SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
จัดทาโดย
น.ส.กาญธิมา บุญโกมุด ม.5/2 เลขที่ 13
เสนอ
อาจารย์ สฤษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมจารี
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี มีนามเดิมว่า สนั่น เทพหัสดิน ณ
อยุธยา เกิดที่บ้านหลังศาลเจ้าหัวเม็ด ตาบลสะพานหัน จังหวัด
พระนคร(กรุงเทพมหานคร) เมื่อวันที่ 1 มกราคม พุทธศักราช
2419 ตรงกับวันจันทร์ เดือนยี่ แรม 2 ค่า ปีชวด เป็นบุตรคนที่ 18
จากบุตร - ธิดา จานวนพี่น้อง 32 คน ของพระยาไชยสุรินทร์
(หม่อมหลวง เจียม เทพหัสดิน ณ อยุธยา
• สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอองค์น้อยในพระบาทสมเด็จพระพุทธ
ยอดฟ้ าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 เมื่ออายุได้ 8 ปี บิดาก็ถึงแก่
อนิจกรรม ชีวิตของท่านจึงผกผันจากการเป็นครอบครัวคนชั้นสูง
จากการเป็นบุตรเสนาบดี ฐานะครอบครัวตกต่าลง ต้องมาช่วย
มารดาทาสวน ค้าขายและหารายได้ทางเย็บปักถักร้อย คือ
รับจ้างเย็บรังดุมตั้งแต่ยังเด็ก ความยากลาบากทาให้ท่านมีความ
อดทนไม่ท้อถอยและมีอุปนิสัยอ่อนโยน มัธยัสถ์ ซึ่งเป็นสิ่ง
เกื้อหนุนให้ท่านมีความเจริญรุ่งเรืองในการศึกษาและการทางาน
•
• การสมรส
• เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีได้สมรสกับท่านผู้หญิงถวิล (สา
ลักษณ์)
• และมีภริยาอีก 4 คน โดยมีบุตร – ธิดา รวม 20 คน ได้อบรมสั่ง
สอนให้บุตร – ธิดา ทุกคนให้มีความอดทนและมัธยัสถ์
สนับสนุนให้ทุกคนเรียนถึงชั้นสูงสุดเท่าที่มีความสามารถ และ
ด้วยการมีส่วนผลักดันการศึกษาการช่างและได้สนับสนุนให้มีการ
เปิดสอนวิชาสถาปัตยกรรมขึ้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
•
การศึกษา
• การศึกษา
• พ.ศ. 2431
• เมื่ออายุ 12 ปี เข้าเรียนประโยคหนึ่งที่โรงเรียนบพิตรพิมุข โดยมี
พระมหาหนอหรือขุนอนุกิจวิธูร (น้อย จุลลิธูร) เป็นครูคนแรก
• พ.ศ. 2432
• เรียนจบประโยคสอง จากโรงเรียนพระตาหนักสวนกุหลาบ
• พ.ศ. 2435
• จบประโยคมัธยมศึกษาชั้น 5 ภาษาอังกฤษหลักสูตรหลวงโรงเรียน
ตัวอย่างสุนันทาลัย แล้วเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าให้ตั้ง โดยเป็น
นักเรียนรุ่นแรกเพียง 3 คน สอบประกาศนียบัตรครูรุ่นแรกของกรม
ศึกษาธิการได้อันดับที่ 1 เมื่ออายุ 16 ปี แล้วทาหน้าที่เป็นนักเรียน
สอนในกรมศึกษาธิการพ.ศ. 2439 เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม จึงได้เป็น
นักเรียนทุนหลวงกระทรวงธรรมการไปศึกษาวิชาครูต่อที่ประเทศ
อังกฤษ ณ วิทยาลัยฝึกหัดครูเบอโรโรด
• อุปสมบท
• พ.ศ. 2441
• เมื่อจบการศึกษาและการดูงานได้กลับมาอุปสมบทในบวรพุทธ
ศาสนา 1 พรรษา โดยมีพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว
โปรดเกล้าให้เป็นนาคหลวง อุปสมบท ณ วัดพระศรีรัตนศาสดา
ราม จาพรรษา ณ วัดบวรนิเวศวิหาร มีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า
กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์
• การรับราชการและงานพิเศษ
• พ.ศ. 2437
• เป็นผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์
• พ.ศ. 2442
• กลับเข้ารับราชการกระทรวงธรรมการเมื่อวันที่ 9
มกราคม โดยเป็นครูสอนวิชาครูและคานวณวิธีใน
โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ ก่อนเป็นพนักงานแต่ง
แบบเรียนประจาศาลาว่าการกรมศึกษาธิการ
• พ.ศ. 2443
• ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงไพศาลศิลปศาสตร์” รับ
หน้าที่เป็น ผู้ช่วยหัวหน้ากองตรวจกรมศึกษาธิการและทาหน้าที่
สอนในขณะเดียวกัน
• พ.ศ. 2444
• จัดให้มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างโรงเรียนประเภทอายุไม่เกิน
20 ปี เป็นครั้งแรกที่สนามหลวง โรงเรียนชนะเลิศจะได้รับโล่ไว้
ครอบครองเป็นเวลาหนึ่งปี และจารึกชื่อบนโล่เป็นเกียรติประวัติ
เรียกว่า “การแข่งขันฟุตบอลชิงโล่ของกระทรวงธรรมการ
• พ.ศ. 2445
• เดินทางไปดูงานการศึกษา ณ ประเทศญี่ปุ่น โดยมีผู้ร่วมเดินทาง
ในครั้งนั้นคือ ขุนอนุกิจวิทูร (สันทัด เทพหัสดิน) และพระชานิ
บรรณาคม (อ่อน สาริบุตร) โดยใช้เวลาดูงาน 72 วัน และใน
โอกาสนี้ได้คอยเฝ้ ารับเสด็จนิวัติประเทศสยามของสมเด็จพระ
บรมโอรสาธิราช สยามมกุฏราชกุมาร (พระบาทสมเด็จพระมงกุฏ
เกล้าเจ้าอยู่หัว) ซึ่งสาเร็จการศึกษาจากประเทศอังกฤษแล้ว
• พ.ศ. 2452
• รับพระราชทานเป็นคุณพระไพศาลศิลปศาสตร์ในสมัยรัชกาลที่ 5
• พ.ศ. 2453
• รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้า
เฝ้ าทูลละอองธุลีพระบาท ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เมื่อวันที่
28 ธันวาคม (ร.ศ. 129) เพื่อรับกระแสพระราชดาริเรื่องการวาง
แนวทางการจัดการศึกษาของชาติ และเป็นพระบิดาแห่งวงการ
ฟุตบอลเมืองสยาม เนื่องจากเป็นยุคทองของฟุตบอลสยาม
• พ.ศ. 2454
• รั้งตาแหน่งปลัดทูลฉลอง กระทรวงธรรมการและเป็น “พระยา
ธรรมศักดิ์มนตรี”
• พ.ศ. 2457
• รั้งตาแหน่งผู้บัญชาการโรงเรียนข้าราชการพลเรือนเมื่อวันที่ 15
กรกฎาคม อีกตาแหน่งหนึ่ง
• พ.ศ. 2458
• เป็นองคมนตรี
• พ.ศ. 2459
• ได้เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ได้รับพระราชทานยศเป็น
“จางวางโท” และ “จางวางเอก” ในปีเดียวกัน
• พ.ศ. 2460
• ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เลื่อนจาก “พระยาธรรมศักดิ์มนตรี
สรรพศึกษาวิธียุโรปการ” ขึ้นเป็น “เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีศรี
สาสนวโรปกรสุนทรธรรมจริยานุวาท” วันที่ 31 ธันวาคม เมื่ออายุ
ได้เพียง 41 ปีพ.ศ. 2460
• เป็นผู้ริเริ่มการศึกษาด้านเกษตรกรรม
• พ.ศ. 2461
• เป็นผู้ดาเนินการเพื่อให้ได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติ
โรงเรียนราษฎร์
• พ.ศ. 2464
• รับพระบรมราชโองการทาจดหมายถึงมูลนิธิร็อกกีเฟลเลอร์
ให้มาช่วยปรับปรุงการศึกษาแพทย์ โดยมูลนิธิฯ ส่ง
นายแพทย์ ริชาร์ด เอม เพียร์ส ประธานกรรมการฝ่าย
แพทยศาสตร์ศึกษาเข้ามาดูกิจการของการศึกษาแพทย์ใน
ประเทศสยาม
• การประกาศใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษาฉบับแรกของ
ประเทศ
• พ.ศ. 2468
• ได้เป็นผู้ประพันธ์ “เพลงกราวกีฬา” ในนาม “ครูเทพ” เพื่อจูง
ใจให้นักกีฬารู้จักการแพ้ชนะและรู้จักการให้อภัย
• พ.ศ. 2475
• ได้เป็นผู้แต่งเนื้อร้อง “เพลงชาติ” โดยใช้ทานอง “เพลงมหาฤกษ์
มหาชัย” เพื่อใช้เป็นเพลงประจาชาติชื่อ “เพลงชาติมหาชัย” อยู่
ระยะหนึ่ง
• พ.ศ. 2475
• เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกในระบอบประชาธิปไตย
ระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน 2475 – 1 กันยายน 2475
• พ.ศ. 2477
• ได้แต่งเพลง “คิดถึง” โดยบันทึกเสียงครั้งแรก พ.ศ. 2494 โดยเฉลา
ประสบศาสตร์ ซึ่งเป็นบทเพลงที่มีความไพเราะ
• พ.ศ. 2477
• ก่อตั้งโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย และโรงเรียนฝึกหัดครู
ประถมกสิกรรมแม่โจ้ เชียงใหม่
• บั้นปลายชีวิต
• หลังจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีได้ถวายบังคมลาออกจากราชการในปี
พ.ศ. 2469 มาอยู่ที่บ้านพักตาบลนางเลิ้ง หลานหลวง ถนน
นครสวรรค์ กรุงเทพมหานคร และช่วยบุตรี คือ คุณไฉไล เทพ
หัสดิน ณ อยุธยา บุตรีซึ่งลาออกจากครูโรงเรียนราชินีและ
โรงเรียนวชิราวุธมาจัดตั้งขึ้นที่บ้านหลานหลวง เพื่อมาช่วยสอน
ในโรงเรียนสตรีจุลนาค
• เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ถึงแก่อสัญกรรมด้วย
โรคหัวใจวาย เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 ที่
บ้านพักถนนนครสวรรค์ กรุงเทพมหานคร สิริรวมอายุได้
67 ปี 1 เดือน
เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี

More Related Content

Similar to เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
Teeraporn Pingkaew
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
banlangkhao
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
Ning Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
Ning Rommanee
 
ประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวก
chaichaichaiyoyoyo
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
Ning Rommanee
 

Similar to เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (20)

Aksorn 3
Aksorn 3Aksorn 3
Aksorn 3
 
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราชสมเด็พระนารายณ์มหาราช
สมเด็พระนารายณ์มหาราช
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
Aksorn 2
Aksorn 2Aksorn 2
Aksorn 2
 
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จพระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเด็จ
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
 
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
งานวิชาสังคม
งานวิชาสังคมงานวิชาสังคม
งานวิชาสังคม
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ป.6+602+dltvhisp6+55t2his p06 f18-1page
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ป.6+602+dltvhisp6+55t2his p06 f18-1pageพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ป.6+602+dltvhisp6+55t2his p06 f18-1page
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ป.6+602+dltvhisp6+55t2his p06 f18-1page
 
ประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวกประวัติพุทธสาวก
ประวัติพุทธสาวก
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 

เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี

  • 2. จัดทาโดย น.ส.กาญธิมา บุญโกมุด ม.5/2 เลขที่ 13 เสนอ อาจารย์ สฤษดิ์ศักดิ์ ชิ้นเขมจารี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ร้อยเอ็ด
  • 3. เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี มีนามเดิมว่า สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา เกิดที่บ้านหลังศาลเจ้าหัวเม็ด ตาบลสะพานหัน จังหวัด พระนคร(กรุงเทพมหานคร) เมื่อวันที่ 1 มกราคม พุทธศักราช 2419 ตรงกับวันจันทร์ เดือนยี่ แรม 2 ค่า ปีชวด เป็นบุตรคนที่ 18 จากบุตร - ธิดา จานวนพี่น้อง 32 คน ของพระยาไชยสุรินทร์ (หม่อมหลวง เจียม เทพหัสดิน ณ อยุธยา
  • 4. • สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอองค์น้อยในพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้ าจุฬาโลก รัชกาลที่ 1 เมื่ออายุได้ 8 ปี บิดาก็ถึงแก่ อนิจกรรม ชีวิตของท่านจึงผกผันจากการเป็นครอบครัวคนชั้นสูง จากการเป็นบุตรเสนาบดี ฐานะครอบครัวตกต่าลง ต้องมาช่วย มารดาทาสวน ค้าขายและหารายได้ทางเย็บปักถักร้อย คือ รับจ้างเย็บรังดุมตั้งแต่ยังเด็ก ความยากลาบากทาให้ท่านมีความ อดทนไม่ท้อถอยและมีอุปนิสัยอ่อนโยน มัธยัสถ์ ซึ่งเป็นสิ่ง เกื้อหนุนให้ท่านมีความเจริญรุ่งเรืองในการศึกษาและการทางาน •
  • 5. • การสมรส • เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีได้สมรสกับท่านผู้หญิงถวิล (สา ลักษณ์) • และมีภริยาอีก 4 คน โดยมีบุตร – ธิดา รวม 20 คน ได้อบรมสั่ง สอนให้บุตร – ธิดา ทุกคนให้มีความอดทนและมัธยัสถ์ สนับสนุนให้ทุกคนเรียนถึงชั้นสูงสุดเท่าที่มีความสามารถ และ ด้วยการมีส่วนผลักดันการศึกษาการช่างและได้สนับสนุนให้มีการ เปิดสอนวิชาสถาปัตยกรรมขึ้นที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย •
  • 7. • การศึกษา • พ.ศ. 2431 • เมื่ออายุ 12 ปี เข้าเรียนประโยคหนึ่งที่โรงเรียนบพิตรพิมุข โดยมี พระมหาหนอหรือขุนอนุกิจวิธูร (น้อย จุลลิธูร) เป็นครูคนแรก • พ.ศ. 2432 • เรียนจบประโยคสอง จากโรงเรียนพระตาหนักสวนกุหลาบ
  • 8. • พ.ศ. 2435 • จบประโยคมัธยมศึกษาชั้น 5 ภาษาอังกฤษหลักสูตรหลวงโรงเรียน ตัวอย่างสุนันทาลัย แล้วเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าให้ตั้ง โดยเป็น นักเรียนรุ่นแรกเพียง 3 คน สอบประกาศนียบัตรครูรุ่นแรกของกรม ศึกษาธิการได้อันดับที่ 1 เมื่ออายุ 16 ปี แล้วทาหน้าที่เป็นนักเรียน สอนในกรมศึกษาธิการพ.ศ. 2439 เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม จึงได้เป็น นักเรียนทุนหลวงกระทรวงธรรมการไปศึกษาวิชาครูต่อที่ประเทศ อังกฤษ ณ วิทยาลัยฝึกหัดครูเบอโรโรด
  • 9. • อุปสมบท • พ.ศ. 2441 • เมื่อจบการศึกษาและการดูงานได้กลับมาอุปสมบทในบวรพุทธ ศาสนา 1 พรรษา โดยมีพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าให้เป็นนาคหลวง อุปสมบท ณ วัดพระศรีรัตนศาสดา ราม จาพรรษา ณ วัดบวรนิเวศวิหาร มีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์
  • 10. • การรับราชการและงานพิเศษ • พ.ศ. 2437 • เป็นผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ • พ.ศ. 2442 • กลับเข้ารับราชการกระทรวงธรรมการเมื่อวันที่ 9 มกราคม โดยเป็นครูสอนวิชาครูและคานวณวิธีใน โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ ก่อนเป็นพนักงานแต่ง แบบเรียนประจาศาลาว่าการกรมศึกษาธิการ
  • 11. • พ.ศ. 2443 • ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “หลวงไพศาลศิลปศาสตร์” รับ หน้าที่เป็น ผู้ช่วยหัวหน้ากองตรวจกรมศึกษาธิการและทาหน้าที่ สอนในขณะเดียวกัน • พ.ศ. 2444 • จัดให้มีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างโรงเรียนประเภทอายุไม่เกิน 20 ปี เป็นครั้งแรกที่สนามหลวง โรงเรียนชนะเลิศจะได้รับโล่ไว้ ครอบครองเป็นเวลาหนึ่งปี และจารึกชื่อบนโล่เป็นเกียรติประวัติ เรียกว่า “การแข่งขันฟุตบอลชิงโล่ของกระทรวงธรรมการ
  • 12. • พ.ศ. 2445 • เดินทางไปดูงานการศึกษา ณ ประเทศญี่ปุ่น โดยมีผู้ร่วมเดินทาง ในครั้งนั้นคือ ขุนอนุกิจวิทูร (สันทัด เทพหัสดิน) และพระชานิ บรรณาคม (อ่อน สาริบุตร) โดยใช้เวลาดูงาน 72 วัน และใน โอกาสนี้ได้คอยเฝ้ ารับเสด็จนิวัติประเทศสยามของสมเด็จพระ บรมโอรสาธิราช สยามมกุฏราชกุมาร (พระบาทสมเด็จพระมงกุฏ เกล้าเจ้าอยู่หัว) ซึ่งสาเร็จการศึกษาจากประเทศอังกฤษแล้ว
  • 13. • พ.ศ. 2452 • รับพระราชทานเป็นคุณพระไพศาลศิลปศาสตร์ในสมัยรัชกาลที่ 5 • พ.ศ. 2453 • รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้า เฝ้ าทูลละอองธุลีพระบาท ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม (ร.ศ. 129) เพื่อรับกระแสพระราชดาริเรื่องการวาง แนวทางการจัดการศึกษาของชาติ และเป็นพระบิดาแห่งวงการ ฟุตบอลเมืองสยาม เนื่องจากเป็นยุคทองของฟุตบอลสยาม
  • 14. • พ.ศ. 2454 • รั้งตาแหน่งปลัดทูลฉลอง กระทรวงธรรมการและเป็น “พระยา ธรรมศักดิ์มนตรี” • พ.ศ. 2457 • รั้งตาแหน่งผู้บัญชาการโรงเรียนข้าราชการพลเรือนเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม อีกตาแหน่งหนึ่ง • พ.ศ. 2458 • เป็นองคมนตรี • พ.ศ. 2459 • ได้เป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการ ได้รับพระราชทานยศเป็น “จางวางโท” และ “จางวางเอก” ในปีเดียวกัน
  • 15. • พ.ศ. 2460 • ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เลื่อนจาก “พระยาธรรมศักดิ์มนตรี สรรพศึกษาวิธียุโรปการ” ขึ้นเป็น “เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีศรี สาสนวโรปกรสุนทรธรรมจริยานุวาท” วันที่ 31 ธันวาคม เมื่ออายุ ได้เพียง 41 ปีพ.ศ. 2460 • เป็นผู้ริเริ่มการศึกษาด้านเกษตรกรรม • พ.ศ. 2461 • เป็นผู้ดาเนินการเพื่อให้ได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติ โรงเรียนราษฎร์
  • 16. • พ.ศ. 2464 • รับพระบรมราชโองการทาจดหมายถึงมูลนิธิร็อกกีเฟลเลอร์ ให้มาช่วยปรับปรุงการศึกษาแพทย์ โดยมูลนิธิฯ ส่ง นายแพทย์ ริชาร์ด เอม เพียร์ส ประธานกรรมการฝ่าย แพทยศาสตร์ศึกษาเข้ามาดูกิจการของการศึกษาแพทย์ใน ประเทศสยาม • การประกาศใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษาฉบับแรกของ ประเทศ • พ.ศ. 2468 • ได้เป็นผู้ประพันธ์ “เพลงกราวกีฬา” ในนาม “ครูเทพ” เพื่อจูง ใจให้นักกีฬารู้จักการแพ้ชนะและรู้จักการให้อภัย
  • 17. • พ.ศ. 2475 • ได้เป็นผู้แต่งเนื้อร้อง “เพลงชาติ” โดยใช้ทานอง “เพลงมหาฤกษ์ มหาชัย” เพื่อใช้เป็นเพลงประจาชาติชื่อ “เพลงชาติมหาชัย” อยู่ ระยะหนึ่ง • พ.ศ. 2475 • เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกในระบอบประชาธิปไตย ระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน 2475 – 1 กันยายน 2475
  • 18. • พ.ศ. 2477 • ได้แต่งเพลง “คิดถึง” โดยบันทึกเสียงครั้งแรก พ.ศ. 2494 โดยเฉลา ประสบศาสตร์ ซึ่งเป็นบทเพลงที่มีความไพเราะ • พ.ศ. 2477 • ก่อตั้งโรงเรียนช่างก่อสร้างอุเทนถวาย และโรงเรียนฝึกหัดครู ประถมกสิกรรมแม่โจ้ เชียงใหม่
  • 19. • บั้นปลายชีวิต • หลังจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคต เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรีได้ถวายบังคมลาออกจากราชการในปี พ.ศ. 2469 มาอยู่ที่บ้านพักตาบลนางเลิ้ง หลานหลวง ถนน นครสวรรค์ กรุงเทพมหานคร และช่วยบุตรี คือ คุณไฉไล เทพ หัสดิน ณ อยุธยา บุตรีซึ่งลาออกจากครูโรงเรียนราชินีและ โรงเรียนวชิราวุธมาจัดตั้งขึ้นที่บ้านหลานหลวง เพื่อมาช่วยสอน ในโรงเรียนสตรีจุลนาค
  • 20. • เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี ถึงแก่อสัญกรรมด้วย โรคหัวใจวาย เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 ที่ บ้านพักถนนนครสวรรค์ กรุงเทพมหานคร สิริรวมอายุได้ 67 ปี 1 เดือน