติกรรม (Behavior) ซึ่งมีสถานะ (State) และรูปพรรณ (Identity) ประจาพฤติกรรม (Behavior)
  • 9. โปรแกรมเชิงวัตถุ การโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP = Object- Oriented Programming) การเขียนโปรแกรมที่ประกอบด้วยกลุ่มของวัตถุ(Objects) แต่ละวัตถุจะจัดเป็นกลุ่มในรูปของคลาส ซึ่งแต่ละคลาสอาจมี คุณสมบัติ การปกป้อง (Encapsulation) การสืบทอด (Inheritance) การพ้องรูป (Polymorphism)
  • 10. แนวคิดของการโปรแกรมเชิงวัตถุ แนวคิดของการโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP Concepts) 1. การปกป้อง (Encapsulation) – การรวมกลุ่มของข้อมูล และกลุ่มของโปรแกรม เพื่อการปกป้อง และเลือกตอบสนอง 2. การสืบทอด (Inheritance) – ยอมให้นาไปใช้ หรือเขียนขึ้นมาทดแทนของเดิม 3. การพ้องรูป (Polymorphism) = Many Shapes – Overloading มีชื่อโปรแกรมเดียวกัน แต่รายการตัวแปร (Parameter List) ต่างกัน – Overriding มีชื่อโปรแกรม และตัวแปรเหมือนกัน เพื่อเขียน behavior ขึ้นมาใหม่
  • 11. คุณลักษณะเด่นของภาษา JAVa คุณลักษณะเด่นของภาษา Java – ภาษา Java เป็นภาษาที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุแบบ สมบูรณ์ – โปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยใช้ภาษา Java จะมีความสามารถทางานได้ใน ระบบปฏิบัติการที่แตกต่างกัน ไม่จาเป็นต้องดัดแปลงแก้ไขโปรแกรม เช่น หาก เขียนโปรแกรมบนเครื่อง Sun โปรแกรมนั้นก็สามารถถูก compile และ run บนเครื่องพีซีธรรมดาได้ – เมื่อเปรียบเทียบ code ของโปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยภาษา Java กับ C++ พบว่า โปรแกรมที่เขียนโดยภาษา Java จะมีจานวน code น้อยกว่า โปรแกรมที่เขียนโดยภาษา C++ ถึง 4 เท่า และใช้เวลาในการเขียนโปรแกรม น้อยกว่าประมาณ 2 เท่า – Java มี security ทั้ง low level และ high level ได้แก่ electronic signature, public andprivate key management, access control และ certificatesของภาษา จาวา
  • 12. จุดเด่นของภาษา JAVA จุดเด่นของภาษาจาวา – ความง่าย (simple) – ภาษาเชิงออปเจ็ค (object oriented) – การกระจาย (distributed) – การป้อ้องกันการผิดพลาด (robust) – ความปลอดภัย (secure) – สถาปัตัตยกรรมกลาง (architecture neutral) – เคลื่อนย้ายง่าย (portable) – อินเตอร์พ์พรีต (interpreted) – ประสิทธิภาพสูง (high performance) – มัลติเธรด (multithreaded) – พลวัต (dynamic)
  • 13. ทำจัดโดย นาย ภูรินทร ์อินทสร้อย เลขที่ 11 นายปฏิภาณ ฤเดช เลขที่26 ป.ว.ช.1/4