SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
หลักการออกแบบเว็บไซต์
เว็บไซต์เป็นสื่อที่ได้รับความนิยมอย่ามากบนอินเตอร์เน็ต ซึ่งเว็บไซต์เป็นสื่อที่อยู่ในความควบคุมของ
ผู้ใช้โดยสมบูรณ์ กล่าวคือ ผู้ใช้สามารถตัดสินใจเลือกได้ว่าจะดูเว็บไซต์ใดและจะไม่เลือกดูเว็บไซต์ใด ได้ตาม
ต้องการ จึงทาให้ผู้ใช้ไม่มีความอดทนต่ออุปสรรคและปัญหาที่เกิดจากการออกแบบเว็บไซต์ผิดพลาดถ้าผู้ใช้
เห็นว่าเว็บที่กาลังดูอยู่นั้นไม่มีประโยชน์ต่อตัวเขา หรือไม่เข้าใจว่าเว็บไซต์นี้จะใช้งานอย่างไร เขาก็สามารถที่จะ
เปลี่ยนไปดูเว็บไซต์อื่นๆ ได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากในปัจจุบันมีเว็บไซต์อยู่มากมาย และยังมีเว็บไซด์ที่เกิดขึ้น
ใหม่ ๆ ทุกวัน ผู้ใช้จึงมีทางเลือกมากขึ้น และสามารถเปรียบเทียบคุณภาพของเว็บไซด์ต่าง ๆ ได้เอง
เว็บไซด์ที่ได้รับการออกแบบอย่างสวยงาม มีการใช้งานที่สะดวก ย่อมได้รับความสนใจจากผู้ใช้ มากกว่าเว็บ
ไซด์ที่ดูสับสนวุ่นวาย มีข้อมูลมากมายแต่หาอะไรไม่เจอ นอกจากนี้ยังใช้เวลาในการแสดงผลแต่ละหน้านาน
เกินไป ซึ่งปัญหาเหล่านี้ล้วนเป็นผลมาจากการออกแบบเว็บไซด์ไม่ดีทั้งสิ้น
ดังนั้น การออกแบบเว็บไซด์จึงเป็นกระบวนการสาคัญในการสร้างเว็บไซด์ ให้ประทับใจผู้ใช้ ทาให้เขาอยาก
กลับเข้ามาเว็บไซด์เดิมอีกในอนาคต ซึ่งนอกจากต้องพัฒนาเว็บไซด์ที่ดีมีประโยชน์แล้ว ยังต้องคานึงถึงการ
แข่งขันกับเว็บไซด์อื่น ๆ อีกด้วย
องค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์ที่มีประสิทธิภาพนั้นต้องคานึงถึง องค์ประกอบสาคัญดังต่อไปนี้
1. ความเรียบง่าย (Simplicity)
หมายถึง การจากัดองค์ประกอบเสริมให้เหลือเฉพาะองค์ประกอบหลัก กล่าวคือในการสื่อสารเนื้อหากับผู้ใช้
นั้น เราต้องเลือกเสนอสิ่งที่เราต้องการนาเสนอจริง ๆ ออกมาในส่วนของกราฟิก สีสัน ตัวอักษรและ
ภาพเคลื่อนไหว ต้องเลือกให้พอเหมาะ ถ้าหากมีมากเกินไปจะรบกวนสายตาและสร้างความคาราญต่อผู้ใช้
ตัวอย่างเว็บไซต์ที่ได้รับการออกแบบที่ดี ได้แก่ เว็บไซต์ของบริษัทใหญ่ ๆ อย่างเช่น Apple Adobe Microsoft
หรือ Kokia ที่มีการออกแบบเว็บไซต์ในรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน และใช้งานอย่างสะดวก
2. ความสม่าเสมอ ( Consistency)
หมายถึง การสร้างความสม่าเสมอให้เกิดขึ้นตลอดทั้งเว็บไซต์ โดยอาจเลือกใช้รูปแบบเดียวกันตลอด
ทั้งเว็บไซต์ก็ได้ เพราะถ้าหากว่าแต่ละหน้าในเว็บไซต์นั้นมีความแตกต่างกันมากจนเกินไป อาจทาให้ผู้ใช้เกิด
ความสับสนและไม่แน่ใจว่ากาลังอยู่ในเว็บไซต์เดิมหรือไม่ เพราะฉะนั้นการออกแบบเว็บไซต์ในแต่ละหน้าควรที่
จะมีรูปแบบ สไตล์ของกราฟิก ระบบเนวิเกชั่น (Navigation) และโทนสีที่มีความคล้ายคลึงกันตลอดทั้งเว็บไซต์
3. ความเป็นเอกลักษณ์ (Identity)
ในการออกแบบเว็บไซต์ต้องคานึงถึงลักษณะขององค์กรเป็นหลัก เนื่องจากเว็บไซต์จะสะท้อนถึง
เอกลักษณ์และลักษณะขององค์กร การเลือกใช้ตัวอักษร ชุดสี รูปภาพหรือกราฟิก จะมีผลต่อรูปแบบของ
เว็บไซต์เป็นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น ถ้าเราต้องออกแบบเว็บไซต์ของธนาคารแต่เรากลับเลือกสีสันและกราฟิก
มากมาย อาจทาให้ผู้ใช้คิดว่าเป็นเว็บไซต์ของสวนสนุกซึ่งส่งผลต่อความเชื่อถือขององค์กรได้
4. เนื้อหา (Useful Content)
ถือเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในเว็บไซต์ เนื้อหาในเว็บไซต์ต้องสมบูรณ์และได้รับการปรับปรุงพัฒนาให้ทันสมัย
อยู่เสมอ ผู้พัฒนาต้องเตรียมข้อมูลและเนื้อหาที่ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้องและสมบูรณ์ เนื้อหาที่สาคัญที่สุดคือ
เนื้อหาที่ทีมผู้พัฒนาสร้างสรรค์ขึ้นมาเอง และไม่ไปซ้ากับเว็บอื่น เพราะจะถือเป็นสิ่งที่ดึงดูดผู้ใช้ให้เข้ามา
เว็บไซต์ได้เสมอ แต่ถ้าเป็นเว็บที่ลิงค์ข้อมูลจากเว็บอื่น ๆ มาเมื่อใดก็ตามที่ผู้ใช้ทราบว่า ข้อมูลนั้นมาจากเว็บใด
ผู้ใช้ก็ไม่จาเป็นต้องกลับมาใช้งานลิงค์เหล่านั้นอีก
5. ระบบเนวิเกชั่น (User-Friendly Navigation)
เป็นส่วนประกอบที่มีความสาคัญต่อเว็บไซต์มาก เพราะจะช่วยไม่ให้ผู้ใช้เกิดความสับสนระหว่างดู
เว็บไซต์ ระบบเนวิเกชั่นจึงเปรียบเสมือนป้ายบอกทาง ดังนั้นการออกแบบเนวิเกชั่น จึงควรให้เข้าใจง่าย ใช้งาน
ได้สะดวก ถ้ามีการใช้กราฟิกก็ควรสื่อความหมาย ตาแหน่งของการวางเนวิเกชั่นก็ควรวางให้สม่าเสมอ เช่น อยู่
ตาแหน่งบนสุดของทุกหน้าเป็นต้น ซึ่งถ้าจะให้ดีเมื่อมีเนวิเกชั่นที่เป็นกราฟิกก็ควรเพิ่มระบบเนวิเกชั่นที่เป็น
ตัวอักษรไว้ส่วนล่างด้วย เพื่อช่วยอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ที่ยกเลิกการแสดงผลภาพกราฟิกบนเว็บเบรา
เซอร์
6. คุณภาพของสิ่งที่ปรากฏให้เห็นในเว็บไซต์ (Visual Appeal)
ลักษณะที่น่าสนใจของเว็บไซต์นั้น ขึ้นอยู่กับความชอบส่วนบุคคลเป็นสาคัญ แต่โดยรวมแล้วก็สามารถ
สรุปได้ว่าเว็บไซต์ที่น่าสนใจนั้นส่วนประกอบต่าง ๆ ควรมีคุณภาพ เช่น กราฟิกควรสมบูรณ์ไม่มีรอยหรือขอบ
ขั้นบันได้ให้เห็น ชนิดตัวอักษรอ่านง่ายสบายตา มีการเลือกใช้โทนสีที่เข้ากันอย่างสวยงาม เป็นต้น
7. ความสะดวกของการใช้ในสภาพต่าง ๆ (Compatibility)
การใช้งานของเว็บไซต์นั้นไม่ควรมีขอบจากัด กล่าวคือ ต้องสามารถใช้งานได้ดีในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย
ไม่มีการบังคับให้ผู้ใช้ต้องติดตั้งโปรแกรมอื่นใดเพิ่มเติม นอกเหนือจากเว็บบราวเซอร์ ควรเป็นเว็บที่แสดงผลได้
ดีในทุกระบบปฏิบัติการ สามารถแสดงผลได้ในทุกความละเอียดหน้าจอ ซึ่งหากเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้บริการมาก
และกลุ่มเป้าหมายหลากหลายควรให้ความสาคัญกับเรื่องนี้ให้มาก
8. ความคงที่ในการออกแบบ (Design Stability)
ถ้าต้องการให้ผู้ใช้งานรู้สึกว่าเว็บไซต์มีคุณภาพ ถูกต้อง และเชื่อถือได้ ควรให้ความสาคัญกับการ
ออกแบบเว็บไซต์เป็นอย่างมาก ต้องออกแบบวางแผนและเรียบเรียงเนื้อหาอย่างรอบคอบ ถ้าเว็บที่จัดทาขึ้น
ไม่มีมาตรฐานการออกแบบและระบบการจัดการข้อมูล ถ้ามีปัญหามากขึ้นอาจส่งผลให้เกิดปัญหาและทาให้
ผู้ใช้หมดความเชื่อถือ
9. ความคงที่ของการทางาน (Function Stability)
ระบบการทางานต่าง ๆ ในเว็บไซต์ควรมีความถูกต้องแน่นอน ซึ่งต้องได้รับการออกแบบสร้างสรรค์
และตรวจสอบอยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น ลิงค์ต่าง ๆ ในเว็บไซต์ ต้องตรวจสอบว่ายังสามารถลิงค์ข้อมูลได้ถูกต้อง
หรือไม่ เพราะเว็บไซต์อื่นอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ปัญหาที่เกิดจากลิงค์ ก็คือ ลิงค์ขาด ซึ่งพบได้
บ่อยเป็นปัญหาที่สร้างความราคาญกับผู้ใช้เป็นอย่างมาก
ในการออกแบบเว็บไซต์นั้นประกอบด้วยกระบวนการต่าง ๆ เช่น การออกแบบโครงสร้าง ลักษณะ
หน้าตา หรือการเขียนโปรแกรม แต่มีหลายคนที่พัฒนาเว็บไซต์ โดยขาดการวางแผนและทางานไม่เป็นระบบ
ตัวอย่างเช่น การลงมือออกแบบโดยการใช้โปรแกรมช่วยสร้างเว็บ เนื้อหาและรูปแบบก็เป็นไปตามที่นึกขึ้นได้
ขณะนั้น และเมื่อเห็นว่าดูดีแล้วก็เปิดตัวเลย ทาให้เว็บนั้นมีเป้าหมายและแนวทางที่ไม่แน่นอน ผลลัพธ์ที่ได้จึง
เสี่ยงกับความล้มเหลวค่อนข้างมาก
ความล้มเหลวที่พบเห็นได้ทั่วไป ได้แก่ เว็บที่แสดงข้อความว่าอยู่ระหว่างการก่อสร้าง (Under
Construction หรือ Coming soon) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการขาดการวางแผนที่ดีบางเว็บถือได้ว่าตายไปแล้ว
เนื่องจากข้อมูลไม่ทันสมัย ขาดการพัฒนาปรับปรุงเทคโนโลยีล้าสมัย ลิงค์ผิดพลาด สิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นถึง
การขาดการดูแล ตรวจสอบและพัฒนาให้ทันสมัยอยู่เสมอ
การออกแบบเว็บไซต์อย่างถูกต้องจะช่วยลดความผิดพลาดเหล่านี้ และช่วยลดความเสี่ยงที่จะทาให้เว็บประสบ
ความล้มเหลว การออกแบบเว็บไซต์ที่ดีต้องอาศัยการออกแบบและจัดระบบข้อมูลอย่างเหมาะสม
กระบวนการแรกของการออกแบบเว็บไซต์คือการกาหนดเป้าหมายของเว็บไซต์กาหนดกลุ่มผู้ใช้ ซึ่งการจะให้
ได้มาซึ่งข้อมูล ผู้พัฒนาต้องเรียนรู้ผู้ใช้ หรือจาลองสถานการณ์ สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้เราสามารถออกแบบเนื้อหา
และการใช้งานเว็บไซต์ได้อย่างเหมาะสม ตรงกับความต้องการของผู้ใช้อย่างแท้จริง
กาหนดเป้าหมายของเว็บไซต์
ขั้นตอนแรกของการออกแบบเว็บไซต์ คือการกาหนดเป้าหมายของเว็บไซต์ให้แน่ชัดเสียก่อน เพื่อจะ
ได้ออกแบบการใช้งานได้ตรงกับเป้าหมายที่ได้ตั้งเอาไว้ โดยทั่วไปมักจะเข้าใจว่าการทาเว็บไซต์มีจุดมุ่งหมาย
เพื่อบริการข้อมูลของหน่วยงานหรือองค์กรเท่านั้น แต่ในความเป็นจริงแล้ว เว็บไซต์แต่ละแห่งก็จะมีเป้าหมาย
ของตนเองแตกต่างกันออกไป
กาหนดกลุ่มผู้ใช้เป้าหมาย
ผู้ออกแบบเว็บไซต์จาเป็นต้องทราบกลุ่มผู้ใช้เป้าหมายที่เข้ามาใช้บริการเว็บไซต์ เพื่อที่จะได้ตอบสนอง
ความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่นเว็บไซต์ที่มีกลุ่มผู้ใช้หลากหลาย เช่น เซิร์ชเอ็นจิน เว็บท่า
และเว็บไดเรกทอรี่ แต่เว็บไซต์ส่วนใหญ่นั้นจะตอบสนองความต้องการเฉพาะกลุ่มเท่านั้น ไม่สาหรับทุกคน
เพราะไม่สามารถตอบสนองความต้องการของคนที่หลากหลายได้ในเว็บไซต์เดียวสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการจากเว็บ
หลังจากที่ได้เป้าหมายและกลุ่มเป้าหมายของเว็บไซต์แล้ว ลาดับต่อไปคือการออกแบบเว็บไซต์เพื่อดึงดูด
ผู้ใช้งานให้ได้นานที่สุด ด้วยการสร้างสิ่งที่น่าสนใจเพื่อดึงดูดผู้ใช้โดยทั่วไปแล้ว สิ่งที่ผู้ใช้คาดหวังจากการเข้าชม
เว็บไซต์หนึ่ง ได้แก่
- ข้อมูลและการใช้งานที่เป็นประโยชน์
- ข่าวและข้อมูลที่น่าสนใจ
- การตอบสนองต่อผู้ใช้
- ความบันเทิง
- ของฟรี
ข้อมูลหลักที่ควรมีอยู่ในเว็บไซต์
เมื่อทราบถึงความต้องการที่ผู้ใช้ต้องการได้รับเมื่อเข้าชมเว็บไซต์หนึ่งๆแล้วก็ออกแบบเว็บไซต์ให้มี
ข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการ ซึ่งข้อมูลต่อไปนี้ เป็นสิ่งที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่คาดหวังจะได้รับเมื่อเข้าไปชมเว็บไซต์
- ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท
- รายละเอียดของผลิตภัณฑ์
- ข่าวความคืบหน้าและข่าวจากสื่อมวลชน
- คาถามยอดนิยม
- ข้อมูลในการติดต่อ
ออกแบบหน้าเว็บไซต์ (Page Design)
หน้าเว็บเป็นสิ่งแรกที่ผู้ใช้จะได้เห็นขณะที่เปิดเข้าสู่เว็บไซต์ และยังเป็นสิ่งแรกที่แสดงถึงประสิทธิภาพ
ในการออกแบบเว็บไซต์อีกด้วย หน้าเว็บจึงเป็นสิ่งสาคัญมาก เพราะเป็นสื่อกลางให้ผู้ชมสามารถใช้ประโยชน์
จากข้อมูลของระบบงานของเว็บไซต์นั้นได้ โดยปกติหน้าเว็บจะประกอบด้วย รูปภาพ ตัวอักษร สีพื้น ระบบ
เนวิเกชั่น และองค์ประกอบอื่น ๆ ที่ช่วยสื่อความหมายของเนื้อหาและอานวยความสะดวกต่อการใช้งาน หลัก
สาคัญในการออกแบบหน้าเว็บก็คือ การใช้รูปภาพและองค์ประกอบต่าง ๆ ร่วมกันเพื่อสื่อความหมาย เกี่ยวกับ
เนื้อหาหรือลักษณะสาคัญของเว็บไซต์ โดยมีเป้าหมายสาคัญเพื่อการสื่อความหมายที่ชัดเจนและน่าสนใจ บน
พื้นฐานของความเรียบง่ายและความสะดวกของผู้ใช้
การออกแบบเว็บไซต์ ต้องคานึงถึง
1. ความเรียบง่าย ได้แก่ มีรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน และใช้งานได้สะดวก ไม่มีกราฟิกหรือตัวอักษร
ที่เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ชนิดและสีของตัวอักษรไม่มากจนเกินไปทาให้วุ่นวาย
2. ความสม่าเสมอ ได้แก่ ใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ เช่น รูปแบบของหน้า สไตล์ของกราฟิก
ระบบเนวิเกชันและโทนสี ควรมีความคล้ายคลึงกันตลอดทั้งเว็บไซต์
3. ความเป็นเอกลักษณ์ การออกแบบเว็บไซต์ควรคานึงถึงลักษณะขององค์กร เพราะรูปแบบของ
เว็บไซต์จะสะท้อนถึงเอกลักษณ์และลักษณะขององค์กรนั้น ๆ เช่น ถ้าเป็นเว็บไซต์ของทาง ราชการ จะต้องดู
น่าเชื่อถือไม่เหมือนสวนสนุก ฯลฯ
4. เนื้อหาที่มีประโยชน์ เนื้อหาเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในเว็บไซต์ ดังนั้นควรจัดเตรียมเนื้อหาและข้อมูลที่
ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้อง และสมบูรณ์ มีการปรับปรุงและเพิ่มเติมให้ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื้อหาไม่ควรซ้ากับ
เว็บไซต์อื่น จึงจะดึงดูดความสนใจ
5. ระบบเนวิเกชันที่ใช้งานง่าย ต้องออกแบบให้ผู้ใช้เข้าใจง่ายและใช้งานสะดวก ใช้กราฟิกที่สื่อ
ความหมายร่วมกับคาอธิบายที่ชัดเจน มีรูปแบบและลาดับของรายการที่สม่าเสมอ เช่น วางไว้ ตาแหน่ง
เดียวกันของทุกหน้า
6. ลักษณะที่น่าสนใจ หน้าตาของเว็บไซต์จะต้องมีความสัมพันธ์กับคุณภาพขององค์ประกอบต่างๆ เช่น
คุณภาพของกราฟิกที่จะต้องสมบูรณ์ การใช้สี การใช้ตัวอักษรที่อ่านง่าย สบายตา การใช้โทนสีที่เข้ากัน
ลักษณะหน้าตาที่น่าสนใจนั้นขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละบุคคล
7. การใช้งานอย่างไม่จากัด ผู้ใช้ส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงได้มากที่สุดเลือกใช้บราวเซอร์ชนิดใดก็ได้ในการ
เข้าถึงเนื้อหาสามารถแสดงผลได้ทุกระบบปฏิบัติการและความละเอียดหน้าจอต่างๆ กันอย่างไม่มีปัญหาเป็น
ลักษณะสาคัญสาหรับผู้ใช้ที่มีจานวนมาก
8. คุณภาพในการออกแบบ การออกแบบและเรียบเรียงเนื้อหาอย่างรอบคอบ สร้างความรู้สึกว่าเว็บไซต์
มีคุณภาพ ถูกต้อง และเชื่อถือได้
9. ลิงค์ต่างๆ จะต้องเชื่อมโยงไปหน้าที่มีอยู่จริงและถูกต้อง ระบบการทางานต่างๆ ในเว็บไซต์จะต้องมี
ความแน่นอนและทาหน้าที่ได้อย่างถูก
การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ (Site Structure Design)
โครงสร้างเว็บไซท์ ( Site Structure ) เป็นแผนผังของการลาดับเนื้อหาหรือการจัดวางตาแหน่งเว็บ
เพจทั้งหมด ซึ่งจะทาให้เรารู้ว่าทั้งเว็บไซท์ประกอบไปด้วยเนื้อหาอะไรบ้าง และมีเว็บเพจหน้าไหนที่เกี่ยวข้อง
เชื่อมโยงถึงกัน ดังนั้นการออกแบบโครงสร้างเว็บไซท์จึงเป็นเรื่องสาคัญ เปรียบเสมือนกับการเขียนแบบอาคาร
ก่อนที่จะลงมือสร้าง เพราะจะทาให้เรามองเห็นหน้าตาของเว็บไซท์เป็นรูปธรรมมากขึ้น สามารถออกแบบ
ระบบเนวิเกชั่นได้เหมาะสม และเป็นแนวทางการทางานที่ชัดเจน สาหรับขั้นตอนต่อๆไป นอกจากนี้โครงสร้าง
เว็บไซท์ที่ดียังช่วยให้ผู้ชมไม่สับสนและค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว
วิธีการจัดโครงสร้างเว็บไซท์สามารถทาได้หลายแบบ แต่แนวคิดหลักๆที่นิยมใช้กันมีอยู่ 2 แบบคือ
จัดตามกลุ่มเนื้อหา ( Content-based Structure )
จัดตามกลุ่มผู้ชม ( User-based Structure )
รูปแบบของโครงสร้างเว็บไซต์
สามารถวางรูปแบบโครงสร้างเว็บไซต์ได้หลายแบบตามความเหมาะสม เช่น
แบบเรียงลาดับ ( Sequence ) เหมาะสาหรับเว็บไซต์ที่มีจานวนเว็บเพจไม่มากนัก หรือเว็บไซท์ที่มี
การนาเสนอข้อมูลแบบทีละขั้นตอน
แบบระดับชั้น ( Hierarchy ) เหมาะสาหรับเว็บไซต์ที่มีจานวนเว็บเพจมากขึ้น เป็นรูปแบบที่เราจะ
พบได้ทั่วไป
แบบผสม ( Combination ) เหมาะสาหรับเว็บไซต์ที่ซับซ้อน เป็นการนาข้อดีของรูปแบบทั้ง 2
ข้างต้นมาผสมกัน
ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์
กาหนดเป้าหมายและวางแผน
ในการพัฒนาเว็บไซต์เราควรกาหนดเป้าหมาย และวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การทางานในขั้น
ต่อๆไปมีแนวทางที่ชัดเจน เรื่องหลักๆที่เราควรทาในขั้นตอนนี้ประกอบด้วย
1. กาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนว่าเว็บไซต์นี้ต้องการนาเสนอหรือ
ต้องการให้เกิดผลอะไร เช่น เป็นเว็บไซต์สาหรับให้ข้อมูลหรือขายสินค้า ซึ่งวัตถุประสงค์นี้จะเป็นตัวกาหนด
รายละเอียดอื่นๆที่จะตามมา เช่นโครงสร้างของเว็บไซต์ รวมถึงลักษณะหน้าตา และสีสันของเว็บเพจ ในกรณีที่
เป็นเว็บไซต์ของบริษัทหรือองค์กร วัตถุประสงค์นี้ก็จะต้องวางให้สอดคล้องกับภารกิจขององค์กรด้วย
2. กาหนดกลุ่มผู้ชมเป้าหมาย เพื่อจะได้รู้ว่าผู้ชมหลักของเราคือใคร และออกแบบเว็บไซต์ให้
ตอบสนองความต้องการหรือโดนใจผู้ชมกลุ่มนั้นให้มากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการเลือกเนื้อหา โทนสี กราฟิก
เทคโนโลยีที่นามาสนับสนุน และอื่นๆ
3. เตรียมแหล่งข้อมูล เนื้อหาหรือข้อมูลคือสาระที่แท้จริงของเว็บไซต์ เราต้องรู้ว่าข้อมูลที่
จาเป็นต้องใช้จะมาจากแหล่งใดได้บ้าง เช่น ถ้าเป็นเว็บของบริษัท ใครที่จะเป็นผู้ให้ข้อมูล หรือถ้าเป็นเว็บ
ข่าวสาร ข่าวสารนั้นจะมาจากแหล่งใด มีลิขสิทธิ์หรือไม่
4. เตรียมทักษะหรือบุคลากร การสร้างเว็บไซต์ต้องอาศัยทักษะหลายๆด้าน เช่น ในการเตรียม
เนื้อหา ออกแบบกราฟิก เขียนโปรแกรม และการดูแลเว็บเซิร์ฟเวอร์ เป็นต้น ซึ่งถ้าเป็นเว็บไซต์ขนาดใหญ่
อาจจะต้องใช้บุคลากรเป็นจานวนมาก แต่สาหรับเว็บไซต์เล็กๆที่ต้องดูแลเพียงคนเดียว เราก็จะต้องศึกษาหา
ความรู้ในเรื่องนั้นๆเพื่อเตรียมพร้อมเอาไว้
5. เตรียมทรัพยากรต่างๆที่จาเป็น เช่น โปรแกรมสาหรับสร้างเว็บไซต์ โปรแกรมสาหรับสร้าง
กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว และมัลติมิเดีย โปรแกรมอื่นๆที่ต้องใช้ การจดทะเบียนโดเมนเนม ตลอดจนการเตรียม
หาผู้ให้บริการรับฝากเว็บไซต์ (Web Hosting) และเลือกแผนบริการที่เหมาะสม
วิเคราะห์และจัดโครงสร้างข้อมูล
ขั้นตอนนี้จะเป็นการนาข้อมูลต่างๆที่รวบรวมได้จากขั้นแรก ไม่ว่าจะเป็น วัตถุประสงค์ของ
เว็บไซต์ คุณลักษณะ ข้อจากัดของกลุ่มผู้ชมเป้าหมาย รวมทั้งเนื้อหาหลักของเว็บไซต์ นามาประเมิน วิเคราะห์
และจัดระบบ เพื่อให้ได้โครงสร้างข้อมูล และข้อกาหนด ซึ่งจะใช้เป็นกรอบสาหรับการออกแบบและดาเนินการ
ในขั้นต่อๆไป ผลที่ได้รับจากขั้นนี้ควรประกอบไปด้วย
- แผนผังโครงสร้างของเว็บไซต์ ลาดับการนาเสนอ สารบัญ หรือผังงาน
- ระบบนาทางหรือเนวิเกชั่น ซึ่งผู้ชมจะใช้สาหรับเปิดเข้าไปยังส่วนต่างๆของเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น
โครงสร้างและรูปแบบของเมนู
- องค์ประกอบต่างๆที่จะนามาใช้ในเว็บเพจมีอะไรบ้าง เช่น รูปภาพและภาพกราฟิก,เสียง,วีดีโอ
,มัลติมีเดีย,แบบฟอร์ม ฯลฯ อะไรบ้างที่บราวเซอร์ของผู้ชมสนับสนุน และอะไรบ้างที่ต้องอาศัยโปรแกรมเสริม
- ข้อกาหนดเกี่ยวกับลักษณะหน้าตาและรูปแบบของเว็บเพจ
- ข้อกาหนดของโปรแกรมภาษาสคริปต์หรือเว็บแอพพลิเคชั่น และฐานข้อมูลที่ใช้ในเว็บไซต์
- คุณสมบัติของเว็บเซิร์ฟเวอร์ รวมถึงข้อจากัด และบริการเสริมต่างๆที่มีให้
ออกแบบเว็บเพจและเตรียมข้อมูล
เป็นขั้นตอนการออกแบบเค้าโครงหน้าตา และลักษณะด้านกราฟิกของหน้าเว็บเพจ เพื่อให้ผู้ชมเกิด
อารมณ์ความรับรู้ต่อเว็บเพจตามที่เราต้องการ ดังนั้นผู้ที่ทาหน้าที่นี้จึงควรมีความสามารถทางด้านศิลปะ
พอสมควร โปรแกรมที่เหมาะจะใช้ในการออกแบบคือ Adobe Photoshop หรือ Macromedia
Fireworks ซี่งผลที่ได้จะประกอบด้วยไฟล์กราฟิกต่างๆ ที่ใช้บนเว็บเพจ เช่น โลโก้,ภาพพื้นหลัง,ปุ่มเมนู,ไอคอน
ที่เป็นหัวคอลัมน์ และแบนเนอร์โฆษณาการออกแบบเว็บเพจยังรวมไปถึงการกาหนดสีสัน และรูปแบบของ
ส่วนประกอบต่างๆที่ไม่ใช่ภาพกราฟิก เช่น ฟอนต์ ขนาด และสีข้อความ สีพื้นบริเวณที่ว่าง สีและลวดลายของ
เส้นกรอบ เป็นต้น นอกจากนี้องค์ประกอบเสริมอื่นๆของเว็บเพจก็ต้องถูกเตรียมไว้ด้วย เช่น
ภาพเคลื่อนไหว Flash และโปรแกรม JavaScript ที่ใช้โต้ตอบกับผู้ชม หรือเล่นเอฟเฟ็คต์ต่างๆในส่วนของ
เนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเป็นการนาเนื้อหาที่เลือกไว้มาปรับแก้ และตรวจทานความถูกต้อง เพื่อให้พร้อมสาหรับจะ
นาไปใส่เว็บเพจแต่ละหน้าในขั้นตอนถัดไป
ลงมือสร้างและทดสอบ
เป็นขั้นตอนที่เว็บเพจจะถูกสร้างขึ้นมาจริงทีละหน้าๆ โดยอาศัยเค้าโครง และองค์ประกอบกราฟิก
ตามที่ออกแบบไว้ เนื้อหาต่างๆจะถูกนามาใส่และจัดรูปแบบ ลิ้งค์และระบบนาทางถูกสร้าง องค์ประกอบเสริม
ต่างๆถูกวางเข้าที่ อย่างไรก็ตาม เมื่อลงมือสร้างเว็บเพจจริงเราอาจพบว่าสิ่งที่ออกแบบไว้แล้ว บางอย่างไม่
เหมาะสม หรือควรได้รับการปรับแต่ง ก็สามารถทาได้ โปรแกรมที่ใช้ในขั้นตอนนี้ก็คือโปรแกรมสาหรับสร้าง
เว็บไซต์ เช่น Macromedia Dreamweaver
เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาควรได้รับการทดสอบก่อนที่จะนาออกเผยแพร่ ไม่ว่าจะเป็นความถูกต้องของ
เนื้อหา การทางานของลิ้งค์และระบบนาทาง ตรวจหาความผิดพลาดของโปรแกรมสคริปต์และ
ฐานข้อมูล นอกจากนี้ก็ควรทดสอบโดยใช้สภาพแวดล้อมที่เหมือนกับของกลุ่มผู้ชมเป้าหมาย เช่น เวอร์ชั่นของ
บราวเซอร์ ความละเอียดของจอภาพและความเร็วที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต เพื่อดูว่าผู้ชมเป้าหมายสามารถชม
เว็บไซต์ได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพหรือไม่
เผยแพร่และส่งเสริมให้ป็นที่รู้จัก
โดยทั่วไปการนาเว็บไซต์ขึ้นเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตจะทาด้วยการอัพโหลดไฟล์ทั้งหมด
คือ HTML และไฟล์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ขึ้นไปเก็บบนเซิร์ฟเวอร์ที่เราเปิดบริการไว้ การอัพโหลดเว็บไซต์ หรือ
บางครั้งเรียกว่า “พับลิช” อาจทาด้วยโปรแกรมสร้างเว็บไซต์เอง ซึ่งมีคุณสมบัตินี้ในตัว หรืออาจจะใช้
โปรแกรมยูทิลิตี้ประเภท FTP เช่น CuteFTP และ WS_FTP หรือใช้เครื่องมืออื่นบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ก็ได้
หลังจากนั้นเว็บไซต์ควรได้รับการทดสอบอีกครั้ง เพื่อตรวจหาปัญหาบางอย่างที่ไม่สามารถทดสอบบนเครื่อง
คอมพิวเตอร์ของเราได้ เช่น การลิ้งค์ของเว็บเพจกับเว็บไซต์อื่น และการทางานของโปรแกรมสคริปต์กับ
ฐานข้อมูล ซึ่งอาจทาไม่ได้บนเครื่องของเรา หรือบนเว็บเซิร์ฟเวอร์อาจมีสภาพแวดล้อมที่ต่างออกไป
เว็บไซต์ที่ประสบความสาเร็จ นอกจากต้องมีเนื้อหาที่ดี มีการวางโครงสร้างและการออกแบบที่เหมาะสม
แล้ว ยังต้องได้รับการโฆษณา และส่งเสริมให้เป็นที่รู้จักในกลุ่มผู้ชมเป้าหมายหรือในวงกว้างออกไปอีกด้วย การ
ส่งเสริมนี้มีกลยุทธที่ทาได้หลายวิธี ซึ่งไม่จาเป็นต้องใช้งบประมาณจานวนมากเสมอไป โดยสามารถทาได้ตั้งแต่
แบบง่ายๆ คือการแลกเปลี่ยนลิ้งค์หรือแบนเนอร์ ประกาศบนเว็บบอร์ดสาธารณะ การส่งอีเมล์ เพิ่มข้อมูลใน
เสิร์ชเอ็นจิ้น หรือเว็บไดเร็กทอรี่ เรื่อยไปจนถึงแบบที่ต้องใช้งบประมาณมากขึ้น เช่น การจัดงานเปิดตัว การลง
โฆษณาบนเว็บไซต์อื่น ในสิ่งพิมพ์ หรือในวิทยุโทรทัศน์ เป็นต้น
ดูแลและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
เว็บไซต์ที่เผยแพร่ออกไปแล้วเราไม่ควรทิ้งขว้าง แต่ควรดูแลโดยตลอด ซึ่งหน้าที่นี้ครอบคลุมหลาย
เรื่อง ตั้งแต่การตรวจสอบเว็บเซิร์ฟเวอร์ว่าไม่หยุดทางานบ่อยๆ ลิ้งค์ที่เชื่อมโยงไปภายนอกยังคงใช้ได้หรือไม่
(เนื่องจากเว็บไซต์นั้นอาจถูกปิด) คอยตอบคาถามที่มีผู้ฝากไว้บนเว็บเพจ ถ้าเป็นเว็บข่าวสารก็ต้องปรับปรุง
ข้อมูลให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา ถ้ามีการใช้ฐานข้อมูลก็ต้องแบ็คอัพข้อมูลอย่างสม่าเสมอ
นอกจากนั้นเราควรตรวจสอบสถิติของการเข้าชมเป็นระยะๆ ซึ่งเป็นบริการเสริมที่เว็บเซิร์ฟเวอร์มักมี
ให้ เช่น จานวนผู้ชม สถิติว่าเว็บเพจใดมีผู้เข้าชมมากหรือเป็นที่นิยม
หลังจากที่เว็บไซต์ได้รับการเผยแพร่ไประยะหนึ่ง เราควรปรับปรุงเพื่อให้ผู้ชมรู้สึกว่ามีความ
เปลี่ยนแปลง มีความสดใหม่ ทันสมัย โดยอาจนาข้อมูลสถิติที่รวบรวมไว้มาพิจารณาประกอบด้วย การ
เปลี่ยนแปลงทาได้ทั้งในส่วนของเนื้อหา โครงสร้างเว็บไซต์ การออกแบบหน้าตา และการนาเทคโนโลยีใหม่ๆ
เข้ามาเสริม
การใช้สีในการออกแบบเว็บไซต์
การสร้างสีสันบนหน้าเว็บเป็นสิ่งที่สื่อความหมายของเว็บไซต์ได้อย่างชัดเจน การเลือกใช้สีให้เหมาะสม
กลมกลืน ไม่เพียงแต่จะสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ใช้ แต่ยังสามารถทาให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างเว็บไซต์
ได้ สีเป็นองค์ประกอบหลักสาหรับการตกแต่งเว็บ จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สี
จิตวิทยาเกี่ยวกับสี
สีนั้นมีความสาคัญอย่างยิ่งในการออกแบบเว็บไซต์ การเลือกสีให้เข้ากับเนื้อหาของเว็บไซต์ จะทาให้
เว็บไซต์มีความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น และยังส่งผลอย่างมากกับความสวยงามของเว็บไซต์
ความรู้สึกที่คนส่วนใหญ่มีต่อสีต่างๆ
สีฟ้า
ให้ความรู้สึกสงบ สุขุม สุภาพ หนักแน่น เคร่งขรึม เอาการเอางาน ละเอียด รอบคอบ สง่างาม มี
ศักดิ์ศรี สูงศักดิ์ เป็นระเบียบถ่อมตน สามารถลดความตื่นเต้น และช่วยทาให้มีสมาธิ แต่ถ้ามีสีน้าเงินเข้มเกินไป
ก็จะทาให้รู้สึกซึมเศร้าได้
สีเขียว
เป็นสีในวรรณะเย็น จะสร้างความรู้สึกเย็นสบาย ใช้เป็นสีที่ช่วยผ่อนคลายความเครียดได้ ให้ความรู้สึก
สงบ เงียบ ร่มรื่น ร่มเย็น การพักผ่อน การผ่อนคลาย ธรรมชาติ ความปลอดภัย ปกติ ความสุข ความสุขุม
สีเหลือง
เป็นสีแห่งความเบิกบาน เร้าอารมณ์ และเรียกร้องความสนใจ ให้ความรู้สึกแจ่มใส ความสดใส ความ
ร่าเริง ความเบิกบานสดชื่น ชีวิตใหม่ ความสด ใหม่ ความสุกสว่าง การแผ่กระจาย อานาจบารมี ให้ลองสังเกต
ดูว่า วันที่ท้องฟ้ามืดครื้มปราศจากแสงแดด เราจะรู้สึกหงอยเหงา หดหู่ แต่พอมีแสงแดด ท้องฟ้าสว่าง มีสี
เหลือง เราจะรู้สึกมีชีวิตชีวาขึ้น
สีแดง
เป็นสีที่สร้างความตื่นเต้น และกระตุ้นสมอง สีแดงปานกลางแสดงถึงความมีสุขภาพดี ความมีชีวิต
ความรัก ความสาคัญ ความอุดมสมบูรณ์ ความมั่งคั่ง สีแดงจัดมีความหมายแฝงด้านกามารมณ์ นอกจากนี้สี
แดงยังสร้างความรู้สึกรุนแรง ให้ความรู้สึกร้อน กระตุ้น ท้าทาย เคลื่อนไหว ตื่นเต้น เร้าใจ มีพลัง มันจะใช้กัน
กรณีที่เกี่ยวกับความตื่นเต้น หรืออันตราย
สีม่วง
ให้ความรู้สึก มีเสน่ห์ น่าติดตาม เร้นลับ ซ่อนเร้น มีอานาจ มีพลังแฝงอยู่ ความรัก ความเศร้า ความ
ผิดหวัง ความสงบ ความสูงศักดิ์ เป็นสีที่ปลอบโยน และช่วยลดความเครียด แต่เดิมสีม่วงได้มาจากสัตว์มี
กระดองเปลือก ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน มีชื่อว่า Purpura จึงได้ชื่อภาษาอังกฤษว่า Purple
สีส้ม
ให้ความรู้สึก ร้อน ความอบอุ่น ความสดใส มีชีวิตชีวา วัยรุ่น ความคึกคะนอง การปลดปล่อย ความ
เปรี้ยว การระวัง เป็นสีที่เร้าความรู้สึก ปรกติควรใช้แต่น้อยเมื่อเทียบกับสีอื่น สังเกตว่าคนที่อยู่ในห้องสีส้มจะ
อยู่ได้ไม่นาน
สีน้าตาล
ให้ความรู้สึกอบอุ่น ได้พักผ่อน แต่ควรใช้ร่วมกับสีส้ม เหลือง หรือสีทอง เพราะถ้าใช้สีน้าตาลเพียงสี
เดียว อาจทาให้เกิดความรู้สึกหดหู่ได้
สีเทา
ให้ความรู้สึก เศร้า อาลัย ท้อแท้ ความลึกลับ ความหดหู่ ความชรา ความสงบ ความเงียบ สุภาพ
สุขุม ถ่อมตน สีนี้มีข้อดีคือทาให้เย็น แต่สร้างความสร้างความรู้สึกหม่นหมองได้ ควรใช้ร่วมกับสีที่มีชีวิต โทน
สว่างอย่างน้อยหนึ่งสี 
สีขาว
ให้ความรู้สึก บริสุทธิ์ สะอาด สดใส เบาบาง อ่อนโยน เปิดเผย การเกิด ความรัก ความหวัง ความจริง
ความเมตตา ความศรัทธา ความดีงาม ให้ความรู้สึกรื่นเริง โดยเฉพาะเมื่อใช้กับสีแดง เหลือง และส้ม
ทฤษฎีสี
รูปด้านล่างวงล้อความสัมพันธ์ของสี ซึ่งบรรจุสีที่นิยมใช้ในเว็บไซต์ไว้ 20 สี เหมาะสาหรับผู้ที่กาลัง
เลือกสีที่จะใช้ในเว็บไซต์อยู่เราสามารถใช้ความสัมพันธ์ของวงล้อขอสีนี้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างมากมาย เช่น
ต้องการออกแบบให้เว็บไซต์รู้สึกตัดกันโดยสิ้นเชิง เราอาจใช้ชุดสี 4 สีที่ทามุมกัน 90 องศา เช่นดังตัวอย่าง
ถ้าเราเลือกชุดสี 1 , 6 , 11 , 16 สีที่ได้จะตัดกันชัดเจน
ถ้าต้องการให้เว็บไซต์ดูกลมกลืนก็อาจเลือกชุดสีใกล้เคียงกันก็ได้เช่น เลือกชุดสีเขียวเบอร์ 8 , 9 , 10 , 11
ก็จะได้สีในโทนสีเขียวสว่าง
Web 2.0
เป็นคาที่ถูกคิดขึ้นมาอธิบายถึงลักษณะของเทคโนโลยีเวิลด์ไวด์เว็บ และการออกแบบเว็บไซต์ใน
ปัจจุบัน ที่มีลักษณะส่งเสริมให้เกิดการแบ่งปันข้อมูล การพัฒนาในด้านแนวความคิดและการออกแบบ รวมถึง
การร่วมสร้างข้อมูลในโลกของอินเทอร์เน็ต แนวคิดเหล่านี้นาไปสู่การพัฒนาและการปฏิวัติรูปแบบเทคโนโลยีที่
นาไปสู่เว็บเซอร์วิสหลายอย่าง เช่น บล็อก เครือข่ายสังคมออนไลน์ วิกิ
คาว่า “Web 2.0” เริ่มเป็นที่รู้จักในวงกว้าง หลังจากงานประชุม O'Reilly Media Web 2.0 ที่จัดขึ้นในปี
2547 คาว่า “Web 2.0” นั้นเป็นคากล่าวเรียกลักษณะของเวิลด์ไวด์เว็บในปัจจุบัน ตามลักษณะของผู้ใช้งาน
โปรแกรมเมอร์และผู้ให้บริการ ซึ่งตัว Web 2.0 เองนั้นไม่ได้กล่าวถึงการพัฒนาทางด้านเทคนิคแต่อย่างใด ทิม
เบอร์เนิร์สลี ผู้คิดค้นเวิลด์ไวด์เว็บ ได้ตั้งข้อสังเกตว่า ลักษณะทางเทคนิคของ Web 2.0 นั้นเกิดขึ้นมานานกว่า
คาว่า “Web 2.0” จะถูกนามาเรียกใช้
Web 2.0 นั้นมีคาจากัดความหลายอย่าง Tim O'Reilly ได้กล่าวไว้ว่า Web 2.0 เปรียบเหมือนธุรกิจ ซึ่งเว็บ
กลายเป็นแพลตฟอร์มหนึ่ง ที่อยู่เหนือการใช้งานของซอฟต์แวร์ โดยไม่ยึดติดกับตัวซอฟต์แวร์เหมือนระบบ
คอมพิวเตอร์ที่ผ่านมา โดยมีข้อมูล ที่เกิดจากผู้ใช้หลายคน (ตัวอย่างเช่น บล็อก) เป็นตัวผลักดันความสาเร็จ
ของเว็บไซต์อีกต่อหนึ่ง ซึ่งเว็บไซต์ในปัจจุบันมีลักษณะการสร้างโดยผู้ใช้ที่อิสระ และแยกจากกัน ภายใต้
ซอฟต์แวร์ตัวเดียวกัน เพื่อสรรค์สร้างระบบให้ก่อเกิดประโยชน์ในองค์รวม Tim O'Reilly ได้แสดงตัวอย่างของ
ระดับของ Web 2.0 ออกเป็นสี่ระดับ ดังนี้
ระดับ 3 - ระดับของการใช้งานจากผู้ใช้ทั่วไปในอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นลักษณะของการสื่อสารของมนุษย์
ภายใต้เว็บไซต์เดียวกัน ตัวอย่างเช่น Wikipedia Skype E-bay Craigslist
ระดับ 2 - ระดับการจัดการทั่วไปที่สามารถใช้งานได้โดยไม่จาเป็นต้องผ่านอินเทอร์เน็ต แต่เมื่อ
นามาใช้งานออนไลน์ นั้น จะมีประโยชน์มากขึ้นจากการเชื่อมโยงผู้ใช้งานเข้าด้วยกัน ซึ่ง Tim O’Reilly
ยกตัวอย่างเว็บไซต์ Flickr เว็บไซต์อัปโหลดภาพที่มีการใช้งานเชื่อมโยงระหว่างภาพ และเช่นเดียวกันระหว่าง
ผู้ใช้งาน
ระดับ 1 - ระดับการจัดการทั่วไปที่สามารถใช้งานได้โดยไม่จาเป็นต้องผ่านอินเทอร์เน็ต แต่มี
ความสามารถเพิ่มขึ้นมีนามาใช้งานออนไลน์ ตัวอย่างเช่น Google Docs และ iTunes
ระดับ 0 - ระดับที่สามารถใช้งานได้ทั้งออนไลน์และออฟไลน์ เช่น Mapquest และ Google Maps
โดยลักษณะที่เด่นชัดของ Web 2.0 นั้น จะเห็นได้ว่ามีการพัฒนาและการโต้ตอบระหว่างผู้ให้บริการ และ
ผู้ใช้งาน แทนที่จากระบบเว็บแบบเก่า ที่เป็นลักษณะของการให้บริการอ่านอย่างเดียว โดยรวมไปถึงการ
รวดเร็ว และการง่ายดายของการส่งข้อมูล แทนที่แบบเก่าที่ต้องจัดการผ่านเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งบล็อกและเว็บที่
ให้บริการอัปโหลดภาพถูกนามาใช้เป็นตัวอย่างของ Web 2.0 ที่ให้เห็นได้ทั่วไป ที่มีการให้บริการแสดงความ
คิดเห็น รวมถึงการใช้งานที่ง่าย โดยผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องมีความรู้ในด้านเข้าถึงเซิร์ฟเวอร์แต่อย่างใด เห็นได้ว่า
ลักษณะของ Web 2.0 นั้นก่อให้เกิดการสร้างเนื้อหา ที่รวดเร็ว และมีการแบ่งปันข้อมูลที่ง่ายขึ้น โดยลักษณะ
ของเว็บเปลี่ยนจากทางเน้นหนักทางด้านเทคนิค ไปในด้านข้อมูลข่าวสารแทนที่ และก่อให้เกิดประโยชน์ใน
ด้านธุรกิจต่อมา
ถึงแม้ว่า Web 2.0 จะมีการนิยมใช้งาน AJAX Flash Flex Java Silverlight ช่วยในการจัดการข้อมูล แต่ตัว
เทคโนโลยีเหล่านั้น ไม่ได้ถูกกล่าวถึงในรูปแบบของ Web 2.0 แต่อย่างใด โดยเทคโนโลยีเหล่านั้นช่วยให้เว็บ
เพจสามารถดึงข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์มาที่หน้าเว็บได้ทันที โดยไม่จาเป็นต้องอ่านหน้าทั้งหมดใหม่ ซึ่งช่วยให้
ผู้ใช้งานเกิดความสะดวกสบายมากขึ้น
คุณลักษณะของเว็บ 2.0
1. หลังจากที่ดอตคอมในยุคนั้นได้ล่มสลายลงไป แนวคิดของการสร้างสรรค์ธุรกิจเว็บไซต์ และการ
ออกแบบต่าง ๆ ได้มีพัฒนาการที่สาคัญเพิ่มขึ้นเช่น เรื่องความน่าสนใจของแอพพลิเคชั่นใหม่ๆ รวมถึงวิธีการ
ดาเนินธุรกิจออนไลน์ด้วยแนวทางใหม่ๆ จึงได้กาหนดคุณลักษณะของเว็บ 2.0 ดังนี้
1. ลักษณะเนื้อหามีการแบ่งส่วนบนหน้าเพจเปลี่ยนจากข้อมูลก้อนใหญ่มาเป็นก้อนเล็ก
2. ผู้ใช้สามารถเข้ามาจัดการเนื้อหาบนหน้าเว็บได้และสามารถแบ่งปันเนื้อหาที่ผ่านการจัดการให้กับกลุ่ม
คนในโลกออนไลน์ได้ ซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นถือว่าเป็นปรากฏการณ์อย่างหนึ่งของสังคมออนไลน์สังคม
ออนไลน์เกิดความเป็นรูปเป็นร่างมากยิ่งขึ้น เกิดกิจกรรมบนนั้นมากขึ้น
3. เนื้อหาจะมีการจัดเรียง จัดกลุ่มมากขึ้นไปกว่าเดิม
4. เกิดโมเดลทางธุรกิจที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น และทาให้ธุรกิจเว็บไซต์กลายเป็นธุรกิจที่มีมูลค่ามหาศาล
5. การบริการ คือ เว็บที่มีลักษณะเด่นในการให้บริการหลาย ๆ เว็บไซต์ที่มีแนวทางเดียวกัน
Web1.0 สู่ยุค Web2.0
เว็บรุ่นเก่านั้น Content มักเป็นลิขสิทธิ์ของเจ้าของเว็บ ที่ไม่ต้องการให้นาไปลงที่อื่น แต่ด้วยความ
เป็นเครือข่ายที่เปิดกว้างของ Web2.0 กติกานี้จึงเปลี่ยนไป เจ้าของเนื้อหากลับต้องการให้เนื้อหาของตัวเอง
แพร่หลายมากที่สุด เช่น Youtube ให้แปะ Code สั้นๆ แล้วนาคลิปไปฉายในเว็บใดก็ได้ หรือ Blog แทบทุก
แห่งก็มี RSS ให้ผู้อ่านเข้าดูผ่านโปรแกรมอื่นๆ หรือเว็บอื่นๆ ได้
Web1.0
doubleClick.com ระบบแปะแบนเนอร์โฆษณาตายตัว ofoto.com เว็บอัลบั้มเก็บรูปออนไลน์แบบ
เก่า akamai.com เว็บศูนย์กลางรับฝากไฟล์ให้ดาวน์โหลด britannica.com จับสารานุกรมมาออนไลน์ใส่
เว็บ Homepage ส่วนตัว ผู้เขียนต้องมีความรู้พื้นฐานการทาเว็บ และยากที่จะแบ่งปันส่งต่อเนื้อหาออกไป
แข่งกันจอง Domain Name ชื่อเว็บดีๆ ไว้เก็งกาไร
Web2.0
Google Adsense ระบบโฆษณาเป็นลิงค์ตามแต่คาที่ผู้ใช้ค้นหา flickr.com เว็บอัลบั้มเก็บและแชร์
รูปออนไลน์ที่มีการโยงใยเป็นชุมชน ส่งต่อรูปกันง่าย BitTorrent ระบบที่ผู้ใช้ต่างก็ดาวน์โหลดไฟล์จากกันและ
กันเอง wikipedia.com เว็บสารานุกรมที่ผู้ใช้บัญญัติคากันเอง ให้ความหมายกันเอง และแก้ไขคาของคนอื่นได้
ตลอดเวลา Blog เขียนง่าย ใส่รูป เสียง คลิปได้ง่ายๆ เหมือนส่งเมล เผยแพร่ส่งต่อได้กว้างขวาง
SEO (Search Engine Optimization) ลงทุนกับเทคนิคทาให้ลิงค์เว็บบริษัทตัวเองได้อยู่หน้าแรกบนๆ ใน
Google, เสิร์ชอื่นๆ
Web3.0
ยุคของอินเทอร์เน็ต กาลังจะก้าวไปสู่ยุคที่ 3 โดยในยุคแรก หรือ Web 1.0 นั้นเป็นเรื่องของการ
ที่ผู้ให้บริการนาเสนอข้อมูลให้กับบุคคลทั่วไป ผู้อ่านมีส่วนร่วมน้อยมากในการเติมแต่งข้อมูล แต่ในยุค
ที่ 2 หรือ Web 2.0 บุคคลทั่วไปคือผู้สร้างเนื้อหา และนาเสนอข้อมูลต่างๆ มีการแบ่งปันความรู้ซึ่งกัน
และกันอย่างแท้จริงด้วยการสร้างเสริมข้อมูลสารสนเทศให้มีคุณค่าและมีข้อมูลที่ถูกต้องที่สุด ตัวอย่างที่
เห็นได้ชัด และเป็นที่รู้จักกันดีอย่าง Wikipedia นั้น ได้ทาให้ความรู้ถูกต่อยอดไปอยู่ตลอดเวลา ข้อมูล
ทุกอย่างได้มาจากการเติมแต่งอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เกิดจากการคานอานาจของข้อมูลของแต่ละบุคคลทา
ให้ข้อมูลนั้นถูกต้องมากที่สุดและจะถูกมากขึ้นเมื่อเรื่องนั้นถูกขัดเกลามาเป็นเวลายาวนาน แต่สาหรับยุค
ที่ 3 ที่ Web 3.0 กาลังจะเข้ามามีอิทธิพล เป็นการนาแนวคิดของ Web 2.0 มาทาให้ Web นั้นสามารถ
จัดการข้อมูลจานวนมากๆ ได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งทุกวันนี้ผู้ใช้ทั่วไปที่เป็นผู้สร้างเนื้อหา ได้เพิ่มจานวนมากขึ้น
เช่น การเขียน Blog, การแชร์รูปภาพและไฟล์มัลติมีเดียต่างๆ ทาให้ข้อมูลมีจานวนมหาศาล ด้วยเหตุนี้
จึงจาเป็นต้องมีความสามารถในการข้อมูลดังกล่าวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเอาข้อมูลเหล่านั้นมาจัดการ
ให้อยู่ในรูปแบบ Metadata หรือ ข้อมูลที่บอกรายละเอียดของข้อมูล (Data about data) ทาให้เว็บ
กลายเป็น Semantic Web หรือเว็บที่ใช้ Metadata มาอธิบายสิ่งต่างๆ บนเว็บ ซึ่งในตอนนี้จะเห็นกัน
ทั่วไปในรูปของTagนั่นเองถ้าจะกล่าวอีกนัยหนึ่งSemantic Web คือ การรวมควบรวมกันของฐานข้อมูล
แบบอัตโนมัติโดยใช้การคาดเดา และหลักทางคณิตศาสตร์เข้ามาช่วย ซึ่งผลลัพธ์ของ Application ที่
สร้างขึ้นบน Semantic Web จะถูกส่งไปยังอินเทอร์เน็ต และส่งต่อไปยัง Web Browser เช่น Internet
Explorer, Firefox เป็นต้น โดยเว็บเบราเซอร์ อาจจะถูกฝังตัวอยู่ในอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ
ตู้เย็นโทรทัศน์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งอุปกรณ์ที่ถูกฝังเว็บเบราเซอร์ไว้ในตัวนั้นส่วนใหญ่จะสามารถ
เชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตได้
เทคโนโลยีสาหรับยุค Web 3.0
จากคุณลักษณะในเรื่องความฉลาดสาหรับการบริหารจัดการข้อมูล จึงทาให้ Web 3.0 เป็นการนา
เทคโนโลยี Semantic Web และ AI มาผสมผสานกันซึ่งมีลักษณะเด่นดังต่อไปนี้ Semantic Web เป็นการ
เชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ ทั้งที่อยู่ในเว็บของผู้พัฒนาและแหล่งข้อมูลอื่นๆ ให้มีความสัมพันธ์กัน ซึ่งทาให้ฐานข้อมูล
มีขนาดใหญ่มากๆ หรืออาจจะทาให้เกิดฐานข้อมูลโลก(Global Database) เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่น่าจะเข้าไปมี
ส่วนให้การพัฒนาเว็บให้เป็น Web 3.0 นั้น มีดังนี้
1. AI (Artificial Intelligence) หรือปัญญาประดิษฐ์ เป็นการสร้างความฉลาดให้ระบบ
คอมพิวเตอร์ ทาให้สามารถคาดเดาพฤติกรรม และวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้งานเว็บ ช่วยใน
การค้นหาข้อมูลซึ่งมีจานวนมาก เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุดนอกจากเทคโนโลยี
Semantic Web และ AI แล้ว ยังมีการพัฒนาเว็บในยุค Web 3.0 โดยใช้เทคโนโลยีอื่นๆ ได้แก่
2. Automated reasoning การเขียนโปรแกรมให้ระบบคอมพิวเตอร์รู้จักการแก้ปัญหาเอง
มีการประมวลผลได้อย่างสมเหตุสมผล พร้อมทั้งแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้า อีกทั้งปรับปรุงระบบ
เองได้โดยอัตโนมัติ ป็นระบบสมองกล ที่นิยายวิทยาศาสตร์มักจะนาไปใส่ไว้ในหุ่นยนต์ โดยเจ้า AI
จะสามารถคาดเดาผู้ใช้งานได้ว่ากาลังค้นหา หรือคิดอะไรอยุ่ เป็นการผสมผสาน Application หรือ
โปรแกรม หรือบริการต่างๆ ของเว็บ ที่มาจากแหล่งต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อประโยชน์ของผู้ใช้งาน
3. Ontology หรือ OWL เป็นภาษาที่ใช้ในการอธิบายสิ่งต่างๆ ให้มีความสัมพันธ์กัน โดยดู
จากความหมายของสิ่งนั้นๆ ซึ่งก็จะเชื่อมโยงกับระบบ Metadata คือภาษาที่ใช้เป็นตัวอธิบายข้อมูล
เชิงสัมพันธ์ (Data about Data) หรือ “ข้อมูลที่ใช้อธิบายความหมายของข้อมูล” หรือ Tags นั่นเอง
4. Semantic Wiki เป็นการอธิบายคาๆ หนึ่ง คล้ายกับดิกชันนารีนั้นเองครับ ดังนั้นถ้า Web
3.0 เป็น Wiki ด้วยแล้วนั้น จะทาให้เราสามารถหา ความหมาย หรือข้อมูลต่างๆ ได้ละเอียด และแม่นยามาก
ขึ้น เมื่อข้อมูลมันมีมาก คนเขียนบล็อกก็มีเยอะ ทาให้เนื้อหามีมากมายขึ้นทุกที จนบางทีก็ไม่รู้ว่าจะค้นหา
ข้อมูลที่ต้องการ ด้วยคีย์เวิร์ดอะไร ดังนั้นถ้าใช้คาค้นหา แบบกว้างๆ แต่กาจัดวงแคบๆให้เราได้ก็คงเป็นผลดี
การค้นหาแบบข้อมูลซ้อนข้อมูลหรือใช้การค้นหาหลายทิศทาง(Vertical Search) ผสมกับความเป็นส่วนตัวเข้า
ช่วย (Personalize) จะสามารถโฟกัสข้อมูลลงไปได้หรืออีกหลายเทคโนโลยีซึ่งสามารถอ่านเพิ่มเติมได้จาก
บทความ "12 เทคโนโลยี (ไม่) พร้อมใช้ในWeb 3.0"
5. Semantic Web เป็นระบบที่มีการเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ ทั้งที่อยู่ในเว็บของผู้พัฒนาและ
แหล่งข้อมูลอื่นๆ ให้มีความสัมพันธ์กัน ซึ่งจะทาให้ระบบฐานข้อมูลมีขนาดใหญ่มากๆ หรืออาจทาให้เกิด
ฐานข้อมูลโลก (Global Database) ไปเลยก็ได้
ข้อแตกต่างของ Web2.0 และ Web3.0
ถ้าแบ่งยุคของ Internet ในตอนนี้อาจแบ่งได้ 2 ยุค และเรากาลังก้าวไปสู่ยุดที่ 3 ในไม่ช้านี้ในยุดแรก
Web 1.0 นั้นเป็นเรื่องของการที่ผู้ให้บริการนาเสนอข้อมูลให้กับบุคคลทั่วไป โดยทาในลักษณะเดียวกับหนังสือ
ทั่วไป ที่ผู้อ่านมีส่วนร่วมน้อยมากในการเติมแต่งข้อมูล แต่ในยุคของ Web2.0 บุคคลทั่วไปคือผู้สร้างเนื้อหา
และนาเสนอข้อมูลต่าง ๆ จาก Web 2.0 ในเปลือกนัท ทาให้เราเข้าใจว่าในยุคที่ 2 นั้นเป็นเรื่องของการ
แบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกันอย่างแท้จริง โดยการสร้างเสริมข้อมูลสารสนเทศ ให้มีคุณค่าและมีข้อมูลที่ถูกต้อง
ที่สุด ดังตัวอย่างที่เป็นสิ่งที่ทุกคนคงรู้จักกันดีอย่าง Wikipedia ทาให้ความรู้ถูกต่อยอดไปอยู่ตลอดเวลา ข้อมูล
ทุกอย่างได้มาจากการเติมแต่งอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เกิดจากการคานอานาจของข้อมูลของแต่ละบุคคลทาให้ข้อมูล
นั้นถูกต้องมากที่สุดและจะถูกมากขึ้นเมื่อเรื่องนั้นถูกขัดเกลามาตามระยะเวลายาวนานและวันนี้ Web 3.0
กาลังจะมาเป็นการนาแนวคิดของ Web 2.0 มาทาให้ Web นั้นสามารถจัดการข้อมูลจานวนมาก ๆ โดยอย่าง
ที่เรารู้กันดีว่าผู้ใช้ทั่วไปนั้นเป็นผู้สร้างเนื้อหา ได้เพิ่มจานวนมากขึ้น เช่นการเขียน Blog, การแชร์รูปภาพและ
ไฟล์มัลติมีเดียต่าง ๆ ทาให้ข้อมูลมีจานวนมหาศาล ทาให้จาเป็นต้องมีความสามารถในการข้อมูลดังกล่าวอย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเอาข้อมูลต่าง ๆ เหล่านั้นมาจัดการให้อยู่ในรูปแบบMetadata ที่หมายถึงข้อมูลที่บอก
รายละเอียดของข้อมูล (Data about data) ทาให้เว็บกลายเป็นSematic Web กล่าวคือเว็บที่ใช้ Metadata
มาอธิบายสิ่งต่าง ๆ บนเว็บ ซึ่งในตอนนี้เราจะเห็นกันทั่วไปนั่นคือ Tag นั้นเอง โดยที่ Tag ก็คือคาสั้น ๆ หลาย
ๆ คา ที่เป็นหัวใจของเนื้อหา เพื่อทาให้เราสามารถเข้าถึงเนื้อหาต่าง ๆ ได้ด้วยการใช้ Tag ต่าง ๆ เพื่อเข้าถึง
ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง แต่แทนที่ผู้ผลิตเนื้อหาจะใส่เอง แต่ตัว Web จะทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลและวิเคราะห์
ข้อมูลเหล่านั้น แล้วให้Tags ตามความเหมาะสมให้เราแทนโดยเมื่อได้ Tag มาแล้ว ข้อมูลแต่ละ Tag จะมี
ความสัมพันธ์กับอีก Tag โดยปริยาย เช่นข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท Apple ก็จะมี Tag ที่เกี่ยวกับ Computer,
iPod, iMac …และ Tag ที่มีเนื้อหา Computer ก็มี Tag ที่เชื่อมโยงกับ Tag ที่มีเนื้อหาด้าน Electronic โดย
จะเชื่อมโยงแบบนี้ไปเรื่อย ๆ ทาให้ข้อมูลมีการเชื่อมโยงกันเหมือนฐานข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันใน
เชิงข้อมูล ทาให้อินเตอร์เน็ตกลายเป็นฐานข้อมูลความรู้ขนาดใหญ่ ที่ข้อมูลทุกอย่างถูกเชื่อมต่อกันอย่างเป็น
ระบบมากขึ้นเปรียบเทียบไว้ว่า Web 1.0 ผู้เข้าชมสามารถอ่านได้อย่างเดียว (read-only) แต่พอมาเป็น
web 2.0 ผู้เข้าชมสามารถอ่านและเขียนได้ด้วย (read-write
รูปภาพ แสดงWeb 1.0 เจ้าของเว็บเป็นผู้สร้างระบบและเนื้อหาบนเว็บ ผู้เข้าชม อ่านอย่างเดียว,
Web 2.0
เจ้าของเว็บสร้างระบบและเนื้อหาบนเว็บ ผู้เข้าชมสร้างเนื้อหาบนระบบเดียวกับเจ้าของเว็บแล้วให้
ผู้ชมอื่นๆ ได้ดูต่อ จนเป็นที่มาของ Social Networkแต่พอมาเป็น Web 3.0 จะกลายเป็น อ่าน/เขียน/จัดการ
ได้สามอย่างพร้อมกัน (read-write-execute)คราวนี้ความสามารถของมันก็จะมากมายมหาศาล แทนที่จะเข้า
ไปอ่านและเพิ่มข้อมูล เราก็จะสามารถปรับแต่งแก้ไขข้อมูลหรือระบบได้เองอย่างอิสระมากขึ้นไปเจอข้อมูล
อื่นๆ ได้อีกด้วย โดยไม่จาเป็นจะต้องเป็นข้อความเสมอไปดังนั้น Web 3.0 คือเทคโนโลยีหรือแนวความคิดที่จะ
เชื่อมโยงข้อมูลใน web ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกันทั้งภายใน web หรือภายในเครือข่ายของโลก ซึ่งมองไปแล้วมัน
ก็คือ Database ของโลกเลย แต่ก็เป็นแนวคิดที่จะทาให้หาข้อมูล ที่ต้องการได้ง่ายขึ้น ซึ่งก็จะมี format ข้อมูล
ในการติดต่อสื่อสารกัน แต่ก็ based-on XML เช่นพวก RDF (Resource Definition Framework), OWL
(Ontology Web Language) ยุคของเว็บ 3.0 นี้เองที่มีความฉลาดล้าหน้าไปอย่างมาก และความฉลาด
ของมันนี่เองจะนาซึ่งความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่และท้าทายเหล่าผู้พัฒนาเว็บไซต์และผู้ใช้มีจัดทาเว็บไซต์ที่มี
ประสิทธิภาพ ต่อไปในอนาคต
Static Website
หมายถึง เว็บไซต์ที่สร้างด้วยภาษา HTML ธรรมดา และบันทึกเป็นไฟล์นามสกุล .html เนื้อหา
ข้อความ รูปภาพในหน้าเว็บเพจนั้นจะเป็นไปตามที่เราเขียนกาหนดไว้เมื่อมีผู้เรียกดูหน้าเว็บเพจนั้น Web
Server ก็จะส่งไฟล์นั้นไปให้ยังเครื่องที่ร้องขอ และแสดงผลออกทางโปรแกรมเว็บเบราเซอร์บนเครื่องของผู้ชม
นั้นStatic Website เหมาะกับเว็บไซต์ที่มีขนาดไม่ใหญ่ จานวนหน้าเว็บเพจไม่มาก ไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมู
บ่อยๆ และไม่มีการติดต่อฐานข้อมูลถ้าเราจะสร้างเว็บรูปแบบนี้ สามารถทาได้ไม่ยาก โดยต้องศึกษาเรื่องการ
เขียนเว็บเพจด้วย HTML ก่อนข้อดีของเว็บรูปแบบนี้ คือ เราสามารถกาหนดรูปแบบการตกแต่ง และเนื้อหา
ของแต่ละหน้าได้ตามต้องการ แต่ก็ควรควบคุมสไตล์ของแต่ละหน้าให้เหมือนกันด้วย อย่าให้หน้าใดโดดจนคิด
ว่าเป็นคนละเว็บไซต์กันส่วนข้อเสีย ก็คือ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงยุ่งยาก จะต้องแก้ไขกับไฟล์หน้าเว็บเพจนั้นๆ
เมื่อแก้ไขแล้ว ก็ต้อง Upload ไฟล์นั้นขึ้นไป Web Server ใหม่ทุกครั้ง และเว็บรูปแบบนี้จะไม่สามารถใช้งาน
ฐานข้อมูลได้
Dynamic Website
หมายถึง เว็บไซต์ที่หน้าเว็บเพจสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลเองได้ โดยไม่ต้องเขียนแต่ละหน้าเว็บเพจ
เองเช่น กระดานข่าว (Webboard), ระบบสืบค้นข้อมูลสังเกตได้ว่า เมื่อมีผู้มาตั้งกระทู้ และตอบกระทู้ ก็จะ
เกิดหน้าเว็บเพจนั้นๆ ขึ้นได้เอง โดยที่เราไม่ได้เป็นคนสร้างหน้าเว็บเพจเหล่านั้นเองเว็บไซต์รูปแบบนี้จะถูก
สร้างด้วยภาษา Script แบบ Server Side Script เช่น PHP, ASP, ASP.Net, JSP และอื่นๆ ไฟล์เอกสารที่ไ้ด้
จะมีนามสกุล .php, .asp เป็นต้นและมักจะมีการติดต่อกับฐานข้อมูลเพื่อบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล หรือนา
ข้อมูลจากฐานข้อมูลขึ้นมาแสดงผลเป็นหน้าเว็บเพจส่วนการทางานของเว็บไซต์รูปแบบนี้ จะต่างจากแบบ
Static Website โดยเมื่อมีผู้ชมเรียกดูหน้าเว็บเพจ ไฟล์หน้าเว็บเพจนั้นจะถูกแปลและ execute คาสั่งโดย
ตัว Interpreter ที่ฝั่ง Server ใ้ห้อยู่ในรูปแบบเอกสาร HTML ก่อน จึงส่งกลับให้ Web Server เพื่อส่งต่อไป
ให้โปรแกรมเว็บเบราเซอร์ของผู้ใช้งานต่อไปการสร้างเว็บไซต์รูปแบบนี้ ต้องอาศัยความรู้ในการเขียนโปรแกรม
มากกว่าแบบแรกมาก นอกจากจะต้องมีความรู้พื้นฐาน HTML แล้ว ยังต้องเขียนภาษา Server Side Script
เป็นอย่างน้อย 1 ภาษา ต้องรู้เรื่องการจัดการฐานข้อมูล ต้องเขียน SQL เ้พื่อจัดการกับข้อมูลในฐานข้อมูล
ได้ และถ้าอยากให้ระบบงานทางานได้อย่างรวดเร็วไม่ต้อง Refresh หน้าจอบ่อยๆ ยังต้องรู้เรื่อง AJAX อีก
ด้วยสาหรับผู้อ่านที่ไม่ได้สนใจจะทางานด้านนี้ ก็ไม่จาเป็นต้องเรียนรู้การเขียนภาษา Script เหล่านี้ เอาเวลา
ไปเตรียมเนื้อหา และโปรโมทเว็บไซต์ให้ออกดอกออกผลดีกว่าเพราะในปัจจุบันมีระบบที่จะช่วยให้เราจัดการ
เนื้อหาเว็บไซต์ได้อย่างสะดวก เรียกว่า Web CMS เพียงแค่เรียนรู้วิธีการใช้งาน ก็สามารถสร้างเว็บไซต์แบบ
Dynamic ได้โดยไม่ต้องเขียนโปรแกรมอะไรเลย(แต่สาหรับเว็บไซต์ที่ทางานเฉพาะเจาะจง ก็ยังจาเป็นต้อง
เขียนโปรแกรมเพื่อสร้าง Web Application สาหรับใช้งานเองอยู่ ซึ่งเราก็ปล่อยให้เป็นเหน้าที่ของเหล่า
โปรแกรมเมอร์ต่อไปค่ะ)เราสามารถที่จะสร้างเว็บไซต์โดยให้บางหน้าเว็บเพจเป็นแบบ Static ที่ใช้ HTML
ธรรมดา เขียน และให้บางหน้าสร้างเป็นแบบ Dynamic โดยใช้ภาษา Script
หลักการออกแบบเวบ
หลักการออกแบบเวบ
หลักการออกแบบเวบ

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLโครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
บทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการบทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการBeeiiz Gubee
 
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานบทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรกบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรกVisiene Lssbh
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)tumetr
 
สื่อสำหรับผู้พิการ
สื่อสำหรับผู้พิการสื่อสำหรับผู้พิการ
สื่อสำหรับผู้พิการPop Punkum
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะTanyarad Chansawang
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพZnackiie Rn
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์Bank Sangsudta
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ jamiezaa123
 
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”Pitchapa Liamnopparat
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสoraneehussem
 
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพRapeepan Thawornwanchai
 
การใช้ Infinitive และ gerund
การใช้ Infinitive และ gerundการใช้ Infinitive และ gerund
การใช้ Infinitive และ gerundgoffee2012
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะChamp Wachwittayakhang
 
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงานคำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงานsomdetpittayakom school
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานChamp Wachwittayakhang
 

What's hot (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLโครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
 
บทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการบทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการ
 
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงานบทที่4 ผมการดำเนินงาน
บทที่4 ผมการดำเนินงาน
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรกบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ หน้าแรก
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
 
สื่อสำหรับผู้พิการ
สื่อสำหรับผู้พิการสื่อสำหรับผู้พิการ
สื่อสำหรับผู้พิการ
 
Scrum+diario.pdf
Scrum+diario.pdfScrum+diario.pdf
Scrum+diario.pdf
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิงเอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง
 
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
บทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบสบทที่ 8 กรด เบส
บทที่ 8 กรด เบส
 
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
 
การใช้ Infinitive และ gerund
การใช้ Infinitive และ gerundการใช้ Infinitive และ gerund
การใช้ Infinitive และ gerund
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
 
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงานคำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 

Similar to หลักการออกแบบเวบ

สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กParinda Wareesree
 
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์Ta'May Pimkanok
 
สมุดเล่มเล็ก การออกแบบเว็บไซต์
สมุดเล่มเล็ก การออกแบบเว็บไซต์สมุดเล่มเล็ก การออกแบบเว็บไซต์
สมุดเล่มเล็ก การออกแบบเว็บไซต์Taew Chom
 
พื้นฐานการออกแบบเว็บ
พื้นฐานการออกแบบเว็บพื้นฐานการออกแบบเว็บ
พื้นฐานการออกแบบเว็บsombatse
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์kruple
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17sangkom
 
Clear And Effective Communication In Web Design
Clear And Effective Communication In Web DesignClear And Effective Communication In Web Design
Clear And Effective Communication In Web Designmonozone
 
Designing of Web-Based Instruction of Education
Designing of Web-Based Instruction of EducationDesigning of Web-Based Instruction of Education
Designing of Web-Based Instruction of Educationkhon Kaen University
 
เวบ เล่มเลก
เวบ เล่มเลกเวบ เล่มเลก
เวบ เล่มเลกaew1234
 
เวบ เล มเลก
เวบ เล มเลกเวบ เล มเลก
เวบ เล มเลกJaingarm Mai
 
เวบ เล่มเลก
เวบ เล่มเลกเวบ เล่มเลก
เวบ เล่มเลกaew1234
 
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ตการใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ตการใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ตapisak smutpha
 
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ตการใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ตHaprem HAprem
 

Similar to หลักการออกแบบเวบ (20)

สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์
 
เล่มเล็ก
เล่มเล็กเล่มเล็ก
เล่มเล็ก
 
สมุดเล่มเล็ก การออกแบบเว็บไซต์
สมุดเล่มเล็ก การออกแบบเว็บไซต์สมุดเล่มเล็ก การออกแบบเว็บไซต์
สมุดเล่มเล็ก การออกแบบเว็บไซต์
 
พื้นฐานการออกแบบเว็บ
พื้นฐานการออกแบบเว็บพื้นฐานการออกแบบเว็บ
พื้นฐานการออกแบบเว็บ
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
 
กระบวนการพัฒนาเว็บ
กระบวนการพัฒนาเว็บกระบวนการพัฒนาเว็บ
กระบวนการพัฒนาเว็บ
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
 
Twcag2008
Twcag2008Twcag2008
Twcag2008
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
 
Clear And Effective Communication In Web Design
Clear And Effective Communication In Web DesignClear And Effective Communication In Web Design
Clear And Effective Communication In Web Design
 
Designing of Web-Based Instruction of Education
Designing of Web-Based Instruction of EducationDesigning of Web-Based Instruction of Education
Designing of Web-Based Instruction of Education
 
เวบ เล่มเลก
เวบ เล่มเลกเวบ เล่มเลก
เวบ เล่มเลก
 
เวบ เล มเลก
เวบ เล มเลกเวบ เล มเลก
เวบ เล มเลก
 
เวบ เล่มเลก
เวบ เล่มเลกเวบ เล่มเลก
เวบ เล่มเลก
 
ใบความที่ 3
ใบความที่ 3ใบความที่ 3
ใบความที่ 3
 
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ตการใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ตการใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ตการใช้งานอินเทอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
บท5
บท5บท5
บท5
 

หลักการออกแบบเวบ

  • 1. หลักการออกแบบเว็บไซต์ เว็บไซต์เป็นสื่อที่ได้รับความนิยมอย่ามากบนอินเตอร์เน็ต ซึ่งเว็บไซต์เป็นสื่อที่อยู่ในความควบคุมของ ผู้ใช้โดยสมบูรณ์ กล่าวคือ ผู้ใช้สามารถตัดสินใจเลือกได้ว่าจะดูเว็บไซต์ใดและจะไม่เลือกดูเว็บไซต์ใด ได้ตาม ต้องการ จึงทาให้ผู้ใช้ไม่มีความอดทนต่ออุปสรรคและปัญหาที่เกิดจากการออกแบบเว็บไซต์ผิดพลาดถ้าผู้ใช้ เห็นว่าเว็บที่กาลังดูอยู่นั้นไม่มีประโยชน์ต่อตัวเขา หรือไม่เข้าใจว่าเว็บไซต์นี้จะใช้งานอย่างไร เขาก็สามารถที่จะ เปลี่ยนไปดูเว็บไซต์อื่นๆ ได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากในปัจจุบันมีเว็บไซต์อยู่มากมาย และยังมีเว็บไซด์ที่เกิดขึ้น ใหม่ ๆ ทุกวัน ผู้ใช้จึงมีทางเลือกมากขึ้น และสามารถเปรียบเทียบคุณภาพของเว็บไซด์ต่าง ๆ ได้เอง เว็บไซด์ที่ได้รับการออกแบบอย่างสวยงาม มีการใช้งานที่สะดวก ย่อมได้รับความสนใจจากผู้ใช้ มากกว่าเว็บ ไซด์ที่ดูสับสนวุ่นวาย มีข้อมูลมากมายแต่หาอะไรไม่เจอ นอกจากนี้ยังใช้เวลาในการแสดงผลแต่ละหน้านาน เกินไป ซึ่งปัญหาเหล่านี้ล้วนเป็นผลมาจากการออกแบบเว็บไซด์ไม่ดีทั้งสิ้น ดังนั้น การออกแบบเว็บไซด์จึงเป็นกระบวนการสาคัญในการสร้างเว็บไซด์ ให้ประทับใจผู้ใช้ ทาให้เขาอยาก กลับเข้ามาเว็บไซด์เดิมอีกในอนาคต ซึ่งนอกจากต้องพัฒนาเว็บไซด์ที่ดีมีประโยชน์แล้ว ยังต้องคานึงถึงการ แข่งขันกับเว็บไซด์อื่น ๆ อีกด้วย องค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์ที่มีประสิทธิภาพนั้นต้องคานึงถึง องค์ประกอบสาคัญดังต่อไปนี้ 1. ความเรียบง่าย (Simplicity) หมายถึง การจากัดองค์ประกอบเสริมให้เหลือเฉพาะองค์ประกอบหลัก กล่าวคือในการสื่อสารเนื้อหากับผู้ใช้ นั้น เราต้องเลือกเสนอสิ่งที่เราต้องการนาเสนอจริง ๆ ออกมาในส่วนของกราฟิก สีสัน ตัวอักษรและ ภาพเคลื่อนไหว ต้องเลือกให้พอเหมาะ ถ้าหากมีมากเกินไปจะรบกวนสายตาและสร้างความคาราญต่อผู้ใช้ ตัวอย่างเว็บไซต์ที่ได้รับการออกแบบที่ดี ได้แก่ เว็บไซต์ของบริษัทใหญ่ ๆ อย่างเช่น Apple Adobe Microsoft หรือ Kokia ที่มีการออกแบบเว็บไซต์ในรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน และใช้งานอย่างสะดวก 2. ความสม่าเสมอ ( Consistency) หมายถึง การสร้างความสม่าเสมอให้เกิดขึ้นตลอดทั้งเว็บไซต์ โดยอาจเลือกใช้รูปแบบเดียวกันตลอด ทั้งเว็บไซต์ก็ได้ เพราะถ้าหากว่าแต่ละหน้าในเว็บไซต์นั้นมีความแตกต่างกันมากจนเกินไป อาจทาให้ผู้ใช้เกิด ความสับสนและไม่แน่ใจว่ากาลังอยู่ในเว็บไซต์เดิมหรือไม่ เพราะฉะนั้นการออกแบบเว็บไซต์ในแต่ละหน้าควรที่ จะมีรูปแบบ สไตล์ของกราฟิก ระบบเนวิเกชั่น (Navigation) และโทนสีที่มีความคล้ายคลึงกันตลอดทั้งเว็บไซต์ 3. ความเป็นเอกลักษณ์ (Identity) ในการออกแบบเว็บไซต์ต้องคานึงถึงลักษณะขององค์กรเป็นหลัก เนื่องจากเว็บไซต์จะสะท้อนถึง เอกลักษณ์และลักษณะขององค์กร การเลือกใช้ตัวอักษร ชุดสี รูปภาพหรือกราฟิก จะมีผลต่อรูปแบบของ เว็บไซต์เป็นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น ถ้าเราต้องออกแบบเว็บไซต์ของธนาคารแต่เรากลับเลือกสีสันและกราฟิก มากมาย อาจทาให้ผู้ใช้คิดว่าเป็นเว็บไซต์ของสวนสนุกซึ่งส่งผลต่อความเชื่อถือขององค์กรได้
  • 2. 4. เนื้อหา (Useful Content) ถือเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในเว็บไซต์ เนื้อหาในเว็บไซต์ต้องสมบูรณ์และได้รับการปรับปรุงพัฒนาให้ทันสมัย อยู่เสมอ ผู้พัฒนาต้องเตรียมข้อมูลและเนื้อหาที่ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้องและสมบูรณ์ เนื้อหาที่สาคัญที่สุดคือ เนื้อหาที่ทีมผู้พัฒนาสร้างสรรค์ขึ้นมาเอง และไม่ไปซ้ากับเว็บอื่น เพราะจะถือเป็นสิ่งที่ดึงดูดผู้ใช้ให้เข้ามา เว็บไซต์ได้เสมอ แต่ถ้าเป็นเว็บที่ลิงค์ข้อมูลจากเว็บอื่น ๆ มาเมื่อใดก็ตามที่ผู้ใช้ทราบว่า ข้อมูลนั้นมาจากเว็บใด ผู้ใช้ก็ไม่จาเป็นต้องกลับมาใช้งานลิงค์เหล่านั้นอีก 5. ระบบเนวิเกชั่น (User-Friendly Navigation) เป็นส่วนประกอบที่มีความสาคัญต่อเว็บไซต์มาก เพราะจะช่วยไม่ให้ผู้ใช้เกิดความสับสนระหว่างดู เว็บไซต์ ระบบเนวิเกชั่นจึงเปรียบเสมือนป้ายบอกทาง ดังนั้นการออกแบบเนวิเกชั่น จึงควรให้เข้าใจง่าย ใช้งาน ได้สะดวก ถ้ามีการใช้กราฟิกก็ควรสื่อความหมาย ตาแหน่งของการวางเนวิเกชั่นก็ควรวางให้สม่าเสมอ เช่น อยู่ ตาแหน่งบนสุดของทุกหน้าเป็นต้น ซึ่งถ้าจะให้ดีเมื่อมีเนวิเกชั่นที่เป็นกราฟิกก็ควรเพิ่มระบบเนวิเกชั่นที่เป็น ตัวอักษรไว้ส่วนล่างด้วย เพื่อช่วยอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ที่ยกเลิกการแสดงผลภาพกราฟิกบนเว็บเบรา เซอร์ 6. คุณภาพของสิ่งที่ปรากฏให้เห็นในเว็บไซต์ (Visual Appeal) ลักษณะที่น่าสนใจของเว็บไซต์นั้น ขึ้นอยู่กับความชอบส่วนบุคคลเป็นสาคัญ แต่โดยรวมแล้วก็สามารถ สรุปได้ว่าเว็บไซต์ที่น่าสนใจนั้นส่วนประกอบต่าง ๆ ควรมีคุณภาพ เช่น กราฟิกควรสมบูรณ์ไม่มีรอยหรือขอบ ขั้นบันได้ให้เห็น ชนิดตัวอักษรอ่านง่ายสบายตา มีการเลือกใช้โทนสีที่เข้ากันอย่างสวยงาม เป็นต้น 7. ความสะดวกของการใช้ในสภาพต่าง ๆ (Compatibility) การใช้งานของเว็บไซต์นั้นไม่ควรมีขอบจากัด กล่าวคือ ต้องสามารถใช้งานได้ดีในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย ไม่มีการบังคับให้ผู้ใช้ต้องติดตั้งโปรแกรมอื่นใดเพิ่มเติม นอกเหนือจากเว็บบราวเซอร์ ควรเป็นเว็บที่แสดงผลได้ ดีในทุกระบบปฏิบัติการ สามารถแสดงผลได้ในทุกความละเอียดหน้าจอ ซึ่งหากเป็นเว็บไซต์ที่มีผู้ใช้บริการมาก และกลุ่มเป้าหมายหลากหลายควรให้ความสาคัญกับเรื่องนี้ให้มาก 8. ความคงที่ในการออกแบบ (Design Stability) ถ้าต้องการให้ผู้ใช้งานรู้สึกว่าเว็บไซต์มีคุณภาพ ถูกต้อง และเชื่อถือได้ ควรให้ความสาคัญกับการ ออกแบบเว็บไซต์เป็นอย่างมาก ต้องออกแบบวางแผนและเรียบเรียงเนื้อหาอย่างรอบคอบ ถ้าเว็บที่จัดทาขึ้น ไม่มีมาตรฐานการออกแบบและระบบการจัดการข้อมูล ถ้ามีปัญหามากขึ้นอาจส่งผลให้เกิดปัญหาและทาให้ ผู้ใช้หมดความเชื่อถือ 9. ความคงที่ของการทางาน (Function Stability) ระบบการทางานต่าง ๆ ในเว็บไซต์ควรมีความถูกต้องแน่นอน ซึ่งต้องได้รับการออกแบบสร้างสรรค์ และตรวจสอบอยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น ลิงค์ต่าง ๆ ในเว็บไซต์ ต้องตรวจสอบว่ายังสามารถลิงค์ข้อมูลได้ถูกต้อง หรือไม่ เพราะเว็บไซต์อื่นอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ปัญหาที่เกิดจากลิงค์ ก็คือ ลิงค์ขาด ซึ่งพบได้ บ่อยเป็นปัญหาที่สร้างความราคาญกับผู้ใช้เป็นอย่างมาก
  • 3. ในการออกแบบเว็บไซต์นั้นประกอบด้วยกระบวนการต่าง ๆ เช่น การออกแบบโครงสร้าง ลักษณะ หน้าตา หรือการเขียนโปรแกรม แต่มีหลายคนที่พัฒนาเว็บไซต์ โดยขาดการวางแผนและทางานไม่เป็นระบบ ตัวอย่างเช่น การลงมือออกแบบโดยการใช้โปรแกรมช่วยสร้างเว็บ เนื้อหาและรูปแบบก็เป็นไปตามที่นึกขึ้นได้ ขณะนั้น และเมื่อเห็นว่าดูดีแล้วก็เปิดตัวเลย ทาให้เว็บนั้นมีเป้าหมายและแนวทางที่ไม่แน่นอน ผลลัพธ์ที่ได้จึง เสี่ยงกับความล้มเหลวค่อนข้างมาก ความล้มเหลวที่พบเห็นได้ทั่วไป ได้แก่ เว็บที่แสดงข้อความว่าอยู่ระหว่างการก่อสร้าง (Under Construction หรือ Coming soon) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงการขาดการวางแผนที่ดีบางเว็บถือได้ว่าตายไปแล้ว เนื่องจากข้อมูลไม่ทันสมัย ขาดการพัฒนาปรับปรุงเทคโนโลยีล้าสมัย ลิงค์ผิดพลาด สิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นถึง การขาดการดูแล ตรวจสอบและพัฒนาให้ทันสมัยอยู่เสมอ การออกแบบเว็บไซต์อย่างถูกต้องจะช่วยลดความผิดพลาดเหล่านี้ และช่วยลดความเสี่ยงที่จะทาให้เว็บประสบ ความล้มเหลว การออกแบบเว็บไซต์ที่ดีต้องอาศัยการออกแบบและจัดระบบข้อมูลอย่างเหมาะสม กระบวนการแรกของการออกแบบเว็บไซต์คือการกาหนดเป้าหมายของเว็บไซต์กาหนดกลุ่มผู้ใช้ ซึ่งการจะให้ ได้มาซึ่งข้อมูล ผู้พัฒนาต้องเรียนรู้ผู้ใช้ หรือจาลองสถานการณ์ สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้เราสามารถออกแบบเนื้อหา และการใช้งานเว็บไซต์ได้อย่างเหมาะสม ตรงกับความต้องการของผู้ใช้อย่างแท้จริง กาหนดเป้าหมายของเว็บไซต์ ขั้นตอนแรกของการออกแบบเว็บไซต์ คือการกาหนดเป้าหมายของเว็บไซต์ให้แน่ชัดเสียก่อน เพื่อจะ ได้ออกแบบการใช้งานได้ตรงกับเป้าหมายที่ได้ตั้งเอาไว้ โดยทั่วไปมักจะเข้าใจว่าการทาเว็บไซต์มีจุดมุ่งหมาย เพื่อบริการข้อมูลของหน่วยงานหรือองค์กรเท่านั้น แต่ในความเป็นจริงแล้ว เว็บไซต์แต่ละแห่งก็จะมีเป้าหมาย ของตนเองแตกต่างกันออกไป กาหนดกลุ่มผู้ใช้เป้าหมาย ผู้ออกแบบเว็บไซต์จาเป็นต้องทราบกลุ่มผู้ใช้เป้าหมายที่เข้ามาใช้บริการเว็บไซต์ เพื่อที่จะได้ตอบสนอง ความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่นเว็บไซต์ที่มีกลุ่มผู้ใช้หลากหลาย เช่น เซิร์ชเอ็นจิน เว็บท่า และเว็บไดเรกทอรี่ แต่เว็บไซต์ส่วนใหญ่นั้นจะตอบสนองความต้องการเฉพาะกลุ่มเท่านั้น ไม่สาหรับทุกคน เพราะไม่สามารถตอบสนองความต้องการของคนที่หลากหลายได้ในเว็บไซต์เดียวสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการจากเว็บ หลังจากที่ได้เป้าหมายและกลุ่มเป้าหมายของเว็บไซต์แล้ว ลาดับต่อไปคือการออกแบบเว็บไซต์เพื่อดึงดูด ผู้ใช้งานให้ได้นานที่สุด ด้วยการสร้างสิ่งที่น่าสนใจเพื่อดึงดูดผู้ใช้โดยทั่วไปแล้ว สิ่งที่ผู้ใช้คาดหวังจากการเข้าชม เว็บไซต์หนึ่ง ได้แก่ - ข้อมูลและการใช้งานที่เป็นประโยชน์ - ข่าวและข้อมูลที่น่าสนใจ - การตอบสนองต่อผู้ใช้ - ความบันเทิง - ของฟรี
  • 4. ข้อมูลหลักที่ควรมีอยู่ในเว็บไซต์ เมื่อทราบถึงความต้องการที่ผู้ใช้ต้องการได้รับเมื่อเข้าชมเว็บไซต์หนึ่งๆแล้วก็ออกแบบเว็บไซต์ให้มี ข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการ ซึ่งข้อมูลต่อไปนี้ เป็นสิ่งที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่คาดหวังจะได้รับเมื่อเข้าไปชมเว็บไซต์ - ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท - รายละเอียดของผลิตภัณฑ์ - ข่าวความคืบหน้าและข่าวจากสื่อมวลชน - คาถามยอดนิยม - ข้อมูลในการติดต่อ ออกแบบหน้าเว็บไซต์ (Page Design) หน้าเว็บเป็นสิ่งแรกที่ผู้ใช้จะได้เห็นขณะที่เปิดเข้าสู่เว็บไซต์ และยังเป็นสิ่งแรกที่แสดงถึงประสิทธิภาพ ในการออกแบบเว็บไซต์อีกด้วย หน้าเว็บจึงเป็นสิ่งสาคัญมาก เพราะเป็นสื่อกลางให้ผู้ชมสามารถใช้ประโยชน์ จากข้อมูลของระบบงานของเว็บไซต์นั้นได้ โดยปกติหน้าเว็บจะประกอบด้วย รูปภาพ ตัวอักษร สีพื้น ระบบ เนวิเกชั่น และองค์ประกอบอื่น ๆ ที่ช่วยสื่อความหมายของเนื้อหาและอานวยความสะดวกต่อการใช้งาน หลัก สาคัญในการออกแบบหน้าเว็บก็คือ การใช้รูปภาพและองค์ประกอบต่าง ๆ ร่วมกันเพื่อสื่อความหมาย เกี่ยวกับ เนื้อหาหรือลักษณะสาคัญของเว็บไซต์ โดยมีเป้าหมายสาคัญเพื่อการสื่อความหมายที่ชัดเจนและน่าสนใจ บน พื้นฐานของความเรียบง่ายและความสะดวกของผู้ใช้ การออกแบบเว็บไซต์ ต้องคานึงถึง 1. ความเรียบง่าย ได้แก่ มีรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน และใช้งานได้สะดวก ไม่มีกราฟิกหรือตัวอักษร ที่เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ชนิดและสีของตัวอักษรไม่มากจนเกินไปทาให้วุ่นวาย 2. ความสม่าเสมอ ได้แก่ ใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ เช่น รูปแบบของหน้า สไตล์ของกราฟิก ระบบเนวิเกชันและโทนสี ควรมีความคล้ายคลึงกันตลอดทั้งเว็บไซต์ 3. ความเป็นเอกลักษณ์ การออกแบบเว็บไซต์ควรคานึงถึงลักษณะขององค์กร เพราะรูปแบบของ เว็บไซต์จะสะท้อนถึงเอกลักษณ์และลักษณะขององค์กรนั้น ๆ เช่น ถ้าเป็นเว็บไซต์ของทาง ราชการ จะต้องดู น่าเชื่อถือไม่เหมือนสวนสนุก ฯลฯ 4. เนื้อหาที่มีประโยชน์ เนื้อหาเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในเว็บไซต์ ดังนั้นควรจัดเตรียมเนื้อหาและข้อมูลที่ ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้อง และสมบูรณ์ มีการปรับปรุงและเพิ่มเติมให้ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื้อหาไม่ควรซ้ากับ เว็บไซต์อื่น จึงจะดึงดูดความสนใจ 5. ระบบเนวิเกชันที่ใช้งานง่าย ต้องออกแบบให้ผู้ใช้เข้าใจง่ายและใช้งานสะดวก ใช้กราฟิกที่สื่อ ความหมายร่วมกับคาอธิบายที่ชัดเจน มีรูปแบบและลาดับของรายการที่สม่าเสมอ เช่น วางไว้ ตาแหน่ง เดียวกันของทุกหน้า 6. ลักษณะที่น่าสนใจ หน้าตาของเว็บไซต์จะต้องมีความสัมพันธ์กับคุณภาพขององค์ประกอบต่างๆ เช่น คุณภาพของกราฟิกที่จะต้องสมบูรณ์ การใช้สี การใช้ตัวอักษรที่อ่านง่าย สบายตา การใช้โทนสีที่เข้ากัน
  • 5. ลักษณะหน้าตาที่น่าสนใจนั้นขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละบุคคล 7. การใช้งานอย่างไม่จากัด ผู้ใช้ส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงได้มากที่สุดเลือกใช้บราวเซอร์ชนิดใดก็ได้ในการ เข้าถึงเนื้อหาสามารถแสดงผลได้ทุกระบบปฏิบัติการและความละเอียดหน้าจอต่างๆ กันอย่างไม่มีปัญหาเป็น ลักษณะสาคัญสาหรับผู้ใช้ที่มีจานวนมาก 8. คุณภาพในการออกแบบ การออกแบบและเรียบเรียงเนื้อหาอย่างรอบคอบ สร้างความรู้สึกว่าเว็บไซต์ มีคุณภาพ ถูกต้อง และเชื่อถือได้ 9. ลิงค์ต่างๆ จะต้องเชื่อมโยงไปหน้าที่มีอยู่จริงและถูกต้อง ระบบการทางานต่างๆ ในเว็บไซต์จะต้องมี ความแน่นอนและทาหน้าที่ได้อย่างถูก การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ (Site Structure Design) โครงสร้างเว็บไซท์ ( Site Structure ) เป็นแผนผังของการลาดับเนื้อหาหรือการจัดวางตาแหน่งเว็บ เพจทั้งหมด ซึ่งจะทาให้เรารู้ว่าทั้งเว็บไซท์ประกอบไปด้วยเนื้อหาอะไรบ้าง และมีเว็บเพจหน้าไหนที่เกี่ยวข้อง เชื่อมโยงถึงกัน ดังนั้นการออกแบบโครงสร้างเว็บไซท์จึงเป็นเรื่องสาคัญ เปรียบเสมือนกับการเขียนแบบอาคาร ก่อนที่จะลงมือสร้าง เพราะจะทาให้เรามองเห็นหน้าตาของเว็บไซท์เป็นรูปธรรมมากขึ้น สามารถออกแบบ ระบบเนวิเกชั่นได้เหมาะสม และเป็นแนวทางการทางานที่ชัดเจน สาหรับขั้นตอนต่อๆไป นอกจากนี้โครงสร้าง เว็บไซท์ที่ดียังช่วยให้ผู้ชมไม่สับสนและค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว วิธีการจัดโครงสร้างเว็บไซท์สามารถทาได้หลายแบบ แต่แนวคิดหลักๆที่นิยมใช้กันมีอยู่ 2 แบบคือ จัดตามกลุ่มเนื้อหา ( Content-based Structure ) จัดตามกลุ่มผู้ชม ( User-based Structure ) รูปแบบของโครงสร้างเว็บไซต์ สามารถวางรูปแบบโครงสร้างเว็บไซต์ได้หลายแบบตามความเหมาะสม เช่น แบบเรียงลาดับ ( Sequence ) เหมาะสาหรับเว็บไซต์ที่มีจานวนเว็บเพจไม่มากนัก หรือเว็บไซท์ที่มี การนาเสนอข้อมูลแบบทีละขั้นตอน แบบระดับชั้น ( Hierarchy ) เหมาะสาหรับเว็บไซต์ที่มีจานวนเว็บเพจมากขึ้น เป็นรูปแบบที่เราจะ พบได้ทั่วไป แบบผสม ( Combination ) เหมาะสาหรับเว็บไซต์ที่ซับซ้อน เป็นการนาข้อดีของรูปแบบทั้ง 2 ข้างต้นมาผสมกัน
  • 6. ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ กาหนดเป้าหมายและวางแผน ในการพัฒนาเว็บไซต์เราควรกาหนดเป้าหมาย และวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การทางานในขั้น ต่อๆไปมีแนวทางที่ชัดเจน เรื่องหลักๆที่เราควรทาในขั้นตอนนี้ประกอบด้วย 1. กาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนว่าเว็บไซต์นี้ต้องการนาเสนอหรือ ต้องการให้เกิดผลอะไร เช่น เป็นเว็บไซต์สาหรับให้ข้อมูลหรือขายสินค้า ซึ่งวัตถุประสงค์นี้จะเป็นตัวกาหนด รายละเอียดอื่นๆที่จะตามมา เช่นโครงสร้างของเว็บไซต์ รวมถึงลักษณะหน้าตา และสีสันของเว็บเพจ ในกรณีที่ เป็นเว็บไซต์ของบริษัทหรือองค์กร วัตถุประสงค์นี้ก็จะต้องวางให้สอดคล้องกับภารกิจขององค์กรด้วย 2. กาหนดกลุ่มผู้ชมเป้าหมาย เพื่อจะได้รู้ว่าผู้ชมหลักของเราคือใคร และออกแบบเว็บไซต์ให้ ตอบสนองความต้องการหรือโดนใจผู้ชมกลุ่มนั้นให้มากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการเลือกเนื้อหา โทนสี กราฟิก เทคโนโลยีที่นามาสนับสนุน และอื่นๆ 3. เตรียมแหล่งข้อมูล เนื้อหาหรือข้อมูลคือสาระที่แท้จริงของเว็บไซต์ เราต้องรู้ว่าข้อมูลที่ จาเป็นต้องใช้จะมาจากแหล่งใดได้บ้าง เช่น ถ้าเป็นเว็บของบริษัท ใครที่จะเป็นผู้ให้ข้อมูล หรือถ้าเป็นเว็บ ข่าวสาร ข่าวสารนั้นจะมาจากแหล่งใด มีลิขสิทธิ์หรือไม่ 4. เตรียมทักษะหรือบุคลากร การสร้างเว็บไซต์ต้องอาศัยทักษะหลายๆด้าน เช่น ในการเตรียม เนื้อหา ออกแบบกราฟิก เขียนโปรแกรม และการดูแลเว็บเซิร์ฟเวอร์ เป็นต้น ซึ่งถ้าเป็นเว็บไซต์ขนาดใหญ่ อาจจะต้องใช้บุคลากรเป็นจานวนมาก แต่สาหรับเว็บไซต์เล็กๆที่ต้องดูแลเพียงคนเดียว เราก็จะต้องศึกษาหา ความรู้ในเรื่องนั้นๆเพื่อเตรียมพร้อมเอาไว้ 5. เตรียมทรัพยากรต่างๆที่จาเป็น เช่น โปรแกรมสาหรับสร้างเว็บไซต์ โปรแกรมสาหรับสร้าง กราฟิก ภาพเคลื่อนไหว และมัลติมิเดีย โปรแกรมอื่นๆที่ต้องใช้ การจดทะเบียนโดเมนเนม ตลอดจนการเตรียม หาผู้ให้บริการรับฝากเว็บไซต์ (Web Hosting) และเลือกแผนบริการที่เหมาะสม วิเคราะห์และจัดโครงสร้างข้อมูล ขั้นตอนนี้จะเป็นการนาข้อมูลต่างๆที่รวบรวมได้จากขั้นแรก ไม่ว่าจะเป็น วัตถุประสงค์ของ เว็บไซต์ คุณลักษณะ ข้อจากัดของกลุ่มผู้ชมเป้าหมาย รวมทั้งเนื้อหาหลักของเว็บไซต์ นามาประเมิน วิเคราะห์ และจัดระบบ เพื่อให้ได้โครงสร้างข้อมูล และข้อกาหนด ซึ่งจะใช้เป็นกรอบสาหรับการออกแบบและดาเนินการ ในขั้นต่อๆไป ผลที่ได้รับจากขั้นนี้ควรประกอบไปด้วย - แผนผังโครงสร้างของเว็บไซต์ ลาดับการนาเสนอ สารบัญ หรือผังงาน - ระบบนาทางหรือเนวิเกชั่น ซึ่งผู้ชมจะใช้สาหรับเปิดเข้าไปยังส่วนต่างๆของเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น โครงสร้างและรูปแบบของเมนู - องค์ประกอบต่างๆที่จะนามาใช้ในเว็บเพจมีอะไรบ้าง เช่น รูปภาพและภาพกราฟิก,เสียง,วีดีโอ ,มัลติมีเดีย,แบบฟอร์ม ฯลฯ อะไรบ้างที่บราวเซอร์ของผู้ชมสนับสนุน และอะไรบ้างที่ต้องอาศัยโปรแกรมเสริม - ข้อกาหนดเกี่ยวกับลักษณะหน้าตาและรูปแบบของเว็บเพจ - ข้อกาหนดของโปรแกรมภาษาสคริปต์หรือเว็บแอพพลิเคชั่น และฐานข้อมูลที่ใช้ในเว็บไซต์ - คุณสมบัติของเว็บเซิร์ฟเวอร์ รวมถึงข้อจากัด และบริการเสริมต่างๆที่มีให้
  • 7. ออกแบบเว็บเพจและเตรียมข้อมูล เป็นขั้นตอนการออกแบบเค้าโครงหน้าตา และลักษณะด้านกราฟิกของหน้าเว็บเพจ เพื่อให้ผู้ชมเกิด อารมณ์ความรับรู้ต่อเว็บเพจตามที่เราต้องการ ดังนั้นผู้ที่ทาหน้าที่นี้จึงควรมีความสามารถทางด้านศิลปะ พอสมควร โปรแกรมที่เหมาะจะใช้ในการออกแบบคือ Adobe Photoshop หรือ Macromedia Fireworks ซี่งผลที่ได้จะประกอบด้วยไฟล์กราฟิกต่างๆ ที่ใช้บนเว็บเพจ เช่น โลโก้,ภาพพื้นหลัง,ปุ่มเมนู,ไอคอน ที่เป็นหัวคอลัมน์ และแบนเนอร์โฆษณาการออกแบบเว็บเพจยังรวมไปถึงการกาหนดสีสัน และรูปแบบของ ส่วนประกอบต่างๆที่ไม่ใช่ภาพกราฟิก เช่น ฟอนต์ ขนาด และสีข้อความ สีพื้นบริเวณที่ว่าง สีและลวดลายของ เส้นกรอบ เป็นต้น นอกจากนี้องค์ประกอบเสริมอื่นๆของเว็บเพจก็ต้องถูกเตรียมไว้ด้วย เช่น ภาพเคลื่อนไหว Flash และโปรแกรม JavaScript ที่ใช้โต้ตอบกับผู้ชม หรือเล่นเอฟเฟ็คต์ต่างๆในส่วนของ เนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเป็นการนาเนื้อหาที่เลือกไว้มาปรับแก้ และตรวจทานความถูกต้อง เพื่อให้พร้อมสาหรับจะ นาไปใส่เว็บเพจแต่ละหน้าในขั้นตอนถัดไป ลงมือสร้างและทดสอบ เป็นขั้นตอนที่เว็บเพจจะถูกสร้างขึ้นมาจริงทีละหน้าๆ โดยอาศัยเค้าโครง และองค์ประกอบกราฟิก ตามที่ออกแบบไว้ เนื้อหาต่างๆจะถูกนามาใส่และจัดรูปแบบ ลิ้งค์และระบบนาทางถูกสร้าง องค์ประกอบเสริม ต่างๆถูกวางเข้าที่ อย่างไรก็ตาม เมื่อลงมือสร้างเว็บเพจจริงเราอาจพบว่าสิ่งที่ออกแบบไว้แล้ว บางอย่างไม่ เหมาะสม หรือควรได้รับการปรับแต่ง ก็สามารถทาได้ โปรแกรมที่ใช้ในขั้นตอนนี้ก็คือโปรแกรมสาหรับสร้าง เว็บไซต์ เช่น Macromedia Dreamweaver เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาควรได้รับการทดสอบก่อนที่จะนาออกเผยแพร่ ไม่ว่าจะเป็นความถูกต้องของ เนื้อหา การทางานของลิ้งค์และระบบนาทาง ตรวจหาความผิดพลาดของโปรแกรมสคริปต์และ ฐานข้อมูล นอกจากนี้ก็ควรทดสอบโดยใช้สภาพแวดล้อมที่เหมือนกับของกลุ่มผู้ชมเป้าหมาย เช่น เวอร์ชั่นของ บราวเซอร์ ความละเอียดของจอภาพและความเร็วที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต เพื่อดูว่าผู้ชมเป้าหมายสามารถชม เว็บไซต์ได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพหรือไม่ เผยแพร่และส่งเสริมให้ป็นที่รู้จัก โดยทั่วไปการนาเว็บไซต์ขึ้นเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตจะทาด้วยการอัพโหลดไฟล์ทั้งหมด คือ HTML และไฟล์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ขึ้นไปเก็บบนเซิร์ฟเวอร์ที่เราเปิดบริการไว้ การอัพโหลดเว็บไซต์ หรือ บางครั้งเรียกว่า “พับลิช” อาจทาด้วยโปรแกรมสร้างเว็บไซต์เอง ซึ่งมีคุณสมบัตินี้ในตัว หรืออาจจะใช้ โปรแกรมยูทิลิตี้ประเภท FTP เช่น CuteFTP และ WS_FTP หรือใช้เครื่องมืออื่นบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ก็ได้ หลังจากนั้นเว็บไซต์ควรได้รับการทดสอบอีกครั้ง เพื่อตรวจหาปัญหาบางอย่างที่ไม่สามารถทดสอบบนเครื่อง คอมพิวเตอร์ของเราได้ เช่น การลิ้งค์ของเว็บเพจกับเว็บไซต์อื่น และการทางานของโปรแกรมสคริปต์กับ ฐานข้อมูล ซึ่งอาจทาไม่ได้บนเครื่องของเรา หรือบนเว็บเซิร์ฟเวอร์อาจมีสภาพแวดล้อมที่ต่างออกไป เว็บไซต์ที่ประสบความสาเร็จ นอกจากต้องมีเนื้อหาที่ดี มีการวางโครงสร้างและการออกแบบที่เหมาะสม แล้ว ยังต้องได้รับการโฆษณา และส่งเสริมให้เป็นที่รู้จักในกลุ่มผู้ชมเป้าหมายหรือในวงกว้างออกไปอีกด้วย การ
  • 8. ส่งเสริมนี้มีกลยุทธที่ทาได้หลายวิธี ซึ่งไม่จาเป็นต้องใช้งบประมาณจานวนมากเสมอไป โดยสามารถทาได้ตั้งแต่ แบบง่ายๆ คือการแลกเปลี่ยนลิ้งค์หรือแบนเนอร์ ประกาศบนเว็บบอร์ดสาธารณะ การส่งอีเมล์ เพิ่มข้อมูลใน เสิร์ชเอ็นจิ้น หรือเว็บไดเร็กทอรี่ เรื่อยไปจนถึงแบบที่ต้องใช้งบประมาณมากขึ้น เช่น การจัดงานเปิดตัว การลง โฆษณาบนเว็บไซต์อื่น ในสิ่งพิมพ์ หรือในวิทยุโทรทัศน์ เป็นต้น ดูแลและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เว็บไซต์ที่เผยแพร่ออกไปแล้วเราไม่ควรทิ้งขว้าง แต่ควรดูแลโดยตลอด ซึ่งหน้าที่นี้ครอบคลุมหลาย เรื่อง ตั้งแต่การตรวจสอบเว็บเซิร์ฟเวอร์ว่าไม่หยุดทางานบ่อยๆ ลิ้งค์ที่เชื่อมโยงไปภายนอกยังคงใช้ได้หรือไม่ (เนื่องจากเว็บไซต์นั้นอาจถูกปิด) คอยตอบคาถามที่มีผู้ฝากไว้บนเว็บเพจ ถ้าเป็นเว็บข่าวสารก็ต้องปรับปรุง ข้อมูลให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา ถ้ามีการใช้ฐานข้อมูลก็ต้องแบ็คอัพข้อมูลอย่างสม่าเสมอ นอกจากนั้นเราควรตรวจสอบสถิติของการเข้าชมเป็นระยะๆ ซึ่งเป็นบริการเสริมที่เว็บเซิร์ฟเวอร์มักมี ให้ เช่น จานวนผู้ชม สถิติว่าเว็บเพจใดมีผู้เข้าชมมากหรือเป็นที่นิยม หลังจากที่เว็บไซต์ได้รับการเผยแพร่ไประยะหนึ่ง เราควรปรับปรุงเพื่อให้ผู้ชมรู้สึกว่ามีความ เปลี่ยนแปลง มีความสดใหม่ ทันสมัย โดยอาจนาข้อมูลสถิติที่รวบรวมไว้มาพิจารณาประกอบด้วย การ เปลี่ยนแปลงทาได้ทั้งในส่วนของเนื้อหา โครงสร้างเว็บไซต์ การออกแบบหน้าตา และการนาเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาเสริม การใช้สีในการออกแบบเว็บไซต์ การสร้างสีสันบนหน้าเว็บเป็นสิ่งที่สื่อความหมายของเว็บไซต์ได้อย่างชัดเจน การเลือกใช้สีให้เหมาะสม กลมกลืน ไม่เพียงแต่จะสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ใช้ แต่ยังสามารถทาให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างเว็บไซต์ ได้ สีเป็นองค์ประกอบหลักสาหรับการตกแต่งเว็บ จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สี จิตวิทยาเกี่ยวกับสี สีนั้นมีความสาคัญอย่างยิ่งในการออกแบบเว็บไซต์ การเลือกสีให้เข้ากับเนื้อหาของเว็บไซต์ จะทาให้ เว็บไซต์มีความน่าเชื่อถือยิ่งขึ้น และยังส่งผลอย่างมากกับความสวยงามของเว็บไซต์ ความรู้สึกที่คนส่วนใหญ่มีต่อสีต่างๆ สีฟ้า ให้ความรู้สึกสงบ สุขุม สุภาพ หนักแน่น เคร่งขรึม เอาการเอางาน ละเอียด รอบคอบ สง่างาม มี ศักดิ์ศรี สูงศักดิ์ เป็นระเบียบถ่อมตน สามารถลดความตื่นเต้น และช่วยทาให้มีสมาธิ แต่ถ้ามีสีน้าเงินเข้มเกินไป ก็จะทาให้รู้สึกซึมเศร้าได้ สีเขียว เป็นสีในวรรณะเย็น จะสร้างความรู้สึกเย็นสบาย ใช้เป็นสีที่ช่วยผ่อนคลายความเครียดได้ ให้ความรู้สึก สงบ เงียบ ร่มรื่น ร่มเย็น การพักผ่อน การผ่อนคลาย ธรรมชาติ ความปลอดภัย ปกติ ความสุข ความสุขุม
  • 9. สีเหลือง เป็นสีแห่งความเบิกบาน เร้าอารมณ์ และเรียกร้องความสนใจ ให้ความรู้สึกแจ่มใส ความสดใส ความ ร่าเริง ความเบิกบานสดชื่น ชีวิตใหม่ ความสด ใหม่ ความสุกสว่าง การแผ่กระจาย อานาจบารมี ให้ลองสังเกต ดูว่า วันที่ท้องฟ้ามืดครื้มปราศจากแสงแดด เราจะรู้สึกหงอยเหงา หดหู่ แต่พอมีแสงแดด ท้องฟ้าสว่าง มีสี เหลือง เราจะรู้สึกมีชีวิตชีวาขึ้น สีแดง เป็นสีที่สร้างความตื่นเต้น และกระตุ้นสมอง สีแดงปานกลางแสดงถึงความมีสุขภาพดี ความมีชีวิต ความรัก ความสาคัญ ความอุดมสมบูรณ์ ความมั่งคั่ง สีแดงจัดมีความหมายแฝงด้านกามารมณ์ นอกจากนี้สี แดงยังสร้างความรู้สึกรุนแรง ให้ความรู้สึกร้อน กระตุ้น ท้าทาย เคลื่อนไหว ตื่นเต้น เร้าใจ มีพลัง มันจะใช้กัน กรณีที่เกี่ยวกับความตื่นเต้น หรืออันตราย สีม่วง ให้ความรู้สึก มีเสน่ห์ น่าติดตาม เร้นลับ ซ่อนเร้น มีอานาจ มีพลังแฝงอยู่ ความรัก ความเศร้า ความ ผิดหวัง ความสงบ ความสูงศักดิ์ เป็นสีที่ปลอบโยน และช่วยลดความเครียด แต่เดิมสีม่วงได้มาจากสัตว์มี กระดองเปลือก ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน มีชื่อว่า Purpura จึงได้ชื่อภาษาอังกฤษว่า Purple สีส้ม ให้ความรู้สึก ร้อน ความอบอุ่น ความสดใส มีชีวิตชีวา วัยรุ่น ความคึกคะนอง การปลดปล่อย ความ เปรี้ยว การระวัง เป็นสีที่เร้าความรู้สึก ปรกติควรใช้แต่น้อยเมื่อเทียบกับสีอื่น สังเกตว่าคนที่อยู่ในห้องสีส้มจะ อยู่ได้ไม่นาน สีน้าตาล ให้ความรู้สึกอบอุ่น ได้พักผ่อน แต่ควรใช้ร่วมกับสีส้ม เหลือง หรือสีทอง เพราะถ้าใช้สีน้าตาลเพียงสี เดียว อาจทาให้เกิดความรู้สึกหดหู่ได้ สีเทา ให้ความรู้สึก เศร้า อาลัย ท้อแท้ ความลึกลับ ความหดหู่ ความชรา ความสงบ ความเงียบ สุภาพ สุขุม ถ่อมตน สีนี้มีข้อดีคือทาให้เย็น แต่สร้างความสร้างความรู้สึกหม่นหมองได้ ควรใช้ร่วมกับสีที่มีชีวิต โทน สว่างอย่างน้อยหนึ่งสี สีขาว ให้ความรู้สึก บริสุทธิ์ สะอาด สดใส เบาบาง อ่อนโยน เปิดเผย การเกิด ความรัก ความหวัง ความจริง ความเมตตา ความศรัทธา ความดีงาม ให้ความรู้สึกรื่นเริง โดยเฉพาะเมื่อใช้กับสีแดง เหลือง และส้ม
  • 10. ทฤษฎีสี รูปด้านล่างวงล้อความสัมพันธ์ของสี ซึ่งบรรจุสีที่นิยมใช้ในเว็บไซต์ไว้ 20 สี เหมาะสาหรับผู้ที่กาลัง เลือกสีที่จะใช้ในเว็บไซต์อยู่เราสามารถใช้ความสัมพันธ์ของวงล้อขอสีนี้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างมากมาย เช่น ต้องการออกแบบให้เว็บไซต์รู้สึกตัดกันโดยสิ้นเชิง เราอาจใช้ชุดสี 4 สีที่ทามุมกัน 90 องศา เช่นดังตัวอย่าง ถ้าเราเลือกชุดสี 1 , 6 , 11 , 16 สีที่ได้จะตัดกันชัดเจน ถ้าต้องการให้เว็บไซต์ดูกลมกลืนก็อาจเลือกชุดสีใกล้เคียงกันก็ได้เช่น เลือกชุดสีเขียวเบอร์ 8 , 9 , 10 , 11 ก็จะได้สีในโทนสีเขียวสว่าง
  • 11. Web 2.0 เป็นคาที่ถูกคิดขึ้นมาอธิบายถึงลักษณะของเทคโนโลยีเวิลด์ไวด์เว็บ และการออกแบบเว็บไซต์ใน ปัจจุบัน ที่มีลักษณะส่งเสริมให้เกิดการแบ่งปันข้อมูล การพัฒนาในด้านแนวความคิดและการออกแบบ รวมถึง การร่วมสร้างข้อมูลในโลกของอินเทอร์เน็ต แนวคิดเหล่านี้นาไปสู่การพัฒนาและการปฏิวัติรูปแบบเทคโนโลยีที่ นาไปสู่เว็บเซอร์วิสหลายอย่าง เช่น บล็อก เครือข่ายสังคมออนไลน์ วิกิ คาว่า “Web 2.0” เริ่มเป็นที่รู้จักในวงกว้าง หลังจากงานประชุม O'Reilly Media Web 2.0 ที่จัดขึ้นในปี 2547 คาว่า “Web 2.0” นั้นเป็นคากล่าวเรียกลักษณะของเวิลด์ไวด์เว็บในปัจจุบัน ตามลักษณะของผู้ใช้งาน โปรแกรมเมอร์และผู้ให้บริการ ซึ่งตัว Web 2.0 เองนั้นไม่ได้กล่าวถึงการพัฒนาทางด้านเทคนิคแต่อย่างใด ทิม เบอร์เนิร์สลี ผู้คิดค้นเวิลด์ไวด์เว็บ ได้ตั้งข้อสังเกตว่า ลักษณะทางเทคนิคของ Web 2.0 นั้นเกิดขึ้นมานานกว่า คาว่า “Web 2.0” จะถูกนามาเรียกใช้ Web 2.0 นั้นมีคาจากัดความหลายอย่าง Tim O'Reilly ได้กล่าวไว้ว่า Web 2.0 เปรียบเหมือนธุรกิจ ซึ่งเว็บ กลายเป็นแพลตฟอร์มหนึ่ง ที่อยู่เหนือการใช้งานของซอฟต์แวร์ โดยไม่ยึดติดกับตัวซอฟต์แวร์เหมือนระบบ คอมพิวเตอร์ที่ผ่านมา โดยมีข้อมูล ที่เกิดจากผู้ใช้หลายคน (ตัวอย่างเช่น บล็อก) เป็นตัวผลักดันความสาเร็จ ของเว็บไซต์อีกต่อหนึ่ง ซึ่งเว็บไซต์ในปัจจุบันมีลักษณะการสร้างโดยผู้ใช้ที่อิสระ และแยกจากกัน ภายใต้ ซอฟต์แวร์ตัวเดียวกัน เพื่อสรรค์สร้างระบบให้ก่อเกิดประโยชน์ในองค์รวม Tim O'Reilly ได้แสดงตัวอย่างของ ระดับของ Web 2.0 ออกเป็นสี่ระดับ ดังนี้ ระดับ 3 - ระดับของการใช้งานจากผู้ใช้ทั่วไปในอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นลักษณะของการสื่อสารของมนุษย์ ภายใต้เว็บไซต์เดียวกัน ตัวอย่างเช่น Wikipedia Skype E-bay Craigslist ระดับ 2 - ระดับการจัดการทั่วไปที่สามารถใช้งานได้โดยไม่จาเป็นต้องผ่านอินเทอร์เน็ต แต่เมื่อ นามาใช้งานออนไลน์ นั้น จะมีประโยชน์มากขึ้นจากการเชื่อมโยงผู้ใช้งานเข้าด้วยกัน ซึ่ง Tim O’Reilly ยกตัวอย่างเว็บไซต์ Flickr เว็บไซต์อัปโหลดภาพที่มีการใช้งานเชื่อมโยงระหว่างภาพ และเช่นเดียวกันระหว่าง ผู้ใช้งาน ระดับ 1 - ระดับการจัดการทั่วไปที่สามารถใช้งานได้โดยไม่จาเป็นต้องผ่านอินเทอร์เน็ต แต่มี ความสามารถเพิ่มขึ้นมีนามาใช้งานออนไลน์ ตัวอย่างเช่น Google Docs และ iTunes ระดับ 0 - ระดับที่สามารถใช้งานได้ทั้งออนไลน์และออฟไลน์ เช่น Mapquest และ Google Maps โดยลักษณะที่เด่นชัดของ Web 2.0 นั้น จะเห็นได้ว่ามีการพัฒนาและการโต้ตอบระหว่างผู้ให้บริการ และ ผู้ใช้งาน แทนที่จากระบบเว็บแบบเก่า ที่เป็นลักษณะของการให้บริการอ่านอย่างเดียว โดยรวมไปถึงการ รวดเร็ว และการง่ายดายของการส่งข้อมูล แทนที่แบบเก่าที่ต้องจัดการผ่านเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งบล็อกและเว็บที่ ให้บริการอัปโหลดภาพถูกนามาใช้เป็นตัวอย่างของ Web 2.0 ที่ให้เห็นได้ทั่วไป ที่มีการให้บริการแสดงความ คิดเห็น รวมถึงการใช้งานที่ง่าย โดยผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องมีความรู้ในด้านเข้าถึงเซิร์ฟเวอร์แต่อย่างใด เห็นได้ว่า ลักษณะของ Web 2.0 นั้นก่อให้เกิดการสร้างเนื้อหา ที่รวดเร็ว และมีการแบ่งปันข้อมูลที่ง่ายขึ้น โดยลักษณะ ของเว็บเปลี่ยนจากทางเน้นหนักทางด้านเทคนิค ไปในด้านข้อมูลข่าวสารแทนที่ และก่อให้เกิดประโยชน์ใน ด้านธุรกิจต่อมา
  • 12. ถึงแม้ว่า Web 2.0 จะมีการนิยมใช้งาน AJAX Flash Flex Java Silverlight ช่วยในการจัดการข้อมูล แต่ตัว เทคโนโลยีเหล่านั้น ไม่ได้ถูกกล่าวถึงในรูปแบบของ Web 2.0 แต่อย่างใด โดยเทคโนโลยีเหล่านั้นช่วยให้เว็บ เพจสามารถดึงข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์มาที่หน้าเว็บได้ทันที โดยไม่จาเป็นต้องอ่านหน้าทั้งหมดใหม่ ซึ่งช่วยให้ ผู้ใช้งานเกิดความสะดวกสบายมากขึ้น คุณลักษณะของเว็บ 2.0 1. หลังจากที่ดอตคอมในยุคนั้นได้ล่มสลายลงไป แนวคิดของการสร้างสรรค์ธุรกิจเว็บไซต์ และการ ออกแบบต่าง ๆ ได้มีพัฒนาการที่สาคัญเพิ่มขึ้นเช่น เรื่องความน่าสนใจของแอพพลิเคชั่นใหม่ๆ รวมถึงวิธีการ ดาเนินธุรกิจออนไลน์ด้วยแนวทางใหม่ๆ จึงได้กาหนดคุณลักษณะของเว็บ 2.0 ดังนี้ 1. ลักษณะเนื้อหามีการแบ่งส่วนบนหน้าเพจเปลี่ยนจากข้อมูลก้อนใหญ่มาเป็นก้อนเล็ก 2. ผู้ใช้สามารถเข้ามาจัดการเนื้อหาบนหน้าเว็บได้และสามารถแบ่งปันเนื้อหาที่ผ่านการจัดการให้กับกลุ่ม คนในโลกออนไลน์ได้ ซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นถือว่าเป็นปรากฏการณ์อย่างหนึ่งของสังคมออนไลน์สังคม ออนไลน์เกิดความเป็นรูปเป็นร่างมากยิ่งขึ้น เกิดกิจกรรมบนนั้นมากขึ้น 3. เนื้อหาจะมีการจัดเรียง จัดกลุ่มมากขึ้นไปกว่าเดิม 4. เกิดโมเดลทางธุรกิจที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น และทาให้ธุรกิจเว็บไซต์กลายเป็นธุรกิจที่มีมูลค่ามหาศาล 5. การบริการ คือ เว็บที่มีลักษณะเด่นในการให้บริการหลาย ๆ เว็บไซต์ที่มีแนวทางเดียวกัน Web1.0 สู่ยุค Web2.0 เว็บรุ่นเก่านั้น Content มักเป็นลิขสิทธิ์ของเจ้าของเว็บ ที่ไม่ต้องการให้นาไปลงที่อื่น แต่ด้วยความ เป็นเครือข่ายที่เปิดกว้างของ Web2.0 กติกานี้จึงเปลี่ยนไป เจ้าของเนื้อหากลับต้องการให้เนื้อหาของตัวเอง แพร่หลายมากที่สุด เช่น Youtube ให้แปะ Code สั้นๆ แล้วนาคลิปไปฉายในเว็บใดก็ได้ หรือ Blog แทบทุก แห่งก็มี RSS ให้ผู้อ่านเข้าดูผ่านโปรแกรมอื่นๆ หรือเว็บอื่นๆ ได้ Web1.0 doubleClick.com ระบบแปะแบนเนอร์โฆษณาตายตัว ofoto.com เว็บอัลบั้มเก็บรูปออนไลน์แบบ เก่า akamai.com เว็บศูนย์กลางรับฝากไฟล์ให้ดาวน์โหลด britannica.com จับสารานุกรมมาออนไลน์ใส่ เว็บ Homepage ส่วนตัว ผู้เขียนต้องมีความรู้พื้นฐานการทาเว็บ และยากที่จะแบ่งปันส่งต่อเนื้อหาออกไป แข่งกันจอง Domain Name ชื่อเว็บดีๆ ไว้เก็งกาไร Web2.0 Google Adsense ระบบโฆษณาเป็นลิงค์ตามแต่คาที่ผู้ใช้ค้นหา flickr.com เว็บอัลบั้มเก็บและแชร์ รูปออนไลน์ที่มีการโยงใยเป็นชุมชน ส่งต่อรูปกันง่าย BitTorrent ระบบที่ผู้ใช้ต่างก็ดาวน์โหลดไฟล์จากกันและ กันเอง wikipedia.com เว็บสารานุกรมที่ผู้ใช้บัญญัติคากันเอง ให้ความหมายกันเอง และแก้ไขคาของคนอื่นได้ ตลอดเวลา Blog เขียนง่าย ใส่รูป เสียง คลิปได้ง่ายๆ เหมือนส่งเมล เผยแพร่ส่งต่อได้กว้างขวาง SEO (Search Engine Optimization) ลงทุนกับเทคนิคทาให้ลิงค์เว็บบริษัทตัวเองได้อยู่หน้าแรกบนๆ ใน Google, เสิร์ชอื่นๆ
  • 13. Web3.0 ยุคของอินเทอร์เน็ต กาลังจะก้าวไปสู่ยุคที่ 3 โดยในยุคแรก หรือ Web 1.0 นั้นเป็นเรื่องของการ ที่ผู้ให้บริการนาเสนอข้อมูลให้กับบุคคลทั่วไป ผู้อ่านมีส่วนร่วมน้อยมากในการเติมแต่งข้อมูล แต่ในยุค ที่ 2 หรือ Web 2.0 บุคคลทั่วไปคือผู้สร้างเนื้อหา และนาเสนอข้อมูลต่างๆ มีการแบ่งปันความรู้ซึ่งกัน และกันอย่างแท้จริงด้วยการสร้างเสริมข้อมูลสารสนเทศให้มีคุณค่าและมีข้อมูลที่ถูกต้องที่สุด ตัวอย่างที่ เห็นได้ชัด และเป็นที่รู้จักกันดีอย่าง Wikipedia นั้น ได้ทาให้ความรู้ถูกต่อยอดไปอยู่ตลอดเวลา ข้อมูล ทุกอย่างได้มาจากการเติมแต่งอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เกิดจากการคานอานาจของข้อมูลของแต่ละบุคคลทา ให้ข้อมูลนั้นถูกต้องมากที่สุดและจะถูกมากขึ้นเมื่อเรื่องนั้นถูกขัดเกลามาเป็นเวลายาวนาน แต่สาหรับยุค ที่ 3 ที่ Web 3.0 กาลังจะเข้ามามีอิทธิพล เป็นการนาแนวคิดของ Web 2.0 มาทาให้ Web นั้นสามารถ จัดการข้อมูลจานวนมากๆ ได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งทุกวันนี้ผู้ใช้ทั่วไปที่เป็นผู้สร้างเนื้อหา ได้เพิ่มจานวนมากขึ้น เช่น การเขียน Blog, การแชร์รูปภาพและไฟล์มัลติมีเดียต่างๆ ทาให้ข้อมูลมีจานวนมหาศาล ด้วยเหตุนี้ จึงจาเป็นต้องมีความสามารถในการข้อมูลดังกล่าวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเอาข้อมูลเหล่านั้นมาจัดการ ให้อยู่ในรูปแบบ Metadata หรือ ข้อมูลที่บอกรายละเอียดของข้อมูล (Data about data) ทาให้เว็บ กลายเป็น Semantic Web หรือเว็บที่ใช้ Metadata มาอธิบายสิ่งต่างๆ บนเว็บ ซึ่งในตอนนี้จะเห็นกัน ทั่วไปในรูปของTagนั่นเองถ้าจะกล่าวอีกนัยหนึ่งSemantic Web คือ การรวมควบรวมกันของฐานข้อมูล แบบอัตโนมัติโดยใช้การคาดเดา และหลักทางคณิตศาสตร์เข้ามาช่วย ซึ่งผลลัพธ์ของ Application ที่ สร้างขึ้นบน Semantic Web จะถูกส่งไปยังอินเทอร์เน็ต และส่งต่อไปยัง Web Browser เช่น Internet Explorer, Firefox เป็นต้น โดยเว็บเบราเซอร์ อาจจะถูกฝังตัวอยู่ในอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ ตู้เย็นโทรทัศน์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งอุปกรณ์ที่ถูกฝังเว็บเบราเซอร์ไว้ในตัวนั้นส่วนใหญ่จะสามารถ เชื่อมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตได้ เทคโนโลยีสาหรับยุค Web 3.0 จากคุณลักษณะในเรื่องความฉลาดสาหรับการบริหารจัดการข้อมูล จึงทาให้ Web 3.0 เป็นการนา เทคโนโลยี Semantic Web และ AI มาผสมผสานกันซึ่งมีลักษณะเด่นดังต่อไปนี้ Semantic Web เป็นการ เชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ ทั้งที่อยู่ในเว็บของผู้พัฒนาและแหล่งข้อมูลอื่นๆ ให้มีความสัมพันธ์กัน ซึ่งทาให้ฐานข้อมูล มีขนาดใหญ่มากๆ หรืออาจจะทาให้เกิดฐานข้อมูลโลก(Global Database) เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่น่าจะเข้าไปมี ส่วนให้การพัฒนาเว็บให้เป็น Web 3.0 นั้น มีดังนี้ 1. AI (Artificial Intelligence) หรือปัญญาประดิษฐ์ เป็นการสร้างความฉลาดให้ระบบ คอมพิวเตอร์ ทาให้สามารถคาดเดาพฤติกรรม และวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้งานเว็บ ช่วยใน การค้นหาข้อมูลซึ่งมีจานวนมาก เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุดนอกจากเทคโนโลยี Semantic Web และ AI แล้ว ยังมีการพัฒนาเว็บในยุค Web 3.0 โดยใช้เทคโนโลยีอื่นๆ ได้แก่ 2. Automated reasoning การเขียนโปรแกรมให้ระบบคอมพิวเตอร์รู้จักการแก้ปัญหาเอง มีการประมวลผลได้อย่างสมเหตุสมผล พร้อมทั้งแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้า อีกทั้งปรับปรุงระบบ เองได้โดยอัตโนมัติ ป็นระบบสมองกล ที่นิยายวิทยาศาสตร์มักจะนาไปใส่ไว้ในหุ่นยนต์ โดยเจ้า AI จะสามารถคาดเดาผู้ใช้งานได้ว่ากาลังค้นหา หรือคิดอะไรอยุ่ เป็นการผสมผสาน Application หรือ โปรแกรม หรือบริการต่างๆ ของเว็บ ที่มาจากแหล่งต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อประโยชน์ของผู้ใช้งาน
  • 14. 3. Ontology หรือ OWL เป็นภาษาที่ใช้ในการอธิบายสิ่งต่างๆ ให้มีความสัมพันธ์กัน โดยดู จากความหมายของสิ่งนั้นๆ ซึ่งก็จะเชื่อมโยงกับระบบ Metadata คือภาษาที่ใช้เป็นตัวอธิบายข้อมูล เชิงสัมพันธ์ (Data about Data) หรือ “ข้อมูลที่ใช้อธิบายความหมายของข้อมูล” หรือ Tags นั่นเอง 4. Semantic Wiki เป็นการอธิบายคาๆ หนึ่ง คล้ายกับดิกชันนารีนั้นเองครับ ดังนั้นถ้า Web 3.0 เป็น Wiki ด้วยแล้วนั้น จะทาให้เราสามารถหา ความหมาย หรือข้อมูลต่างๆ ได้ละเอียด และแม่นยามาก ขึ้น เมื่อข้อมูลมันมีมาก คนเขียนบล็อกก็มีเยอะ ทาให้เนื้อหามีมากมายขึ้นทุกที จนบางทีก็ไม่รู้ว่าจะค้นหา ข้อมูลที่ต้องการ ด้วยคีย์เวิร์ดอะไร ดังนั้นถ้าใช้คาค้นหา แบบกว้างๆ แต่กาจัดวงแคบๆให้เราได้ก็คงเป็นผลดี การค้นหาแบบข้อมูลซ้อนข้อมูลหรือใช้การค้นหาหลายทิศทาง(Vertical Search) ผสมกับความเป็นส่วนตัวเข้า ช่วย (Personalize) จะสามารถโฟกัสข้อมูลลงไปได้หรืออีกหลายเทคโนโลยีซึ่งสามารถอ่านเพิ่มเติมได้จาก บทความ "12 เทคโนโลยี (ไม่) พร้อมใช้ในWeb 3.0" 5. Semantic Web เป็นระบบที่มีการเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ ทั้งที่อยู่ในเว็บของผู้พัฒนาและ แหล่งข้อมูลอื่นๆ ให้มีความสัมพันธ์กัน ซึ่งจะทาให้ระบบฐานข้อมูลมีขนาดใหญ่มากๆ หรืออาจทาให้เกิด ฐานข้อมูลโลก (Global Database) ไปเลยก็ได้ ข้อแตกต่างของ Web2.0 และ Web3.0 ถ้าแบ่งยุคของ Internet ในตอนนี้อาจแบ่งได้ 2 ยุค และเรากาลังก้าวไปสู่ยุดที่ 3 ในไม่ช้านี้ในยุดแรก Web 1.0 นั้นเป็นเรื่องของการที่ผู้ให้บริการนาเสนอข้อมูลให้กับบุคคลทั่วไป โดยทาในลักษณะเดียวกับหนังสือ ทั่วไป ที่ผู้อ่านมีส่วนร่วมน้อยมากในการเติมแต่งข้อมูล แต่ในยุคของ Web2.0 บุคคลทั่วไปคือผู้สร้างเนื้อหา และนาเสนอข้อมูลต่าง ๆ จาก Web 2.0 ในเปลือกนัท ทาให้เราเข้าใจว่าในยุคที่ 2 นั้นเป็นเรื่องของการ แบ่งปันความรู้ซึ่งกันและกันอย่างแท้จริง โดยการสร้างเสริมข้อมูลสารสนเทศ ให้มีคุณค่าและมีข้อมูลที่ถูกต้อง ที่สุด ดังตัวอย่างที่เป็นสิ่งที่ทุกคนคงรู้จักกันดีอย่าง Wikipedia ทาให้ความรู้ถูกต่อยอดไปอยู่ตลอดเวลา ข้อมูล ทุกอย่างได้มาจากการเติมแต่งอย่างไม่มีที่สิ้นสุด เกิดจากการคานอานาจของข้อมูลของแต่ละบุคคลทาให้ข้อมูล นั้นถูกต้องมากที่สุดและจะถูกมากขึ้นเมื่อเรื่องนั้นถูกขัดเกลามาตามระยะเวลายาวนานและวันนี้ Web 3.0 กาลังจะมาเป็นการนาแนวคิดของ Web 2.0 มาทาให้ Web นั้นสามารถจัดการข้อมูลจานวนมาก ๆ โดยอย่าง ที่เรารู้กันดีว่าผู้ใช้ทั่วไปนั้นเป็นผู้สร้างเนื้อหา ได้เพิ่มจานวนมากขึ้น เช่นการเขียน Blog, การแชร์รูปภาพและ ไฟล์มัลติมีเดียต่าง ๆ ทาให้ข้อมูลมีจานวนมหาศาล ทาให้จาเป็นต้องมีความสามารถในการข้อมูลดังกล่าวอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเอาข้อมูลต่าง ๆ เหล่านั้นมาจัดการให้อยู่ในรูปแบบMetadata ที่หมายถึงข้อมูลที่บอก รายละเอียดของข้อมูล (Data about data) ทาให้เว็บกลายเป็นSematic Web กล่าวคือเว็บที่ใช้ Metadata มาอธิบายสิ่งต่าง ๆ บนเว็บ ซึ่งในตอนนี้เราจะเห็นกันทั่วไปนั่นคือ Tag นั้นเอง โดยที่ Tag ก็คือคาสั้น ๆ หลาย ๆ คา ที่เป็นหัวใจของเนื้อหา เพื่อทาให้เราสามารถเข้าถึงเนื้อหาต่าง ๆ ได้ด้วยการใช้ Tag ต่าง ๆ เพื่อเข้าถึง ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง แต่แทนที่ผู้ผลิตเนื้อหาจะใส่เอง แต่ตัว Web จะทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูลและวิเคราะห์ ข้อมูลเหล่านั้น แล้วให้Tags ตามความเหมาะสมให้เราแทนโดยเมื่อได้ Tag มาแล้ว ข้อมูลแต่ละ Tag จะมี ความสัมพันธ์กับอีก Tag โดยปริยาย เช่นข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท Apple ก็จะมี Tag ที่เกี่ยวกับ Computer, iPod, iMac …และ Tag ที่มีเนื้อหา Computer ก็มี Tag ที่เชื่อมโยงกับ Tag ที่มีเนื้อหาด้าน Electronic โดย จะเชื่อมโยงแบบนี้ไปเรื่อย ๆ ทาให้ข้อมูลมีการเชื่อมโยงกันเหมือนฐานข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันใน
  • 15. เชิงข้อมูล ทาให้อินเตอร์เน็ตกลายเป็นฐานข้อมูลความรู้ขนาดใหญ่ ที่ข้อมูลทุกอย่างถูกเชื่อมต่อกันอย่างเป็น ระบบมากขึ้นเปรียบเทียบไว้ว่า Web 1.0 ผู้เข้าชมสามารถอ่านได้อย่างเดียว (read-only) แต่พอมาเป็น web 2.0 ผู้เข้าชมสามารถอ่านและเขียนได้ด้วย (read-write รูปภาพ แสดงWeb 1.0 เจ้าของเว็บเป็นผู้สร้างระบบและเนื้อหาบนเว็บ ผู้เข้าชม อ่านอย่างเดียว, Web 2.0 เจ้าของเว็บสร้างระบบและเนื้อหาบนเว็บ ผู้เข้าชมสร้างเนื้อหาบนระบบเดียวกับเจ้าของเว็บแล้วให้ ผู้ชมอื่นๆ ได้ดูต่อ จนเป็นที่มาของ Social Networkแต่พอมาเป็น Web 3.0 จะกลายเป็น อ่าน/เขียน/จัดการ ได้สามอย่างพร้อมกัน (read-write-execute)คราวนี้ความสามารถของมันก็จะมากมายมหาศาล แทนที่จะเข้า ไปอ่านและเพิ่มข้อมูล เราก็จะสามารถปรับแต่งแก้ไขข้อมูลหรือระบบได้เองอย่างอิสระมากขึ้นไปเจอข้อมูล อื่นๆ ได้อีกด้วย โดยไม่จาเป็นจะต้องเป็นข้อความเสมอไปดังนั้น Web 3.0 คือเทคโนโลยีหรือแนวความคิดที่จะ เชื่อมโยงข้อมูลใน web ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกันทั้งภายใน web หรือภายในเครือข่ายของโลก ซึ่งมองไปแล้วมัน ก็คือ Database ของโลกเลย แต่ก็เป็นแนวคิดที่จะทาให้หาข้อมูล ที่ต้องการได้ง่ายขึ้น ซึ่งก็จะมี format ข้อมูล ในการติดต่อสื่อสารกัน แต่ก็ based-on XML เช่นพวก RDF (Resource Definition Framework), OWL (Ontology Web Language) ยุคของเว็บ 3.0 นี้เองที่มีความฉลาดล้าหน้าไปอย่างมาก และความฉลาด ของมันนี่เองจะนาซึ่งความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่และท้าทายเหล่าผู้พัฒนาเว็บไซต์และผู้ใช้มีจัดทาเว็บไซต์ที่มี ประสิทธิภาพ ต่อไปในอนาคต
  • 16. Static Website หมายถึง เว็บไซต์ที่สร้างด้วยภาษา HTML ธรรมดา และบันทึกเป็นไฟล์นามสกุล .html เนื้อหา ข้อความ รูปภาพในหน้าเว็บเพจนั้นจะเป็นไปตามที่เราเขียนกาหนดไว้เมื่อมีผู้เรียกดูหน้าเว็บเพจนั้น Web Server ก็จะส่งไฟล์นั้นไปให้ยังเครื่องที่ร้องขอ และแสดงผลออกทางโปรแกรมเว็บเบราเซอร์บนเครื่องของผู้ชม นั้นStatic Website เหมาะกับเว็บไซต์ที่มีขนาดไม่ใหญ่ จานวนหน้าเว็บเพจไม่มาก ไม่มีการเปลี่ยนแปลงข้อมู บ่อยๆ และไม่มีการติดต่อฐานข้อมูลถ้าเราจะสร้างเว็บรูปแบบนี้ สามารถทาได้ไม่ยาก โดยต้องศึกษาเรื่องการ เขียนเว็บเพจด้วย HTML ก่อนข้อดีของเว็บรูปแบบนี้ คือ เราสามารถกาหนดรูปแบบการตกแต่ง และเนื้อหา ของแต่ละหน้าได้ตามต้องการ แต่ก็ควรควบคุมสไตล์ของแต่ละหน้าให้เหมือนกันด้วย อย่าให้หน้าใดโดดจนคิด ว่าเป็นคนละเว็บไซต์กันส่วนข้อเสีย ก็คือ การแก้ไขเปลี่ยนแปลงยุ่งยาก จะต้องแก้ไขกับไฟล์หน้าเว็บเพจนั้นๆ เมื่อแก้ไขแล้ว ก็ต้อง Upload ไฟล์นั้นขึ้นไป Web Server ใหม่ทุกครั้ง และเว็บรูปแบบนี้จะไม่สามารถใช้งาน ฐานข้อมูลได้ Dynamic Website หมายถึง เว็บไซต์ที่หน้าเว็บเพจสามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูลเองได้ โดยไม่ต้องเขียนแต่ละหน้าเว็บเพจ เองเช่น กระดานข่าว (Webboard), ระบบสืบค้นข้อมูลสังเกตได้ว่า เมื่อมีผู้มาตั้งกระทู้ และตอบกระทู้ ก็จะ เกิดหน้าเว็บเพจนั้นๆ ขึ้นได้เอง โดยที่เราไม่ได้เป็นคนสร้างหน้าเว็บเพจเหล่านั้นเองเว็บไซต์รูปแบบนี้จะถูก สร้างด้วยภาษา Script แบบ Server Side Script เช่น PHP, ASP, ASP.Net, JSP และอื่นๆ ไฟล์เอกสารที่ไ้ด้ จะมีนามสกุล .php, .asp เป็นต้นและมักจะมีการติดต่อกับฐานข้อมูลเพื่อบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล หรือนา ข้อมูลจากฐานข้อมูลขึ้นมาแสดงผลเป็นหน้าเว็บเพจส่วนการทางานของเว็บไซต์รูปแบบนี้ จะต่างจากแบบ Static Website โดยเมื่อมีผู้ชมเรียกดูหน้าเว็บเพจ ไฟล์หน้าเว็บเพจนั้นจะถูกแปลและ execute คาสั่งโดย ตัว Interpreter ที่ฝั่ง Server ใ้ห้อยู่ในรูปแบบเอกสาร HTML ก่อน จึงส่งกลับให้ Web Server เพื่อส่งต่อไป ให้โปรแกรมเว็บเบราเซอร์ของผู้ใช้งานต่อไปการสร้างเว็บไซต์รูปแบบนี้ ต้องอาศัยความรู้ในการเขียนโปรแกรม มากกว่าแบบแรกมาก นอกจากจะต้องมีความรู้พื้นฐาน HTML แล้ว ยังต้องเขียนภาษา Server Side Script เป็นอย่างน้อย 1 ภาษา ต้องรู้เรื่องการจัดการฐานข้อมูล ต้องเขียน SQL เ้พื่อจัดการกับข้อมูลในฐานข้อมูล ได้ และถ้าอยากให้ระบบงานทางานได้อย่างรวดเร็วไม่ต้อง Refresh หน้าจอบ่อยๆ ยังต้องรู้เรื่อง AJAX อีก ด้วยสาหรับผู้อ่านที่ไม่ได้สนใจจะทางานด้านนี้ ก็ไม่จาเป็นต้องเรียนรู้การเขียนภาษา Script เหล่านี้ เอาเวลา ไปเตรียมเนื้อหา และโปรโมทเว็บไซต์ให้ออกดอกออกผลดีกว่าเพราะในปัจจุบันมีระบบที่จะช่วยให้เราจัดการ เนื้อหาเว็บไซต์ได้อย่างสะดวก เรียกว่า Web CMS เพียงแค่เรียนรู้วิธีการใช้งาน ก็สามารถสร้างเว็บไซต์แบบ Dynamic ได้โดยไม่ต้องเขียนโปรแกรมอะไรเลย(แต่สาหรับเว็บไซต์ที่ทางานเฉพาะเจาะจง ก็ยังจาเป็นต้อง เขียนโปรแกรมเพื่อสร้าง Web Application สาหรับใช้งานเองอยู่ ซึ่งเราก็ปล่อยให้เป็นเหน้าที่ของเหล่า โปรแกรมเมอร์ต่อไปค่ะ)เราสามารถที่จะสร้างเว็บไซต์โดยให้บางหน้าเว็บเพจเป็นแบบ Static ที่ใช้ HTML ธรรมดา เขียน และให้บางหน้าสร้างเป็นแบบ Dynamic โดยใช้ภาษา Script