SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
หลักการออกแบบเว็บไซต์
องค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์ที่มีประสิทธิภาพนั้นต้องคานึงถึง องค์ประกอบสาคัญ
ดังต่อไปนี้
1. ความเรียบง่าย (Simplicity)
หมายถึง การจากัดองค์ประกอบเสริมให้เหลือเฉพาะองค์ประกอบ
หลัก กล่าวคือในการสื่อสารเนื้อหากับผู้ใช้นั้น เราต้องเลือกเสนอสิ่งที่เรา
ต้องการนาเสนอจริง ๆ ออกมาในส่วนของกราฟิก สีสัน ตัวอักษรและ
ภาพเคลื่อนไหว ต้องเลือกให้พอเหมาะ ถ้าหากมีมากเกินไปจะรบกวนสายตา
และสร้างความคาราญต่อผู้ใช้ตัวอย่างเว็บไซต์ที่ได้รับการออกแบบที่ดี
2. ความสม่าเสมอ ( Consistency)
หมายถึง การสร้างความสม่าเสมอให้เกิดขึ้นตลอดทั้งเว็บไซต์ โดย
อาจเลือกใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ก็ได้ เพราะถ้าหากว่าแต่ละหน้า
ในเว็บไซต์นั้นมีความแตกต่างกันมากจนเกินไป อาจทาให้ผู้ใช้เกิดความสับสน
และไม่แน่ใจว่ากาลังอยู่ในเว็บไซต์เดิมหรือไม่
3. ความเป็นเอกลักษณ์ (Identity)
ในการออกแบบเว็บไซต์ต้องคานึงถึงลักษณะขององค์กรเป็นหลัก
เนื่องจากเว็บไซต์จะสะท้อนถึงเอกลักษณ์และลักษณะขององค์กร การ
เลือกใช้ตัวอักษร ชุดสี รูปภาพหรือกราฟิก จะมีผลต่อรูปแบบของเว็บไซต์
เป็นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น ถ้าเราต้องออกแบบเว็บไซต์ของธนาคารแต่เรา
กลับเลือกสีสันและกราฟิกมากมาย อาจทาให้ผู้ใช้คิดว่าเป็นเว็บไซต์ของสวน
สนุกซึ่งส่งผลต่อความเชื่อถือขององค์กรได้
4. เนื้อหา (Useful Content)
ถือเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในเว็บไซต์ เนื้อหาในเว็บไซต์ต้องสมบูรณ์และ
ได้รับการปรับปรุงพัฒนาให้ทันสมัยอยู่เสมอ ผู้พัฒนาต้องเตรียมข้อมูลและ
เนื้อหาที่ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้องและสมบูรณ์ เนื้อหาที่สาคัญที่สุดคือเนื้อหาที่
ทีมผู้พัฒนาสร้างสรรค์ขึ้นมาเอง และไม่ไปซ้ากับเว็บอื่น เพราะจะถือเป็นสิ่งที่
ดึงดูดผู้ใช้ให้เข้ามาเว็บไซต์ได้เสมอ แต่ถ้าเป็นเว็บที่ลิงค์ข้อมูลจากเว็บอื่น ๆ
มาเมื่อใดก็ตามที่ผู้ใช้ทราบว่า ข้อมูลนั้นมาจากเว็บใด ผู้ใช้ก็ไม่จาเป็นต้อง
กลับมาใช้งานลิงค์เหล่านั้นอีก
5. ระบบเนวิเกชั่น (User-Friendly Navigation)
เป็นส่วนประกอบที่มีความสาคัญต่อเว็บไซต์มาก เพราะจะช่วยไม่ให้
ผู้ใช้เกิดความสับสนระหว่างดูเว็บไซต์ ระบบเนวิเกชั่นจึงเปรียบเสมือนป้าย
บอกทาง ดังนั้นการออกแบบเนวิเกชั่น จึงควรให้เข้าใจง่าย ใช้งานได้สะดวก
ถ้ามีการใช้กราฟิกก็ควรสื่อความหมาย ตาแหน่งของการวางเนวิเกชั่นก็ควร
วางให้สม่าเสมอ เช่น อยู่ตาแหน่งบนสุดของทุกหน้าเป็นต้น ซึ่งถ้าจะให้ดีเมื่อ
มีเนวิเกชั่นที่เป็นกราฟิกก็ควรเพิ่มระบบเนวิเกชั่นที่เป็นตัวอักษรไว้ส่วนล่าง
ด้วย เพื่อช่วยอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ที่ยกเลิกการแสดงผลภาพกราฟิก
บนเว็บเบราเซอร์
6. คุณภาพของสิ่งที่ปรากฏให้เห็นในเว็บไซต์ (Visual Appeal)
ลักษณะที่น่าสนใจของเว็บไซต์นั้น ขึ้นอยู่กับความชอบส่วนบุคคล
เป็นสาคัญ แต่โดยรวมแล้วก็สามารถสรุปได้ว่าเว็บไซต์ที่น่าสนใจนั้น
ส่วนประกอบต่าง ๆ ควรมีคุณภาพ เช่น กราฟิกควรสมบูรณ์ไม่มีรอยหรือ
ขอบขั้นบันได้ให้เห็น ชนิดตัวอักษรอ่านง่ายสบายตา มีการเลือกใช้โทนสีที่เข้า
กันอย่างสวยงาม เป็นต้น
7. ความสะดวกของการใช้ในสภาพต่าง ๆ (Compatibility)
การใช้งานของเว็บไซต์นั้นไม่ควรมีขอบจากัด กล่าวคือ ต้องสามารถใช้งานได้
ดีในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย ไม่มีการบังคับให้ผู้ใช้ต้องติดตั้งโปรแกรมอื่น
ใดเพิ่มเติม นอกเหนือจากเว็บบราวเซอร์ ควรเป็นเว็บที่แสดงผลได้ดีในทุก
ระบบปฏิบัติการ สามารถแสดงผลได้ในทุกความละเอียดหน้าจอ ซึ่งหากเป็น
เว็บไซต์ที่มีผู้ใช้บริการมากและกลุ่มเป้าหมายหลากหลายควรให้ความสาคัญ
กับเรื่องนี้ให้มาก
8. ความคงที่ในการออกแบบ (Design Stability)
ถ้าต้องการให้ผู้ใช้งานรู้สึกว่าเว็บไซต์มีคุณภาพ ถูกต้อง และเชื่อถือ
ได้ ควรให้ความสาคัญกับการออกแบบเว็บไซต์เป็นอย่างมาก ต้องออกแบบ
วางแผนและเรียบเรียงเนื้อหาอย่างรอบคอบ ถ้าเว็บที่จัดทาขึ้น ไม่มีมาตรฐาน
การออกแบบและระบบการจัดการข้อมูล ถ้ามีปัญหามากขึ้นอาจส่งผลให้เกิด
ปัญหาและทาให้ผู้ใช้หมดความเชื่อถือ
9. ความคงที่ของการทางาน (Function Stability)
ระบบการทางานต่าง ๆ ในเว็บไซต์ควรมีความถูกต้องแน่นอน ซึ่ง
ต้องได้รับการออกแบบสร้างสรรค์และตรวจสอบอยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น ลิงค์
ต่าง ๆ ในเว็บไซต์ ต้องตรวจสอบว่ายังสามารถลิงค์ข้อมูลได้ถูกต้องหรือไม่
เพราะเว็บไซต์อื่นอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ปัญหาที่เกิดจากลิงค์
ก็คือ ลิงค์ขาด ซึ่งพบได้บ่อยเป็นปัญหาที่สร้างความราคาญกับผู้ใช้เป็นอย่าง
มาก
ในการออกแบบเว็บไซต์นั้นประกอบด้วยกระบวนการต่าง ๆ เช่น
การออกแบบโครงสร้าง ลักษณะหน้าตา หรือการเขียนโปรแกรม แต่มีหลาย
คนที่พัฒนาเว็บไซต์ โดยขาดการวางแผนและทางานไม่เป็นระบบ
ตัวอย่างเช่น การลงมือออกแบบโดยการใช้โปรแกรมช่วยสร้างเว็บ เนื้อหา
และรูปแบบก็เป็นไปตามที่นึกขึ้นได้ขณะนั้น และเมื่อเห็นว่าดูดีแล้วก็เปิดตัว
เลย ทาให้เว็บนั้นมีเป้าหมายและแนวทางที่ไม่แน่นอน ผลลัพธ์ที่ได้จึงเสี่ยงกับ
ความล้มเหลวค่อนข้างมาก
ความล้มเหลวที่พบเห็นได้ทั่วไป ได้แก่ เว็บที่แสดงข้อความว่าอยู่
ระหว่างการก่อสร้าง (Under Construction หรือ Coming soon) ซึ่งแสดง
ให้เห็นถึงการขาดการวางแผนที่ดีบางเว็บถือได้ว่าตายไปแล้ว เนื่องจากข้อมูล
ไม่ทันสมัย ขาดการพัฒนาปรับปรุงเทคโนโลยีล้าสมัย ลิงค์ผิดพลาด สิ่ง
เหล่านี้แสดงให้เห็นถึงการขาดการดูแล ตรวจสอบและพัฒนาให้ทันสมัยอยู่
เสมอ
การออกแบบเว็บไซต์อย่างถูกต้องจะช่วยลดความผิดพลาดเหล่านี้ และช่วย
ลดความเสี่ยงที่จะทาให้เว็บประสบความล้มเหลว การออกแบบเว็บไซต์ที่ดี
ต้องอาศัยการออกแบบและจัดระบบข้อมูลอย่างเหมาะสม
กระบวนการแรกของการออกแบบเว็บไซต์คือการกาหนดเป้าหมายของ
เว็บไซต์กาหนดกลุ่มผู้ใช้ ซึ่งการจะให้ได้มาซึ่งข้อมูล ผู้พัฒนาต้องเรียนรู้ผู้ใช้
หรือจาลองสถานการณ์ สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้เราสามารถออกแบบเนื้อหาและ
การใช้งานเว็บไซต์ได้อย่างเหมาะสม ตรงกับความต้องการของผู้ใช้อย่าง
แท้จริง
กาหนดเป้าหมายของเว็บไซต์
ขั้นตอนแรกของการออกแบบเว็บไซต์ คือการกาหนดเป้าหมายของ
เว็บไซต์ให้แน่ชัดเสียก่อน เพื่อจะได้ออกแบบการใช้งานได้ตรงกับเป้าหมายที่
ได้ตั้งเอาไว้ โดยทั่วไปมักจะเข้าใจว่าการทาเว็บไซต์มีจุดมุ่งหมายเพื่อบริการ
ข้อมูลของหน่วยงานหรือองค์กรเท่านั้น แต่ในความเป็นจริงแล้ว เว็บไซต์แต่
ละแห่งก็จะมีเป้าหมายของตนเองแตกต่างกันออกไป
กาหนดกลุ่มผู้ใช้เป้าหมาย
ผู้ออกแบบเว็บไซต์จาเป็นต้องทราบกลุ่มผู้ใช้เป้าหมายที่เข้ามาใช้
บริการเว็บไซต์ เพื่อที่จะได้ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างชัดเจน
ตัวอย่างเช่นเว็บไซต์ที่มีกลุ่มผู้ใช้หลากหลาย เช่น เซิร์ชเอ็นจิน เว็บท่า และ
เว็บไดเรกทอรี่ แต่เว็บไซต์ส่วนใหญ่นั้นจะตอบสนองความต้องการเฉพาะกลุ่ม
เท่านั้น ไม่สาหรับทุกคน เพราะไม่สามารถตอบสนองความต้องการของคนที่
หลากหลายได้ในเว็บไซต์เดียวสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการจากเว็บ
หลังจากที่ได้เป้าหมายและกลุ่มเป้าหมายของเว็บไซต์แล้ว ลาดับต่อไปคือการ
ออกแบบเว็บไซต์เพื่อดึงดูดผู้ใช้งานให้ได้นานที่สุด ด้วยการสร้างสิ่งที่น่าสนใจ
เพื่อดึงดูดผู้ใช้โดยทั่วไปแล้ว สิ่งที่ผู้ใช้คาดหวังจากการเข้าชมเว็บไซต์หนึ่ง
ได้แก่
- ข้อมูลและการใช้งานที่เป็นประโยชน์
- ข่าวและข้อมูลที่น่าสนใจ
- การตอบสนองต่อผู้ใช้
- ความบันเทิง
- ของฟรี
ข้อมูลหลักที่ควรมีอยู่ในเว็บไซต์
เมื่อทราบถึงความต้องการที่ผู้ใช้ต้องการได้รับเมื่อเข้าชมเว็บไซต์
หนึ่งๆแล้วก็ออกแบบเว็บไซต์ให้มีข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการ ซึ่งข้อมูลต่อไปนี้ เป็น
สิ่งที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่คาดหวังจะได้รับเมื่อเข้าไปชมเว็บไซต์
- ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท
- รายละเอียดของผลิตภัณฑ์
- ข่าวความคืบหน้าและข่าวจากสื่อมวลชน
- คาถามยอดนิยม
- ข้อมูลในการติดต่อ
ออกแบบหน้าเว็บไซต์ (Page Design)
หน้าเว็บเป็นสิ่งแรกที่ผู้ใช้จะได้เห็นขณะที่เปิดเข้าสู่เว็บไซต์ และยัง
เป็นสิ่งแรกที่แสดงถึงประสิทธิภาพในการออกแบบเว็บไซต์อีกด้วย หน้าเว็บ
จึงเป็นสิ่งสาคัญมาก เพราะเป็นสื่อกลางให้ผู้ชมสามารถใช้ประโยชน์จาก
ข้อมูลของระบบงานของเว็บไซต์นั้นได้ โดยปกติหน้าเว็บจะประกอบด้วย
รูปภาพ ตัวอักษร สีพื้น ระบบ
เนวิเกชั่น และองค์ประกอบอื่น ๆ ที่ช่วยสื่อความหมายของเนื้อหาและ
อานวยความสะดวกต่อการใช้งาน หลักสาคัญในการออกแบบหน้าเว็บก็คือ
การใช้รูปภาพและองค์ประกอบต่าง ๆ ร่วมกันเพื่อสื่อความหมาย เกี่ยวกับ
เนื้อหาหรือลักษณะสาคัญของเว็บไซต์ โดยมีเป้าหมายสาคัญเพื่อการสื่อ
ความหมายที่ชัดเจนและน่าสนใจ บนพื้นฐานของความเรียบง่ายและความ
สะดวกของผู้ใช้
การออกแบบเว็บไซต์ ต้องคานึงถึง
1. ความเรียบง่าย ได้แก่ มีรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน และใช้งานได้
สะดวก ไม่มีกราฟิกหรือตัวอักษรที่เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ชนิดและสีของ
ตัวอักษรไม่มากจนเกินไปทาให้วุ่นวาย
2. ความสม่าเสมอ ได้แก่ ใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ เช่น
รูปแบบของหน้า สไตล์ของกราฟิก ระบบเนวิเกชันและโทนสี ควรมีความ
คล้ายคลึงกันตลอดทั้งเว็บไซต์
3. ความเป็นเอกลักษณ์ การออกแบบเว็บไซต์ควรคานึงถึงลักษณะของ
องค์กร เพราะรูปแบบของเว็บไซต์จะสะท้อนถึงเอกลักษณ์และลักษณะของ
องค์กรนั้น ๆ เช่น ถ้าเป็นเว็บไซต์ของทาง ราชการ จะต้องดูน่าเชื่อถือไม่
เหมือนสวนสนุก ฯลฯ
4. เนื้อหาที่มีประโยชน์ เนื้อหาเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในเว็บไซต์ ดังนั้น
ควรจัดเตรียมเนื้อหาและข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้อง และสมบูรณ์ มีการ
ปรับปรุงและเพิ่มเติมให้ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื้อหาไม่ควรซ้ากับเว็บไซต์อื่น
จึงจะดึงดูดความสนใจ
5. ระบบเนวิเกชันที่ใช้งานง่าย ต้องออกแบบให้ผู้ใช้เข้าใจง่ายและใช้
งานสะดวก ใช้กราฟิกที่สื่อความหมายร่วมกับคาอธิบายที่ชัดเจน มีรูปแบบ
และลาดับของรายการที่สม่าเสมอ เช่น วางไว้ ตาแหน่งเดียวกันของทุกหน้า
6. ลักษณะที่น่าสนใจ หน้าตาของเว็บไซต์จะต้องมีความสัมพันธ์กับ
คุณภาพขององค์ประกอบต่างๆ เช่น คุณภาพของกราฟิกที่จะต้องสมบูรณ์
การใช้สี การใช้ตัวอักษรที่อ่านง่าย สบายตา การใช้โทนสีที่เข้ากันลักษณะ
หน้าตาที่น่าสนใจนั้นขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละบุคคล
7. การใช้งานอย่างไม่จากัด ผู้ใช้ส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงได้มากที่สุด
เลือกใช้บราวเซอร์ชนิดใดก็ได้ในการเข้าถึงเนื้อหาสามารถแสดงผลได้ทุก
ระบบปฏิบัติการและความละเอียดหน้าจอต่างๆ กันอย่างไม่มีปัญหาเป็น
ลักษณะสาคัญสาหรับผู้ใช้ที่มีจานวนมาก
8. คุณภาพในการออกแบบ การออกแบบและเรียบเรียงเนื้อหาอย่าง
รอบคอบ สร้างความรู้สึกว่าเว็บไซต์มีคุณภาพ ถูกต้อง และเชื่อถือได้
9. ลิงค์ต่างๆ จะต้องเชื่อมโยงไปหน้าที่มีอยู่จริงและถูกต้อง ระบบการ
ทางานต่างๆ ในเว็บไซต์จะต้องมีความแน่นอนและทาหน้าที่ได้อย่างถูก
การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ (Site Structure Design)
โครงสร้างเว็บไซท์ ( Site Structure ) เป็นแผนผังของการลาดับ
เนื้อหาหรือการจัดวางตาแหน่งเว็บเพจทั้งหมด ซึ่งจะทาให้เรารู้ว่าทั้งเว็บไซท์
ประกอบไปด้วยเนื้อหาอะไรบ้าง และมีเว็บเพจหน้าไหนที่เกี่ยวข้องเชื่อมโยง
ถึงกัน ดังนั้นการออกแบบโครงสร้างเว็บไซท์จึงเป็นเรื่องสาคัญ เปรียบเสมือน
กับการเขียนแบบอาคารก่อนที่จะลงมือสร้าง เพราะจะทาให้เรามองเห็น
หน้าตาของเว็บไซท์เป็นรูปธรรมมากขึ้น สามารถออกแบบระบบเนวิเกชั่นได้
เหมาะสม และเป็นแนวทางการทางานที่ชัดเจน สาหรับขั้นตอนต่อๆไป
นอกจากนี้โครงสร้างเว็บไซท์ที่ดียังช่วยให้ผู้ชมไม่สับสนและค้นหาข้อมูลที่
ต้องการได้อย่างรวดเร็ว
วิธีการจัดโครงสร้างเว็บไซท์สามารถทาได้หลายแบบ แต่แนวคิด
หลักๆที่นิยมใช้กันมีอยู่ 2 แบบคือ
จัดตามกลุ่มเนื้อหา ( Content-based Structure )
จัดตามกลุ่มผู้ชม ( User-based Structure )
รูปแบบของโครงสร้างเว็บไซต์
สามารถวางรูปแบบโครงสร้างเว็บไซต์ได้หลายแบบตามความ
เหมาะสม เช่น
แบบเรียงลาดับ ( Sequence ) เหมาะสาหรับเว็บไซต์ที่มีจานวนเว็บ
เพจไม่มากนัก หรือเว็บไซท์ที่มีการนาเสนอข้อมูลแบบทีละขั้นตอน
แบบระดับชั้น ( Hierarchy ) เหมาะสาหรับเว็บไซต์ที่มีจานวนเว็บ
เพจมากขึ้น เป็นรูปแบบที่เราจะพบได้ทั่วไป
แบบผสม ( Combination ) เหมาะสาหรับเว็บไซต์ที่ซับซ้อน เป็น
การนาข้อดีของรูปแบบทั้ง 2 ข้างต้นมาผสมกัน
ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์
กาหนดเป้าหมายและวางแผน
ในการพัฒนาเว็บไซต์เราควรกาหนดเป้าหมาย และวางแผนไว้
ล่วงหน้า เพื่อให้การทางานในขั้นต่อๆไปมีแนวทางที่ชัดเจน เรื่องหลักๆที่เรา
ควรทาในขั้นตอนนี้ประกอบด้วย
1. กาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนว่า
เว็บไซต์นี้ต้องการนาเสนอหรือต้องการให้เกิดผลอะไร เช่น เป็นเว็บไซต์
สาหรับให้ข้อมูลหรือขายสินค้า ซึ่งวัตถุประสงค์นี้จะเป็นตัวกาหนด
รายละเอียดอื่นๆที่จะตามมา เช่นโครงสร้างของเว็บไซต์ รวมถึงลักษณะ
หน้าตา และสีสันของเว็บเพจ ในกรณีที่เป็นเว็บไซต์ของบริษัทหรือองค์กร
วัตถุประสงค์นี้ก็จะต้องวางให้สอดคล้องกับภารกิจขององค์กรด้วย
2. กาหนดกลุ่มผู้ชมเป้าหมาย เพื่อจะได้รู้ว่าผู้ชมหลักของเรา
คือใคร และออกแบบเว็บไซต์ให้ตอบสนองความต้องการหรือโดนใจผู้ชมกลุ่ม
นั้นให้มากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการเลือกเนื้อหา โทนสี กราฟิก เทคโนโลยีที่
นามาสนับสนุน และอื่นๆ
3. เตรียมแหล่งข้อมูล เนื้อหาหรือข้อมูลคือสาระที่แท้จริงของ
เว็บไซต์ เราต้องรู้ว่าข้อมูลที่จาเป็นต้องใช้จะมาจากแหล่งใดได้บ้าง เช่น ถ้า
เป็นเว็บของบริษัท ใครที่จะเป็นผู้ให้ข้อมูล หรือถ้าเป็นเว็บข่าวสาร ข่าวสาร
นั้นจะมาจากแหล่งใด มีลิขสิทธิ์หรือไม่
4. เตรียมทักษะหรือบุคลากร การสร้างเว็บไซต์ต้องอาศัย
ทักษะหลายๆด้าน เช่น ในการเตรียมเนื้อหา ออกแบบกราฟิก เขียน
โปรแกรม และการดูแลเว็บเซิร์ฟเวอร์ เป็นต้น ซึ่งถ้าเป็นเว็บไซต์ขนาดใหญ่
อาจจะต้องใช้บุคลากรเป็นจานวนมาก แต่สาหรับเว็บไซต์เล็กๆที่ต้องดูแล
เพียงคนเดียว เราก็จะต้องศึกษาหาความรู้ในเรื่องนั้นๆเพื่อเตรียมพร้อมเอาไว้
5. เตรียมทรัพยากรต่างๆที่จาเป็น เช่น โปรแกรมสาหรับสร้าง
เว็บไซต์ โปรแกรมสาหรับสร้างกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว และมัลติมิ
เดีย โปรแกรมอื่นๆที่ต้องใช้ การจดทะเบียนโดเมนเนม ตลอดจนการเตรียม
หาผู้ให้บริการรับฝากเว็บไซต์ (Web Hosting) และเลือกแผนบริการที่
เหมาะสม
วิเคราะห์และจัดโครงสร้างข้อมูล
ขั้นตอนนี้จะเป็นการนาข้อมูลต่างๆที่รวบรวมได้จากขั้นแรก ไม่ว่าจะ
เป็น วัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ คุณลักษณะ ข้อจากัดของกลุ่มผู้ชม
เป้าหมาย รวมทั้งเนื้อหาหลักของเว็บไซต์ นามาประเมิน วิเคราะห์ และ
จัดระบบ เพื่อให้ได้โครงสร้างข้อมูล และข้อกาหนด ซึ่งจะใช้เป็นกรอบ
สาหรับการออกแบบและดาเนินการในขั้นต่อๆไป ผลที่ได้รับจากขั้นนี้ควร
ประกอบไปด้วย
- แผนผังโครงสร้างของเว็บไซต์ลาดับการนาเสนอ สารบัญ หรือ
ผังงาน
- ระบบนาทางหรือเนวิเกชั่น ซึ่งผู้ชมจะใช้สาหรับเปิดเข้าไปยังส่วน
ต่างๆของเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น โครงสร้างและรูปแบบของเมนู
- องค์ประกอบต่างๆที่จะนามาใช้ในเว็บเพจมีอะไรบ้าง เช่น
รูปภาพและภาพกราฟิก,เสียง,วีดีโอ,มัลติมีเดีย, แบบฟอร์มฯลฯ อะไรบ้างที่
บราวเซอร์ของผู้ชมสนับสนุน และอะไรบ้างที่ต้องอาศัยโปรแกรมเสริม
- ข้อกาหนดเกี่ยวกับลักษณะหน้าตาและรูปแบบของเว็บเพจ
- ข้อกาหนดของโปรแกรมภาษาสคริปต์หรือเว็บแอพพลิเคชั่น และ
ฐานข้อมูลที่ใช้ในเว็บไซต์
- คุณสมบัติของเว็บเซิร์ฟเวอร์ รวมถึงข้อจากัด และบริการเสริม
ต่างๆที่มีให้
ออกแบบเว็บเพจและเตรียมข้อมูล
เป็นขั้นตอนการออกแบบเค้าโครงหน้าตา และลักษณะด้านกราฟิก
ของหน้าเว็บเพจ เพื่อให้ผู้ชมเกิดอารมณ์ความรับรู้ต่อเว็บเพจตามที่เรา
ต้องการ ดังนั้นผู้ที่ทาหน้าที่นี้จึงควรมีความสามารถทางด้านศิลปะ
พอสมควร โปรแกรมที่เหมาะจะใช้ในการออกแบบคือ Adobe
Photoshop หรือ Macromedia Fireworks ซี่งผลที่ได้จะประกอบด้วยไฟล์
กราฟิกต่างๆ ที่ใช้บนเว็บเพจ เช่น โลโก้,ภาพพื้นหลัง,ปุ่มเมนู,ไอคอนที่เป็นหัว
คอลัมน์ และแบนเนอร์โฆษณาการออกแบบเว็บเพจยังรวมไปถึงการกาหนด
สีสัน และรูปแบบของส่วนประกอบต่างๆที่ไม่ใช่ภาพกราฟิก เช่น ฟอนต์
ขนาด และสีข้อความ สีพื้นบริเวณที่ว่าง สีและลวดลายของเส้นกรอบ เป็น
ต้น นอกจากนี้องค์ประกอบเสริมอื่นๆของเว็บเพจก็ต้องถูกเตรียมไว้ด้วย
เช่น ภาพเคลื่อนไหว Flash และโปรแกรม JavaScript ที่ใช้โต้ตอบกับ
ผู้ชม หรือเล่นเอฟเฟ็คต์ต่างๆในส่วนของเนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเป็นการนา
เนื้อหาที่เลือกไว้มาปรับแก้ และตรวจทานความถูกต้อง เพื่อให้พร้อมสาหรับ
จะนาไปใส่เว็บเพจแต่ละหน้าในขั้นตอนถัดไป
ลงมือสร้างและทดสอบ
เป็นขั้นตอนที่เว็บเพจจะถูกสร้างขึ้นมาจริงทีละหน้าๆ โดยอาศัยเค้า
โครง และองค์ประกอบกราฟิกตามที่ออกแบบไว้ เนื้อหาต่างๆจะถูกนามาใส่
และจัดรูปแบบ ลิ้งค์และระบบนาทางถูกสร้าง องค์ประกอบเสริมต่างๆถูกวาง
เข้าที่ อย่างไรก็ตาม เมื่อลงมือสร้างเว็บเพจจริงเราอาจพบว่าสิ่งที่ออกแบบไว้
แล้ว บางอย่างไม่เหมาะสม หรือควรได้รับการปรับแต่ง ก็สามารถทาได้
โปรแกรมที่ใช้ในขั้นตอนนี้ก็คือโปรแกรมสาหรับสร้าง
เว็บไซต์ เช่น Macromedia Dreamweaver
เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาควรได้รับการทดสอบก่อนที่จะนาออก
เผยแพร่ ไม่ว่าจะเป็นความถูกต้องของเนื้อหา การทางานของลิ้งค์และระบบ
นาทาง ตรวจหาความผิดพลาดของโปรแกรมสคริปต์และ
ฐานข้อมูล นอกจากนี้ก็ควรทดสอบโดยใช้สภาพแวดล้อมที่เหมือนกับของ
กลุ่มผู้ชมเป้าหมาย เช่น เวอร์ชั่นของบราวเซอร์ ความละเอียดของจอภาพ
และความเร็วที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต เพื่อดูว่าผู้ชมเป้าหมายสามารถชม
เว็บไซต์ได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพหรือไม่
เผยแพร่และส่งเสริมให้เป็นที่รู้จัก
โดยทั่วไปการนาเว็บไซต์ขึ้นเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตจะทาด้วยการ
อัพโหลดไฟล์ทั้งหมด คือ HTML และไฟล์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ขึ้นไปเก็บบน
เซิร์ฟเวอร์ที่เราเปิดบริการไว้ การอัพโหลดเว็บไซต์ หรือบางครั้งเรียกว่า “พับ
ลิช” อาจทาด้วยโปรแกรมสร้างเว็บไซต์เอง ซึ่งมีคุณสมบัตินี้ในตัว หรือ
อาจจะใช้โปรแกรมยูทิลิตี้ประเภท FTP เช่น CuteFTP และ WS_FTP หรือ
ใช้เครื่องมืออื่นบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ก็ได้
หลังจากนั้นเว็บไซต์ควรได้รับการทดสอบอีกครั้ง เพื่อตรวจหาปัญหา
บางอย่างที่ไม่สามารถทดสอบบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราได้ เช่น การลิ้งค์
ของเว็บเพจกับเว็บไซต์อื่น และการทางานของโปรแกรมสคริปต์กับ
ฐานข้อมูล ซึ่งอาจทาไม่ได้บนเครื่องของเรา หรือบนเว็บเซิร์ฟเวอร์อาจมี
สภาพแวดล้อมที่ต่างออกไป
เว็บไซต์ที่ประสบความสาเร็จ นอกจากต้องมีเนื้อหาที่ดี มีการวางโครงสร้าง
และการออกแบบที่เหมาะสมแล้ว ยังต้องได้รับการโฆษณา และส่งเสริมให้
เป็นที่รู้จักในกลุ่มผู้ชมเป้าหมายหรือในวงกว้างออกไปอีกด้วย การส่งเสริมนี้มี
กลยุทธที่ทาได้หลายวิธี ซึ่งไม่จาเป็นต้องใช้งบประมาณจานวนมากเสมอ
ไป โดยสามารถทาได้ตั้งแต่แบบง่ายๆ คือการแลกเปลี่ยนลิ้งค์หรือแบน
เนอร์ ประกาศบนเว็บบอร์ดสาธารณะ การส่งอีเมล์ เพิ่มข้อมูลในเสิร์ชเอ็น
จิ้น หรือเว็บไดเร็กทอรี่ เรื่อยไปจนถึงแบบที่ต้องใช้งบประมาณมากขึ้น เช่น
การจัดงานเปิดตัว การลงโฆษณาบนเว็บไซต์อื่น ในสิ่งพิมพ์ หรือในวิทยุ
โทรทัศน์ เป็นต้น
การใช้สีในการออกแบบเว็บไซต์
การสร้างสีสันบนหน้าเว็บเป็นสิ่งที่สื่อความหมายของเว็บไซต์ได้
อย่างชัดเจน การเลือกใช้สีให้เหมาะสม กลมกลืน ไม่เพียงแต่จะสร้างความพึง
พอใจให้กับผู้ใช้ แต่ยังสามารถทาให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างเว็บไซต์ได้
สีเป็นองค์ประกอบหลักสาหรับการตกแต่งเว็บ จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทา
ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สี
ความรู้สึกที่คนส่วนใหญ่มีต่อสีต่างๆ
สีฟ้า
ให้ความรู้สึกสงบ สุขุม สุภาพ หนักแน่น เคร่งขรึม เอาการเอางาน
ละเอียด รอบคอบ สง่างาม มีศักดิ์ศรี สูงศักดิ์ เป็นระเบียบถ่อมตน สามารถ
ลดความตื่นเต้น และช่วยทาให้มีสมาธิ แต่ถ้ามีสีน้าเงินเข้มเกินไป ก็จะทาให้
รู้สึกซึมเศร้าได้
สีเขียว
เป็นสีในวรรณะเย็น จะสร้างความรู้สึกเย็นสบาย ใช้เป็นสีที่ช่วยผ่อน
คลายความเครียดได้ ให้ความรู้สึก สงบ เงียบ ร่มรื่น ร่มเย็น การพักผ่อน การ
ผ่อนคลาย ธรรมชาติ ความปลอดภัย ปกติ ความสุข ความสุขุม
สีเหลือง
เป็นสีแห่งความเบิกบาน เร้าอารมณ์ และเรียกร้องความสนใจ ให้
ความรู้สึกแจ่มใส ความสดใส ความร่าเริง ความเบิกบานสดชื่น ชีวิตใหม่
ความสด ใหม่ ความสุกสว่าง การแผ่กระจาย อานาจบารมี ให้ลองสังเกตดูว่า
วันที่ท้องฟ้ามืดครื้มปราศจากแสงแดด เราจะรู้สึกหงอยเหงา หดหู่ แต่พอมี
แสงแดด ท้องฟ้าสว่าง มีสีเหลือง เราจะรู้สึกมีชีวิตชีวาขึ้น
สีแดง
เป็นสีที่สร้างความตื่นเต้น และกระตุ้นสมอง สีแดงปานกลางแสดง
ถึงความมีสุขภาพดี ความมีชีวิต ความรัก ความสาคัญ ความอุดมสมบูรณ์
ความมั่งคั่ง สีแดงจัดมีความหมายแฝงด้านกามารมณ์ นอกจากนี้สีแดงยัง
สร้างความรู้สึกรุนแรง ให้ความรู้สึกร้อน กระตุ้น ท้าทาย เคลื่อนไหว ตื่นเต้น
เร้าใจ มีพลัง มันจะใช้กันกรณีที่เกี่ยวกับความตื่นเต้น หรืออันตราย
สีม่วง
ให้ความรู้สึก มีเสน่ห์ น่าติดตาม เร้นลับ ซ่อนเร้น มีอานาจ มีพลัง
แฝงอยู่ ความรัก ความเศร้า ความผิดหวัง ความสงบ ความสูงศักดิ์ เป็นสีที่
ปลอบโยน และช่วยลดความเครียด แต่เดิมสีม่วงได้มาจากสัตว์มีกระดอง
เปลือก ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน มีชื่อว่า Purpura จึงได้ชื่อภาษาอังกฤษว่า
Purple
สีส้ม
ให้ความรู้สึก ร้อน ความอบอุ่น ความสดใส มีชีวิตชีวา วัยรุ่น ความ
คึกคะนอง การปลดปล่อย ความเปรี้ยว การระวัง เป็นสีที่เร้าความรู้สึก
ปรกติควรใช้แต่น้อยเมื่อเทียบกับสีอื่น สังเกตว่าคนที่อยู่ในห้องสีส้มจะอยู่ได้
ไม่นาน
สีน้าตาล
ให้ความรู้สึกอบอุ่น ได้พักผ่อน แต่ควรใช้ร่วมกับสีส้ม เหลือง หรือสี
ทอง เพราะถ้าใช้สีน้าตาลเพียงสีเดียว อาจทาให้เกิดความรู้สึกหดหู่ได้
สีเทา
ให้ความรู้สึก เศร้า อาลัย ท้อแท้ ความลึกลับ ความหดหู่ ความชรา
ความสงบ ความเงียบ สุภาพ สุขุม ถ่อมตน สีนี้มีข้อดีคือทาให้เย็น แต่สร้าง
ความสร้างความรู้สึกหม่นหมองได้ ควรใช้ร่วมกับสีที่มีชีวิต โทนสว่างอย่าง
น้อยหนึ่งสี
สีขาว
ให้ความรู้สึก บริสุทธิ์ สะอาด สดใส เบาบาง อ่อนโยน เปิดเผย การ
เกิด ความรัก ความหวัง ความจริง ความเมตตา ความศรัทธา ความดี
งาม ให้ความรู้สึกรื่นเริง โดยเฉพาะเมื่อใช้กับสีแดง เหลือง และส้ม

More Related Content

Viewers also liked

Evaluating your Website - FDL ACU presentation by BrownBoots Interactive
Evaluating your Website - FDL ACU presentation by BrownBoots InteractiveEvaluating your Website - FDL ACU presentation by BrownBoots Interactive
Evaluating your Website - FDL ACU presentation by BrownBoots InteractiveBrownBoots Interactive, Inc.
 
Nbr 12069 solo - ensaio de penetracao de cone in situ (cpt)
Nbr 12069    solo - ensaio de penetracao de cone in situ (cpt)Nbr 12069    solo - ensaio de penetracao de cone in situ (cpt)
Nbr 12069 solo - ensaio de penetracao de cone in situ (cpt)Chrystian Santos
 
Cexma12 res cp06p04304820052609
Cexma12 res cp06p04304820052609Cexma12 res cp06p04304820052609
Cexma12 res cp06p04304820052609Marco Marta
 
The Beauty of the Night
The Beauty of the NightThe Beauty of the Night
The Beauty of the NightBarbara Davis
 
Rohani tahafiz nabatat urdu
Rohani tahafiz nabatat urduRohani tahafiz nabatat urdu
Rohani tahafiz nabatat urduRiaz Masud
 
La mode project
La mode projectLa mode project
La mode projectabbysisson
 
Марыя Аляксандрава – “Ахова абраду Купалле сродкамі інфармацыйных тэхналогій”
Марыя Аляксандрава  – “Ахова абраду Купалле сродкамі інфармацыйных тэхналогій”Марыя Аляксандрава  – “Ахова абраду Купалле сродкамі інфармацыйных тэхналогій”
Марыя Аляксандрава – “Ахова абраду Купалле сродкамі інфармацыйных тэхналогій”budzma
 
Uniformes de copa mundial
Uniformes de copa mundialUniformes de copa mundial
Uniformes de copa mundialstephmedina
 
Co-working Kit Urbano
Co-working Kit Urbano Co-working Kit Urbano
Co-working Kit Urbano KitUrbano
 
Sais tu qui je suis-do you know who i am- saps qui soc
Sais tu qui je suis-do you know who i am- saps qui socSais tu qui je suis-do you know who i am- saps qui soc
Sais tu qui je suis-do you know who i am- saps qui socMaria Jesus Gil Torre
 
LR 12 2005 Cavriana 12 maggio m2014
LR 12 2005  Cavriana 12 maggio m2014LR 12 2005  Cavriana 12 maggio m2014
LR 12 2005 Cavriana 12 maggio m2014giorgissimo
 
Presentacio 2
Presentacio 2Presentacio 2
Presentacio 2AgataBM
 

Viewers also liked (19)

Evaluating your Website - FDL ACU presentation by BrownBoots Interactive
Evaluating your Website - FDL ACU presentation by BrownBoots InteractiveEvaluating your Website - FDL ACU presentation by BrownBoots Interactive
Evaluating your Website - FDL ACU presentation by BrownBoots Interactive
 
Nbr 12069 solo - ensaio de penetracao de cone in situ (cpt)
Nbr 12069    solo - ensaio de penetracao de cone in situ (cpt)Nbr 12069    solo - ensaio de penetracao de cone in situ (cpt)
Nbr 12069 solo - ensaio de penetracao de cone in situ (cpt)
 
Cexma12 res cp06p04304820052609
Cexma12 res cp06p04304820052609Cexma12 res cp06p04304820052609
Cexma12 res cp06p04304820052609
 
The Beauty of the Night
The Beauty of the NightThe Beauty of the Night
The Beauty of the Night
 
Rohani tahafiz nabatat urdu
Rohani tahafiz nabatat urduRohani tahafiz nabatat urdu
Rohani tahafiz nabatat urdu
 
La mode project
La mode projectLa mode project
La mode project
 
Castillos medievales
Castillos medievalesCastillos medievales
Castillos medievales
 
Yourprezi
YourpreziYourprezi
Yourprezi
 
Марыя Аляксандрава – “Ахова абраду Купалле сродкамі інфармацыйных тэхналогій”
Марыя Аляксандрава  – “Ахова абраду Купалле сродкамі інфармацыйных тэхналогій”Марыя Аляксандрава  – “Ахова абраду Купалле сродкамі інфармацыйных тэхналогій”
Марыя Аляксандрава – “Ахова абраду Купалле сродкамі інфармацыйных тэхналогій”
 
Tema 11 Gisela
Tema 11 GiselaTema 11 Gisela
Tema 11 Gisela
 
Neumonia 2012
Neumonia 2012Neumonia 2012
Neumonia 2012
 
Uniformes de copa mundial
Uniformes de copa mundialUniformes de copa mundial
Uniformes de copa mundial
 
253
253253
253
 
Co-working Kit Urbano
Co-working Kit Urbano Co-working Kit Urbano
Co-working Kit Urbano
 
Sais tu qui je suis-do you know who i am- saps qui soc
Sais tu qui je suis-do you know who i am- saps qui socSais tu qui je suis-do you know who i am- saps qui soc
Sais tu qui je suis-do you know who i am- saps qui soc
 
Luttons pour une Haïti sans pauvreté
Luttons pour une Haïti sans pauvretéLuttons pour une Haïti sans pauvreté
Luttons pour une Haïti sans pauvreté
 
LR 12 2005 Cavriana 12 maggio m2014
LR 12 2005  Cavriana 12 maggio m2014LR 12 2005  Cavriana 12 maggio m2014
LR 12 2005 Cavriana 12 maggio m2014
 
Teresa de Calcutá
Teresa de CalcutáTeresa de Calcutá
Teresa de Calcutá
 
Presentacio 2
Presentacio 2Presentacio 2
Presentacio 2
 

Similar to เวบ เล มเลก

Clear And Effective Communication In Web Design
Clear And Effective Communication In Web DesignClear And Effective Communication In Web Design
Clear And Effective Communication In Web Designmonozone
 
เล่มเล็ก
เล่มเล็กเล่มเล็ก
เล่มเล็กPoMpam KamOlrat
 
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์Ta'May Pimkanok
 
พื้นฐานการออกแบบเว็บ
พื้นฐานการออกแบบเว็บพื้นฐานการออกแบบเว็บ
พื้นฐานการออกแบบเว็บsombatse
 
ทฤษฎีการออกแบบ
ทฤษฎีการออกแบบทฤษฎีการออกแบบ
ทฤษฎีการออกแบบDiiDy Moowhan Lesikagirl
 
สมุดเล่มเล็ก การออกแบบเว็บไซต์
สมุดเล่มเล็ก การออกแบบเว็บไซต์สมุดเล่มเล็ก การออกแบบเว็บไซต์
สมุดเล่มเล็ก การออกแบบเว็บไซต์Taew Chom
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กParinda Wareesree
 
หล กการออกแบบเวบ
หล กการออกแบบเวบหล กการออกแบบเวบ
หล กการออกแบบเวบfunnoi00
 
หลักการออกแบบเวบ
หลักการออกแบบเวบหลักการออกแบบเวบ
หลักการออกแบบเวบaew1234
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กJirawat Fishingclub
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17sangkom
 
Social network, Social networking,Social network marketing
Social network, Social networking,Social network marketing  Social network, Social networking,Social network marketing
Social network, Social networking,Social network marketing social network marketing
 
หนังงสือเล่มเล็ก
หนังงสือเล่มเล็กหนังงสือเล่มเล็ก
หนังงสือเล่มเล็กJirawat Fishingclub
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์kruple
 
อบรม E-commerce [พื้นฐานการตลาดออนไลน์]
อบรม E-commerce [พื้นฐานการตลาดออนไลน์]อบรม E-commerce [พื้นฐานการตลาดออนไลน์]
อบรม E-commerce [พื้นฐานการตลาดออนไลน์]Vasin Permsup
 

Similar to เวบ เล มเลก (20)

Clear And Effective Communication In Web Design
Clear And Effective Communication In Web DesignClear And Effective Communication In Web Design
Clear And Effective Communication In Web Design
 
เล่มเล็ก
เล่มเล็กเล่มเล็ก
เล่มเล็ก
 
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์
 
พื้นฐานการออกแบบเว็บ
พื้นฐานการออกแบบเว็บพื้นฐานการออกแบบเว็บ
พื้นฐานการออกแบบเว็บ
 
ทฤษฎีการออกแบบ
ทฤษฎีการออกแบบทฤษฎีการออกแบบ
ทฤษฎีการออกแบบ
 
เล่มเล็ก
เล่มเล็กเล่มเล็ก
เล่มเล็ก
 
สมุดเล่มเล็ก การออกแบบเว็บไซต์
สมุดเล่มเล็ก การออกแบบเว็บไซต์สมุดเล่มเล็ก การออกแบบเว็บไซต์
สมุดเล่มเล็ก การออกแบบเว็บไซต์
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
กระบวนการพัฒนาเว็บ
กระบวนการพัฒนาเว็บกระบวนการพัฒนาเว็บ
กระบวนการพัฒนาเว็บ
 
หล กการออกแบบเวบ
หล กการออกแบบเวบหล กการออกแบบเวบ
หล กการออกแบบเวบ
 
หลักการออกแบบเวบ
หลักการออกแบบเวบหลักการออกแบบเวบ
หลักการออกแบบเวบ
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
Trend facebook
Trend facebookTrend facebook
Trend facebook
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
 
SMY2012
SMY2012SMY2012
SMY2012
 
Social network, Social networking,Social network marketing
Social network, Social networking,Social network marketing  Social network, Social networking,Social network marketing
Social network, Social networking,Social network marketing
 
หนังงสือเล่มเล็ก
หนังงสือเล่มเล็กหนังงสือเล่มเล็ก
หนังงสือเล่มเล็ก
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
 
บทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัยบทที่ 2 ทวีชัย
บทที่ 2 ทวีชัย
 
อบรม E-commerce [พื้นฐานการตลาดออนไลน์]
อบรม E-commerce [พื้นฐานการตลาดออนไลน์]อบรม E-commerce [พื้นฐานการตลาดออนไลน์]
อบรม E-commerce [พื้นฐานการตลาดออนไลน์]
 

เวบ เล มเลก

  • 1. หลักการออกแบบเว็บไซต์ องค์ประกอบของการออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์ที่มีประสิทธิภาพนั้นต้องคานึงถึง องค์ประกอบสาคัญ ดังต่อไปนี้ 1. ความเรียบง่าย (Simplicity) หมายถึง การจากัดองค์ประกอบเสริมให้เหลือเฉพาะองค์ประกอบ หลัก กล่าวคือในการสื่อสารเนื้อหากับผู้ใช้นั้น เราต้องเลือกเสนอสิ่งที่เรา ต้องการนาเสนอจริง ๆ ออกมาในส่วนของกราฟิก สีสัน ตัวอักษรและ ภาพเคลื่อนไหว ต้องเลือกให้พอเหมาะ ถ้าหากมีมากเกินไปจะรบกวนสายตา และสร้างความคาราญต่อผู้ใช้ตัวอย่างเว็บไซต์ที่ได้รับการออกแบบที่ดี 2. ความสม่าเสมอ ( Consistency) หมายถึง การสร้างความสม่าเสมอให้เกิดขึ้นตลอดทั้งเว็บไซต์ โดย อาจเลือกใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ก็ได้ เพราะถ้าหากว่าแต่ละหน้า ในเว็บไซต์นั้นมีความแตกต่างกันมากจนเกินไป อาจทาให้ผู้ใช้เกิดความสับสน และไม่แน่ใจว่ากาลังอยู่ในเว็บไซต์เดิมหรือไม่ 3. ความเป็นเอกลักษณ์ (Identity) ในการออกแบบเว็บไซต์ต้องคานึงถึงลักษณะขององค์กรเป็นหลัก เนื่องจากเว็บไซต์จะสะท้อนถึงเอกลักษณ์และลักษณะขององค์กร การ เลือกใช้ตัวอักษร ชุดสี รูปภาพหรือกราฟิก จะมีผลต่อรูปแบบของเว็บไซต์ เป็นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น ถ้าเราต้องออกแบบเว็บไซต์ของธนาคารแต่เรา กลับเลือกสีสันและกราฟิกมากมาย อาจทาให้ผู้ใช้คิดว่าเป็นเว็บไซต์ของสวน สนุกซึ่งส่งผลต่อความเชื่อถือขององค์กรได้ 4. เนื้อหา (Useful Content) ถือเป็นสิ่งสาคัญที่สุดในเว็บไซต์ เนื้อหาในเว็บไซต์ต้องสมบูรณ์และ ได้รับการปรับปรุงพัฒนาให้ทันสมัยอยู่เสมอ ผู้พัฒนาต้องเตรียมข้อมูลและ เนื้อหาที่ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้องและสมบูรณ์ เนื้อหาที่สาคัญที่สุดคือเนื้อหาที่ ทีมผู้พัฒนาสร้างสรรค์ขึ้นมาเอง และไม่ไปซ้ากับเว็บอื่น เพราะจะถือเป็นสิ่งที่ ดึงดูดผู้ใช้ให้เข้ามาเว็บไซต์ได้เสมอ แต่ถ้าเป็นเว็บที่ลิงค์ข้อมูลจากเว็บอื่น ๆ มาเมื่อใดก็ตามที่ผู้ใช้ทราบว่า ข้อมูลนั้นมาจากเว็บใด ผู้ใช้ก็ไม่จาเป็นต้อง กลับมาใช้งานลิงค์เหล่านั้นอีก 5. ระบบเนวิเกชั่น (User-Friendly Navigation) เป็นส่วนประกอบที่มีความสาคัญต่อเว็บไซต์มาก เพราะจะช่วยไม่ให้ ผู้ใช้เกิดความสับสนระหว่างดูเว็บไซต์ ระบบเนวิเกชั่นจึงเปรียบเสมือนป้าย บอกทาง ดังนั้นการออกแบบเนวิเกชั่น จึงควรให้เข้าใจง่าย ใช้งานได้สะดวก ถ้ามีการใช้กราฟิกก็ควรสื่อความหมาย ตาแหน่งของการวางเนวิเกชั่นก็ควร วางให้สม่าเสมอ เช่น อยู่ตาแหน่งบนสุดของทุกหน้าเป็นต้น ซึ่งถ้าจะให้ดีเมื่อ มีเนวิเกชั่นที่เป็นกราฟิกก็ควรเพิ่มระบบเนวิเกชั่นที่เป็นตัวอักษรไว้ส่วนล่าง ด้วย เพื่อช่วยอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ที่ยกเลิกการแสดงผลภาพกราฟิก บนเว็บเบราเซอร์ 6. คุณภาพของสิ่งที่ปรากฏให้เห็นในเว็บไซต์ (Visual Appeal) ลักษณะที่น่าสนใจของเว็บไซต์นั้น ขึ้นอยู่กับความชอบส่วนบุคคล เป็นสาคัญ แต่โดยรวมแล้วก็สามารถสรุปได้ว่าเว็บไซต์ที่น่าสนใจนั้น ส่วนประกอบต่าง ๆ ควรมีคุณภาพ เช่น กราฟิกควรสมบูรณ์ไม่มีรอยหรือ
  • 2. ขอบขั้นบันได้ให้เห็น ชนิดตัวอักษรอ่านง่ายสบายตา มีการเลือกใช้โทนสีที่เข้า กันอย่างสวยงาม เป็นต้น 7. ความสะดวกของการใช้ในสภาพต่าง ๆ (Compatibility) การใช้งานของเว็บไซต์นั้นไม่ควรมีขอบจากัด กล่าวคือ ต้องสามารถใช้งานได้ ดีในสภาพแวดล้อมที่หลากหลาย ไม่มีการบังคับให้ผู้ใช้ต้องติดตั้งโปรแกรมอื่น ใดเพิ่มเติม นอกเหนือจากเว็บบราวเซอร์ ควรเป็นเว็บที่แสดงผลได้ดีในทุก ระบบปฏิบัติการ สามารถแสดงผลได้ในทุกความละเอียดหน้าจอ ซึ่งหากเป็น เว็บไซต์ที่มีผู้ใช้บริการมากและกลุ่มเป้าหมายหลากหลายควรให้ความสาคัญ กับเรื่องนี้ให้มาก 8. ความคงที่ในการออกแบบ (Design Stability) ถ้าต้องการให้ผู้ใช้งานรู้สึกว่าเว็บไซต์มีคุณภาพ ถูกต้อง และเชื่อถือ ได้ ควรให้ความสาคัญกับการออกแบบเว็บไซต์เป็นอย่างมาก ต้องออกแบบ วางแผนและเรียบเรียงเนื้อหาอย่างรอบคอบ ถ้าเว็บที่จัดทาขึ้น ไม่มีมาตรฐาน การออกแบบและระบบการจัดการข้อมูล ถ้ามีปัญหามากขึ้นอาจส่งผลให้เกิด ปัญหาและทาให้ผู้ใช้หมดความเชื่อถือ 9. ความคงที่ของการทางาน (Function Stability) ระบบการทางานต่าง ๆ ในเว็บไซต์ควรมีความถูกต้องแน่นอน ซึ่ง ต้องได้รับการออกแบบสร้างสรรค์และตรวจสอบอยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น ลิงค์ ต่าง ๆ ในเว็บไซต์ ต้องตรวจสอบว่ายังสามารถลิงค์ข้อมูลได้ถูกต้องหรือไม่ เพราะเว็บไซต์อื่นอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ปัญหาที่เกิดจากลิงค์ ก็คือ ลิงค์ขาด ซึ่งพบได้บ่อยเป็นปัญหาที่สร้างความราคาญกับผู้ใช้เป็นอย่าง มาก ในการออกแบบเว็บไซต์นั้นประกอบด้วยกระบวนการต่าง ๆ เช่น การออกแบบโครงสร้าง ลักษณะหน้าตา หรือการเขียนโปรแกรม แต่มีหลาย คนที่พัฒนาเว็บไซต์ โดยขาดการวางแผนและทางานไม่เป็นระบบ ตัวอย่างเช่น การลงมือออกแบบโดยการใช้โปรแกรมช่วยสร้างเว็บ เนื้อหา และรูปแบบก็เป็นไปตามที่นึกขึ้นได้ขณะนั้น และเมื่อเห็นว่าดูดีแล้วก็เปิดตัว เลย ทาให้เว็บนั้นมีเป้าหมายและแนวทางที่ไม่แน่นอน ผลลัพธ์ที่ได้จึงเสี่ยงกับ ความล้มเหลวค่อนข้างมาก ความล้มเหลวที่พบเห็นได้ทั่วไป ได้แก่ เว็บที่แสดงข้อความว่าอยู่ ระหว่างการก่อสร้าง (Under Construction หรือ Coming soon) ซึ่งแสดง ให้เห็นถึงการขาดการวางแผนที่ดีบางเว็บถือได้ว่าตายไปแล้ว เนื่องจากข้อมูล ไม่ทันสมัย ขาดการพัฒนาปรับปรุงเทคโนโลยีล้าสมัย ลิงค์ผิดพลาด สิ่ง เหล่านี้แสดงให้เห็นถึงการขาดการดูแล ตรวจสอบและพัฒนาให้ทันสมัยอยู่ เสมอ การออกแบบเว็บไซต์อย่างถูกต้องจะช่วยลดความผิดพลาดเหล่านี้ และช่วย ลดความเสี่ยงที่จะทาให้เว็บประสบความล้มเหลว การออกแบบเว็บไซต์ที่ดี ต้องอาศัยการออกแบบและจัดระบบข้อมูลอย่างเหมาะสม กระบวนการแรกของการออกแบบเว็บไซต์คือการกาหนดเป้าหมายของ เว็บไซต์กาหนดกลุ่มผู้ใช้ ซึ่งการจะให้ได้มาซึ่งข้อมูล ผู้พัฒนาต้องเรียนรู้ผู้ใช้ หรือจาลองสถานการณ์ สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้เราสามารถออกแบบเนื้อหาและ การใช้งานเว็บไซต์ได้อย่างเหมาะสม ตรงกับความต้องการของผู้ใช้อย่าง แท้จริง
  • 3. กาหนดเป้าหมายของเว็บไซต์ ขั้นตอนแรกของการออกแบบเว็บไซต์ คือการกาหนดเป้าหมายของ เว็บไซต์ให้แน่ชัดเสียก่อน เพื่อจะได้ออกแบบการใช้งานได้ตรงกับเป้าหมายที่ ได้ตั้งเอาไว้ โดยทั่วไปมักจะเข้าใจว่าการทาเว็บไซต์มีจุดมุ่งหมายเพื่อบริการ ข้อมูลของหน่วยงานหรือองค์กรเท่านั้น แต่ในความเป็นจริงแล้ว เว็บไซต์แต่ ละแห่งก็จะมีเป้าหมายของตนเองแตกต่างกันออกไป กาหนดกลุ่มผู้ใช้เป้าหมาย ผู้ออกแบบเว็บไซต์จาเป็นต้องทราบกลุ่มผู้ใช้เป้าหมายที่เข้ามาใช้ บริการเว็บไซต์ เพื่อที่จะได้ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่นเว็บไซต์ที่มีกลุ่มผู้ใช้หลากหลาย เช่น เซิร์ชเอ็นจิน เว็บท่า และ เว็บไดเรกทอรี่ แต่เว็บไซต์ส่วนใหญ่นั้นจะตอบสนองความต้องการเฉพาะกลุ่ม เท่านั้น ไม่สาหรับทุกคน เพราะไม่สามารถตอบสนองความต้องการของคนที่ หลากหลายได้ในเว็บไซต์เดียวสิ่งที่ผู้ใช้ต้องการจากเว็บ หลังจากที่ได้เป้าหมายและกลุ่มเป้าหมายของเว็บไซต์แล้ว ลาดับต่อไปคือการ ออกแบบเว็บไซต์เพื่อดึงดูดผู้ใช้งานให้ได้นานที่สุด ด้วยการสร้างสิ่งที่น่าสนใจ เพื่อดึงดูดผู้ใช้โดยทั่วไปแล้ว สิ่งที่ผู้ใช้คาดหวังจากการเข้าชมเว็บไซต์หนึ่ง ได้แก่ - ข้อมูลและการใช้งานที่เป็นประโยชน์ - ข่าวและข้อมูลที่น่าสนใจ - การตอบสนองต่อผู้ใช้ - ความบันเทิง - ของฟรี ข้อมูลหลักที่ควรมีอยู่ในเว็บไซต์ เมื่อทราบถึงความต้องการที่ผู้ใช้ต้องการได้รับเมื่อเข้าชมเว็บไซต์ หนึ่งๆแล้วก็ออกแบบเว็บไซต์ให้มีข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการ ซึ่งข้อมูลต่อไปนี้ เป็น สิ่งที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่คาดหวังจะได้รับเมื่อเข้าไปชมเว็บไซต์ - ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัท - รายละเอียดของผลิตภัณฑ์ - ข่าวความคืบหน้าและข่าวจากสื่อมวลชน - คาถามยอดนิยม - ข้อมูลในการติดต่อ ออกแบบหน้าเว็บไซต์ (Page Design) หน้าเว็บเป็นสิ่งแรกที่ผู้ใช้จะได้เห็นขณะที่เปิดเข้าสู่เว็บไซต์ และยัง เป็นสิ่งแรกที่แสดงถึงประสิทธิภาพในการออกแบบเว็บไซต์อีกด้วย หน้าเว็บ จึงเป็นสิ่งสาคัญมาก เพราะเป็นสื่อกลางให้ผู้ชมสามารถใช้ประโยชน์จาก ข้อมูลของระบบงานของเว็บไซต์นั้นได้ โดยปกติหน้าเว็บจะประกอบด้วย รูปภาพ ตัวอักษร สีพื้น ระบบ เนวิเกชั่น และองค์ประกอบอื่น ๆ ที่ช่วยสื่อความหมายของเนื้อหาและ อานวยความสะดวกต่อการใช้งาน หลักสาคัญในการออกแบบหน้าเว็บก็คือ การใช้รูปภาพและองค์ประกอบต่าง ๆ ร่วมกันเพื่อสื่อความหมาย เกี่ยวกับ เนื้อหาหรือลักษณะสาคัญของเว็บไซต์ โดยมีเป้าหมายสาคัญเพื่อการสื่อ ความหมายที่ชัดเจนและน่าสนใจ บนพื้นฐานของความเรียบง่ายและความ สะดวกของผู้ใช้
  • 4. การออกแบบเว็บไซต์ ต้องคานึงถึง 1. ความเรียบง่าย ได้แก่ มีรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน และใช้งานได้ สะดวก ไม่มีกราฟิกหรือตัวอักษรที่เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ชนิดและสีของ ตัวอักษรไม่มากจนเกินไปทาให้วุ่นวาย 2. ความสม่าเสมอ ได้แก่ ใช้รูปแบบเดียวกันตลอดทั้งเว็บไซต์ เช่น รูปแบบของหน้า สไตล์ของกราฟิก ระบบเนวิเกชันและโทนสี ควรมีความ คล้ายคลึงกันตลอดทั้งเว็บไซต์ 3. ความเป็นเอกลักษณ์ การออกแบบเว็บไซต์ควรคานึงถึงลักษณะของ องค์กร เพราะรูปแบบของเว็บไซต์จะสะท้อนถึงเอกลักษณ์และลักษณะของ องค์กรนั้น ๆ เช่น ถ้าเป็นเว็บไซต์ของทาง ราชการ จะต้องดูน่าเชื่อถือไม่ เหมือนสวนสนุก ฯลฯ 4. เนื้อหาที่มีประโยชน์ เนื้อหาเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในเว็บไซต์ ดังนั้น ควรจัดเตรียมเนื้อหาและข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้อง และสมบูรณ์ มีการ ปรับปรุงและเพิ่มเติมให้ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื้อหาไม่ควรซ้ากับเว็บไซต์อื่น จึงจะดึงดูดความสนใจ 5. ระบบเนวิเกชันที่ใช้งานง่าย ต้องออกแบบให้ผู้ใช้เข้าใจง่ายและใช้ งานสะดวก ใช้กราฟิกที่สื่อความหมายร่วมกับคาอธิบายที่ชัดเจน มีรูปแบบ และลาดับของรายการที่สม่าเสมอ เช่น วางไว้ ตาแหน่งเดียวกันของทุกหน้า 6. ลักษณะที่น่าสนใจ หน้าตาของเว็บไซต์จะต้องมีความสัมพันธ์กับ คุณภาพขององค์ประกอบต่างๆ เช่น คุณภาพของกราฟิกที่จะต้องสมบูรณ์ การใช้สี การใช้ตัวอักษรที่อ่านง่าย สบายตา การใช้โทนสีที่เข้ากันลักษณะ หน้าตาที่น่าสนใจนั้นขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละบุคคล 7. การใช้งานอย่างไม่จากัด ผู้ใช้ส่วนใหญ่สามารถเข้าถึงได้มากที่สุด เลือกใช้บราวเซอร์ชนิดใดก็ได้ในการเข้าถึงเนื้อหาสามารถแสดงผลได้ทุก ระบบปฏิบัติการและความละเอียดหน้าจอต่างๆ กันอย่างไม่มีปัญหาเป็น ลักษณะสาคัญสาหรับผู้ใช้ที่มีจานวนมาก 8. คุณภาพในการออกแบบ การออกแบบและเรียบเรียงเนื้อหาอย่าง รอบคอบ สร้างความรู้สึกว่าเว็บไซต์มีคุณภาพ ถูกต้อง และเชื่อถือได้ 9. ลิงค์ต่างๆ จะต้องเชื่อมโยงไปหน้าที่มีอยู่จริงและถูกต้อง ระบบการ ทางานต่างๆ ในเว็บไซต์จะต้องมีความแน่นอนและทาหน้าที่ได้อย่างถูก การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ (Site Structure Design) โครงสร้างเว็บไซท์ ( Site Structure ) เป็นแผนผังของการลาดับ เนื้อหาหรือการจัดวางตาแหน่งเว็บเพจทั้งหมด ซึ่งจะทาให้เรารู้ว่าทั้งเว็บไซท์ ประกอบไปด้วยเนื้อหาอะไรบ้าง และมีเว็บเพจหน้าไหนที่เกี่ยวข้องเชื่อมโยง ถึงกัน ดังนั้นการออกแบบโครงสร้างเว็บไซท์จึงเป็นเรื่องสาคัญ เปรียบเสมือน กับการเขียนแบบอาคารก่อนที่จะลงมือสร้าง เพราะจะทาให้เรามองเห็น หน้าตาของเว็บไซท์เป็นรูปธรรมมากขึ้น สามารถออกแบบระบบเนวิเกชั่นได้ เหมาะสม และเป็นแนวทางการทางานที่ชัดเจน สาหรับขั้นตอนต่อๆไป นอกจากนี้โครงสร้างเว็บไซท์ที่ดียังช่วยให้ผู้ชมไม่สับสนและค้นหาข้อมูลที่ ต้องการได้อย่างรวดเร็ว วิธีการจัดโครงสร้างเว็บไซท์สามารถทาได้หลายแบบ แต่แนวคิด หลักๆที่นิยมใช้กันมีอยู่ 2 แบบคือ จัดตามกลุ่มเนื้อหา ( Content-based Structure ) จัดตามกลุ่มผู้ชม ( User-based Structure )
  • 5. รูปแบบของโครงสร้างเว็บไซต์ สามารถวางรูปแบบโครงสร้างเว็บไซต์ได้หลายแบบตามความ เหมาะสม เช่น แบบเรียงลาดับ ( Sequence ) เหมาะสาหรับเว็บไซต์ที่มีจานวนเว็บ เพจไม่มากนัก หรือเว็บไซท์ที่มีการนาเสนอข้อมูลแบบทีละขั้นตอน แบบระดับชั้น ( Hierarchy ) เหมาะสาหรับเว็บไซต์ที่มีจานวนเว็บ เพจมากขึ้น เป็นรูปแบบที่เราจะพบได้ทั่วไป แบบผสม ( Combination ) เหมาะสาหรับเว็บไซต์ที่ซับซ้อน เป็น การนาข้อดีของรูปแบบทั้ง 2 ข้างต้นมาผสมกัน ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ กาหนดเป้าหมายและวางแผน ในการพัฒนาเว็บไซต์เราควรกาหนดเป้าหมาย และวางแผนไว้ ล่วงหน้า เพื่อให้การทางานในขั้นต่อๆไปมีแนวทางที่ชัดเจน เรื่องหลักๆที่เรา ควรทาในขั้นตอนนี้ประกอบด้วย 1. กาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนว่า เว็บไซต์นี้ต้องการนาเสนอหรือต้องการให้เกิดผลอะไร เช่น เป็นเว็บไซต์ สาหรับให้ข้อมูลหรือขายสินค้า ซึ่งวัตถุประสงค์นี้จะเป็นตัวกาหนด รายละเอียดอื่นๆที่จะตามมา เช่นโครงสร้างของเว็บไซต์ รวมถึงลักษณะ หน้าตา และสีสันของเว็บเพจ ในกรณีที่เป็นเว็บไซต์ของบริษัทหรือองค์กร วัตถุประสงค์นี้ก็จะต้องวางให้สอดคล้องกับภารกิจขององค์กรด้วย 2. กาหนดกลุ่มผู้ชมเป้าหมาย เพื่อจะได้รู้ว่าผู้ชมหลักของเรา คือใคร และออกแบบเว็บไซต์ให้ตอบสนองความต้องการหรือโดนใจผู้ชมกลุ่ม นั้นให้มากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นการเลือกเนื้อหา โทนสี กราฟิก เทคโนโลยีที่ นามาสนับสนุน และอื่นๆ 3. เตรียมแหล่งข้อมูล เนื้อหาหรือข้อมูลคือสาระที่แท้จริงของ เว็บไซต์ เราต้องรู้ว่าข้อมูลที่จาเป็นต้องใช้จะมาจากแหล่งใดได้บ้าง เช่น ถ้า เป็นเว็บของบริษัท ใครที่จะเป็นผู้ให้ข้อมูล หรือถ้าเป็นเว็บข่าวสาร ข่าวสาร นั้นจะมาจากแหล่งใด มีลิขสิทธิ์หรือไม่ 4. เตรียมทักษะหรือบุคลากร การสร้างเว็บไซต์ต้องอาศัย ทักษะหลายๆด้าน เช่น ในการเตรียมเนื้อหา ออกแบบกราฟิก เขียน โปรแกรม และการดูแลเว็บเซิร์ฟเวอร์ เป็นต้น ซึ่งถ้าเป็นเว็บไซต์ขนาดใหญ่ อาจจะต้องใช้บุคลากรเป็นจานวนมาก แต่สาหรับเว็บไซต์เล็กๆที่ต้องดูแล เพียงคนเดียว เราก็จะต้องศึกษาหาความรู้ในเรื่องนั้นๆเพื่อเตรียมพร้อมเอาไว้ 5. เตรียมทรัพยากรต่างๆที่จาเป็น เช่น โปรแกรมสาหรับสร้าง เว็บไซต์ โปรแกรมสาหรับสร้างกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว และมัลติมิ เดีย โปรแกรมอื่นๆที่ต้องใช้ การจดทะเบียนโดเมนเนม ตลอดจนการเตรียม หาผู้ให้บริการรับฝากเว็บไซต์ (Web Hosting) และเลือกแผนบริการที่ เหมาะสม วิเคราะห์และจัดโครงสร้างข้อมูล ขั้นตอนนี้จะเป็นการนาข้อมูลต่างๆที่รวบรวมได้จากขั้นแรก ไม่ว่าจะ เป็น วัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ คุณลักษณะ ข้อจากัดของกลุ่มผู้ชม เป้าหมาย รวมทั้งเนื้อหาหลักของเว็บไซต์ นามาประเมิน วิเคราะห์ และ จัดระบบ เพื่อให้ได้โครงสร้างข้อมูล และข้อกาหนด ซึ่งจะใช้เป็นกรอบ สาหรับการออกแบบและดาเนินการในขั้นต่อๆไป ผลที่ได้รับจากขั้นนี้ควร ประกอบไปด้วย - แผนผังโครงสร้างของเว็บไซต์ลาดับการนาเสนอ สารบัญ หรือ ผังงาน
  • 6. - ระบบนาทางหรือเนวิเกชั่น ซึ่งผู้ชมจะใช้สาหรับเปิดเข้าไปยังส่วน ต่างๆของเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น โครงสร้างและรูปแบบของเมนู - องค์ประกอบต่างๆที่จะนามาใช้ในเว็บเพจมีอะไรบ้าง เช่น รูปภาพและภาพกราฟิก,เสียง,วีดีโอ,มัลติมีเดีย, แบบฟอร์มฯลฯ อะไรบ้างที่ บราวเซอร์ของผู้ชมสนับสนุน และอะไรบ้างที่ต้องอาศัยโปรแกรมเสริม - ข้อกาหนดเกี่ยวกับลักษณะหน้าตาและรูปแบบของเว็บเพจ - ข้อกาหนดของโปรแกรมภาษาสคริปต์หรือเว็บแอพพลิเคชั่น และ ฐานข้อมูลที่ใช้ในเว็บไซต์ - คุณสมบัติของเว็บเซิร์ฟเวอร์ รวมถึงข้อจากัด และบริการเสริม ต่างๆที่มีให้ ออกแบบเว็บเพจและเตรียมข้อมูล เป็นขั้นตอนการออกแบบเค้าโครงหน้าตา และลักษณะด้านกราฟิก ของหน้าเว็บเพจ เพื่อให้ผู้ชมเกิดอารมณ์ความรับรู้ต่อเว็บเพจตามที่เรา ต้องการ ดังนั้นผู้ที่ทาหน้าที่นี้จึงควรมีความสามารถทางด้านศิลปะ พอสมควร โปรแกรมที่เหมาะจะใช้ในการออกแบบคือ Adobe Photoshop หรือ Macromedia Fireworks ซี่งผลที่ได้จะประกอบด้วยไฟล์ กราฟิกต่างๆ ที่ใช้บนเว็บเพจ เช่น โลโก้,ภาพพื้นหลัง,ปุ่มเมนู,ไอคอนที่เป็นหัว คอลัมน์ และแบนเนอร์โฆษณาการออกแบบเว็บเพจยังรวมไปถึงการกาหนด สีสัน และรูปแบบของส่วนประกอบต่างๆที่ไม่ใช่ภาพกราฟิก เช่น ฟอนต์ ขนาด และสีข้อความ สีพื้นบริเวณที่ว่าง สีและลวดลายของเส้นกรอบ เป็น ต้น นอกจากนี้องค์ประกอบเสริมอื่นๆของเว็บเพจก็ต้องถูกเตรียมไว้ด้วย เช่น ภาพเคลื่อนไหว Flash และโปรแกรม JavaScript ที่ใช้โต้ตอบกับ ผู้ชม หรือเล่นเอฟเฟ็คต์ต่างๆในส่วนของเนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเป็นการนา เนื้อหาที่เลือกไว้มาปรับแก้ และตรวจทานความถูกต้อง เพื่อให้พร้อมสาหรับ จะนาไปใส่เว็บเพจแต่ละหน้าในขั้นตอนถัดไป ลงมือสร้างและทดสอบ เป็นขั้นตอนที่เว็บเพจจะถูกสร้างขึ้นมาจริงทีละหน้าๆ โดยอาศัยเค้า โครง และองค์ประกอบกราฟิกตามที่ออกแบบไว้ เนื้อหาต่างๆจะถูกนามาใส่ และจัดรูปแบบ ลิ้งค์และระบบนาทางถูกสร้าง องค์ประกอบเสริมต่างๆถูกวาง เข้าที่ อย่างไรก็ตาม เมื่อลงมือสร้างเว็บเพจจริงเราอาจพบว่าสิ่งที่ออกแบบไว้ แล้ว บางอย่างไม่เหมาะสม หรือควรได้รับการปรับแต่ง ก็สามารถทาได้ โปรแกรมที่ใช้ในขั้นตอนนี้ก็คือโปรแกรมสาหรับสร้าง เว็บไซต์ เช่น Macromedia Dreamweaver เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาควรได้รับการทดสอบก่อนที่จะนาออก เผยแพร่ ไม่ว่าจะเป็นความถูกต้องของเนื้อหา การทางานของลิ้งค์และระบบ นาทาง ตรวจหาความผิดพลาดของโปรแกรมสคริปต์และ ฐานข้อมูล นอกจากนี้ก็ควรทดสอบโดยใช้สภาพแวดล้อมที่เหมือนกับของ กลุ่มผู้ชมเป้าหมาย เช่น เวอร์ชั่นของบราวเซอร์ ความละเอียดของจอภาพ และความเร็วที่เชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ต เพื่อดูว่าผู้ชมเป้าหมายสามารถชม เว็บไซต์ได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพหรือไม่ เผยแพร่และส่งเสริมให้เป็นที่รู้จัก โดยทั่วไปการนาเว็บไซต์ขึ้นเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตจะทาด้วยการ อัพโหลดไฟล์ทั้งหมด คือ HTML และไฟล์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ขึ้นไปเก็บบน เซิร์ฟเวอร์ที่เราเปิดบริการไว้ การอัพโหลดเว็บไซต์ หรือบางครั้งเรียกว่า “พับ
  • 7. ลิช” อาจทาด้วยโปรแกรมสร้างเว็บไซต์เอง ซึ่งมีคุณสมบัตินี้ในตัว หรือ อาจจะใช้โปรแกรมยูทิลิตี้ประเภท FTP เช่น CuteFTP และ WS_FTP หรือ ใช้เครื่องมืออื่นบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ก็ได้ หลังจากนั้นเว็บไซต์ควรได้รับการทดสอบอีกครั้ง เพื่อตรวจหาปัญหา บางอย่างที่ไม่สามารถทดสอบบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราได้ เช่น การลิ้งค์ ของเว็บเพจกับเว็บไซต์อื่น และการทางานของโปรแกรมสคริปต์กับ ฐานข้อมูล ซึ่งอาจทาไม่ได้บนเครื่องของเรา หรือบนเว็บเซิร์ฟเวอร์อาจมี สภาพแวดล้อมที่ต่างออกไป เว็บไซต์ที่ประสบความสาเร็จ นอกจากต้องมีเนื้อหาที่ดี มีการวางโครงสร้าง และการออกแบบที่เหมาะสมแล้ว ยังต้องได้รับการโฆษณา และส่งเสริมให้ เป็นที่รู้จักในกลุ่มผู้ชมเป้าหมายหรือในวงกว้างออกไปอีกด้วย การส่งเสริมนี้มี กลยุทธที่ทาได้หลายวิธี ซึ่งไม่จาเป็นต้องใช้งบประมาณจานวนมากเสมอ ไป โดยสามารถทาได้ตั้งแต่แบบง่ายๆ คือการแลกเปลี่ยนลิ้งค์หรือแบน เนอร์ ประกาศบนเว็บบอร์ดสาธารณะ การส่งอีเมล์ เพิ่มข้อมูลในเสิร์ชเอ็น จิ้น หรือเว็บไดเร็กทอรี่ เรื่อยไปจนถึงแบบที่ต้องใช้งบประมาณมากขึ้น เช่น การจัดงานเปิดตัว การลงโฆษณาบนเว็บไซต์อื่น ในสิ่งพิมพ์ หรือในวิทยุ โทรทัศน์ เป็นต้น การใช้สีในการออกแบบเว็บไซต์ การสร้างสีสันบนหน้าเว็บเป็นสิ่งที่สื่อความหมายของเว็บไซต์ได้ อย่างชัดเจน การเลือกใช้สีให้เหมาะสม กลมกลืน ไม่เพียงแต่จะสร้างความพึง พอใจให้กับผู้ใช้ แต่ยังสามารถทาให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างเว็บไซต์ได้ สีเป็นองค์ประกอบหลักสาหรับการตกแต่งเว็บ จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทา ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สี ความรู้สึกที่คนส่วนใหญ่มีต่อสีต่างๆ สีฟ้า ให้ความรู้สึกสงบ สุขุม สุภาพ หนักแน่น เคร่งขรึม เอาการเอางาน ละเอียด รอบคอบ สง่างาม มีศักดิ์ศรี สูงศักดิ์ เป็นระเบียบถ่อมตน สามารถ ลดความตื่นเต้น และช่วยทาให้มีสมาธิ แต่ถ้ามีสีน้าเงินเข้มเกินไป ก็จะทาให้ รู้สึกซึมเศร้าได้ สีเขียว เป็นสีในวรรณะเย็น จะสร้างความรู้สึกเย็นสบาย ใช้เป็นสีที่ช่วยผ่อน คลายความเครียดได้ ให้ความรู้สึก สงบ เงียบ ร่มรื่น ร่มเย็น การพักผ่อน การ ผ่อนคลาย ธรรมชาติ ความปลอดภัย ปกติ ความสุข ความสุขุม สีเหลือง เป็นสีแห่งความเบิกบาน เร้าอารมณ์ และเรียกร้องความสนใจ ให้ ความรู้สึกแจ่มใส ความสดใส ความร่าเริง ความเบิกบานสดชื่น ชีวิตใหม่ ความสด ใหม่ ความสุกสว่าง การแผ่กระจาย อานาจบารมี ให้ลองสังเกตดูว่า วันที่ท้องฟ้ามืดครื้มปราศจากแสงแดด เราจะรู้สึกหงอยเหงา หดหู่ แต่พอมี แสงแดด ท้องฟ้าสว่าง มีสีเหลือง เราจะรู้สึกมีชีวิตชีวาขึ้น สีแดง เป็นสีที่สร้างความตื่นเต้น และกระตุ้นสมอง สีแดงปานกลางแสดง ถึงความมีสุขภาพดี ความมีชีวิต ความรัก ความสาคัญ ความอุดมสมบูรณ์ ความมั่งคั่ง สีแดงจัดมีความหมายแฝงด้านกามารมณ์ นอกจากนี้สีแดงยัง สร้างความรู้สึกรุนแรง ให้ความรู้สึกร้อน กระตุ้น ท้าทาย เคลื่อนไหว ตื่นเต้น เร้าใจ มีพลัง มันจะใช้กันกรณีที่เกี่ยวกับความตื่นเต้น หรืออันตราย
  • 8. สีม่วง ให้ความรู้สึก มีเสน่ห์ น่าติดตาม เร้นลับ ซ่อนเร้น มีอานาจ มีพลัง แฝงอยู่ ความรัก ความเศร้า ความผิดหวัง ความสงบ ความสูงศักดิ์ เป็นสีที่ ปลอบโยน และช่วยลดความเครียด แต่เดิมสีม่วงได้มาจากสัตว์มีกระดอง เปลือก ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน มีชื่อว่า Purpura จึงได้ชื่อภาษาอังกฤษว่า Purple สีส้ม ให้ความรู้สึก ร้อน ความอบอุ่น ความสดใส มีชีวิตชีวา วัยรุ่น ความ คึกคะนอง การปลดปล่อย ความเปรี้ยว การระวัง เป็นสีที่เร้าความรู้สึก ปรกติควรใช้แต่น้อยเมื่อเทียบกับสีอื่น สังเกตว่าคนที่อยู่ในห้องสีส้มจะอยู่ได้ ไม่นาน สีน้าตาล ให้ความรู้สึกอบอุ่น ได้พักผ่อน แต่ควรใช้ร่วมกับสีส้ม เหลือง หรือสี ทอง เพราะถ้าใช้สีน้าตาลเพียงสีเดียว อาจทาให้เกิดความรู้สึกหดหู่ได้ สีเทา ให้ความรู้สึก เศร้า อาลัย ท้อแท้ ความลึกลับ ความหดหู่ ความชรา ความสงบ ความเงียบ สุภาพ สุขุม ถ่อมตน สีนี้มีข้อดีคือทาให้เย็น แต่สร้าง ความสร้างความรู้สึกหม่นหมองได้ ควรใช้ร่วมกับสีที่มีชีวิต โทนสว่างอย่าง น้อยหนึ่งสี สีขาว ให้ความรู้สึก บริสุทธิ์ สะอาด สดใส เบาบาง อ่อนโยน เปิดเผย การ เกิด ความรัก ความหวัง ความจริง ความเมตตา ความศรัทธา ความดี งาม ให้ความรู้สึกรื่นเริง โดยเฉพาะเมื่อใช้กับสีแดง เหลือง และส้ม