SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
การใช้งานคาสั่ง SQL
SQL คือ
SQL เป็นภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับทางานกับชุดข้อมูลและความสัมพันธ์
ระหว่างชุดข้อมูลต่างๆ โปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
SQL ไม่ได้ใช้ในการจัดการข้อมูลได้เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังใช้สร้าง
และเปลี่ยนแปลงการออกแบบของวัตถุฐานข้อมูล เช่น ตาราง ได้อีกด้วย
SELECT
นี่เป็นส่วนคาสั่ง SELECT ซึ่งประกอบด้วยตัวดาเนินการ (SELECT)
ตามด้วยตัวระบุสองค่า ([E-mail Address] และ Company)
ถ้าตัวระบุมีเว้นวรรคหรืออักขระพิเศษ (เช่น "E-mail Address")
จะต้องอยู่ในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม
ส่วนคาสั่ง SELECT ไม่จาเป็นต้องระบุว่าตารางใดมีเขตข้อมูลนั้น และไม่
สามารถระบุเกณฑ์ใดๆ ในการเลือกข้อมูลเข้ามารวมไว้ได้
ส่วนคาสั่ง SELECT จะปรากฏอยู่หน้าส่วนคาสั่ง FROM ในคาสั่ง
SELECT เสมอ
คำสั่ง FROM
จะระบุตารางหรือแบบสอบถามที่มีข้อมูลที่จะใช้ในส่วนคาสั่ง SELECT
สมมติว่าคุณต้องการทราบหมายเลขโทรศัพท์ของลูกค้าคนหนึ่ง โดยสมมติให้ตารางที่มีเขตข้อมูลที่
เก็บข้อมูลนี้อยู่มีชื่อว่า tblCustomer ส่วนคาสั่ง FROM จะมีลักษณะดังต่อไปนี้
1.ใช้เครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยมล้อมรอบตัวระบุ
2.ใช้ชื่อแทนสาหรับแหล่งข้อมูล
3.รวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
4.การรวมภายใน
5.การรวมภายนอก
การเขียนคาสั่ง SQL สาหรับเรียกดูข้อมูล
SELECT (ใส่ชื่อคอลัมน์ และ built in function)
FROM (ใส่ชื่อตารางที่เราจะเรียกดูข้อมูล)
WHERE (ใส่เงื่อนไขสาหรับการกรองแถว ห้ามใส่ built in function)
GROUP BY (ใส่ชื่อคอลัมน์ที่ใช้ group ข้อมูล)
HAVING (ใส่เงื่อนไขสาหรับกรองกลุ่ม)
ORDER BY(ใส่ชื่อคอลัมน์หรือลาดับที่ของคอลัมน์ที่ใช้ในการเรียงผลลัพธ์)
ประเภทของคำสั่ง SQL
1.ภาษาสาหรับนิยามข้อมูล (Data definition Language : DDL) ประกอบด้วยคาสั่งที่ใช้
ในการกาหนดโครงสร้างข้อมูลว่ามีคอลัมน์อะไรบ้าง แต่ละคอลัมน์เก็บข้อมูลประเภทใด รวมถึงการเพิ่มคอลัมน์ การ
กาหนดดัชนี การกาหนดวิวของผู้ใช้ เป็นต้น
2.ภาษาสาหรับการจัดดาเนินการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML)
ประกอบด้วยคาสั่งที่ใช้ในการเรียกใช้ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงข้อมูลการเพิ่มหรือลบข้อมูล เป็นต้น
3.ภาษาที่ใช้ในการควบคุมข้อมูล (Data Control Language : DCL) ประกอบด้วยคาสั่งที่
ใช้ในการควบคุม การเกิดภาวะพร้อมกัน หรือ ป้องกันการเกิดเหตุการณ์ที่ผู้ใช้หลายคน เรียกใช้ข้อมูลพร้อมกันโดยที่
ข้อมูลนั้นๆอยู่ในระหว่างการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งเป็นเวลาเดียวกับที่ผู้ใช้อีกคนหนึ่งก็เรียกใช้ข้อมูลนี้ ทาให้ข้อมูลที่ผู้ใช้
คนที่สองได้ไปเป็นค่าที่ไม่ถูกต้อง นอกจากนี้ยังประกอบด้วยคาสั่งที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมความปลอดภัยของข้อมูล
ด้วยการให้สิทธิ์ผู้ใช้ที่แตกต่างกัน เป็นต้น
จัดทาโดย
นายวศิน พรรษา ม.5/3 เลขที่ 1
นายศุภวิชญ์ หวังน้าใจ ม.5/3 เลขที่ 2
นางสาวฉัฐกนก เชยล้อมขา ม.5/3 เลขที่ 21
นางสาวจรัสรวี จินดากูลย์ ม.5/3 เลขที่ 25
นางสาวกรรณิการ์ สิงห์คะนองศักดิ์ ม.5/3 เลขที่ 28

More Related Content

What's hot (16)

งานเทคโน
งานเทคโนงานเทคโน
งานเทคโน
 
การใช้ฟังก์ชั่น (Function)
การใช้ฟังก์ชั่น (Function)การใช้ฟังก์ชั่น (Function)
การใช้ฟังก์ชั่น (Function)
 
นางสาวธนพร เฟื่องขจร
นางสาวธนพร เฟื่องขจรนางสาวธนพร เฟื่องขจร
นางสาวธนพร เฟื่องขจร
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
Intro microsoft excel
Intro microsoft excelIntro microsoft excel
Intro microsoft excel
 
53011213016
5301121301653011213016
53011213016
 
กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
5632010002 , 5632010013
5632010002 , 56320100135632010002 , 5632010013
5632010002 , 5632010013
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรมความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม
 
Lesson 13
Lesson 13Lesson 13
Lesson 13
 
Ms excel 2016
Ms excel 2016Ms excel 2016
Ms excel 2016
 
53011213054
5301121305453011213054
53011213054
 
การจัดการเวิร์กชีตและเวิร์กบุ๊ค Ecxel
การจัดการเวิร์กชีตและเวิร์กบุ๊ค Ecxelการจัดการเวิร์กชีตและเวิร์กบุ๊ค Ecxel
การจัดการเวิร์กชีตและเวิร์กบุ๊ค Ecxel
 
Detail
DetailDetail
Detail
 

Similar to 1111 (15)

บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
53011213084
5301121308453011213084
53011213084
 
Excel2007
Excel2007Excel2007
Excel2007
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
 
51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
53011213016
5301121301653011213016
53011213016
 
5632010007,5632010015
5632010007,56320100155632010007,5632010015
5632010007,5632010015
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
Lecture excel2007.ppt 11
Lecture excel2007.ppt 11Lecture excel2007.ppt 11
Lecture excel2007.ppt 11
 
5632010019 5632010020
5632010019   56320100205632010019   5632010020
5632010019 5632010020
 
Ac 5632010002 , 5632010013
Ac 5632010002 , 5632010013Ac 5632010002 , 5632010013
Ac 5632010002 , 5632010013
 
Spat Db 3 Intro Sql
Spat Db 3 Intro SqlSpat Db 3 Intro Sql
Spat Db 3 Intro Sql
 
53011213012
5301121301253011213012
53011213012
 
53011213095
5301121309553011213095
53011213095
 

1111

  • 2. SQL คือ SQL เป็นภาษาคอมพิวเตอร์สาหรับทางานกับชุดข้อมูลและความสัมพันธ์ ระหว่างชุดข้อมูลต่างๆ โปรแกรมฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ SQL ไม่ได้ใช้ในการจัดการข้อมูลได้เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังใช้สร้าง และเปลี่ยนแปลงการออกแบบของวัตถุฐานข้อมูล เช่น ตาราง ได้อีกด้วย
  • 3. SELECT นี่เป็นส่วนคาสั่ง SELECT ซึ่งประกอบด้วยตัวดาเนินการ (SELECT) ตามด้วยตัวระบุสองค่า ([E-mail Address] และ Company) ถ้าตัวระบุมีเว้นวรรคหรืออักขระพิเศษ (เช่น "E-mail Address") จะต้องอยู่ในเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยม ส่วนคาสั่ง SELECT ไม่จาเป็นต้องระบุว่าตารางใดมีเขตข้อมูลนั้น และไม่ สามารถระบุเกณฑ์ใดๆ ในการเลือกข้อมูลเข้ามารวมไว้ได้ ส่วนคาสั่ง SELECT จะปรากฏอยู่หน้าส่วนคาสั่ง FROM ในคาสั่ง SELECT เสมอ
  • 4. คำสั่ง FROM จะระบุตารางหรือแบบสอบถามที่มีข้อมูลที่จะใช้ในส่วนคาสั่ง SELECT สมมติว่าคุณต้องการทราบหมายเลขโทรศัพท์ของลูกค้าคนหนึ่ง โดยสมมติให้ตารางที่มีเขตข้อมูลที่ เก็บข้อมูลนี้อยู่มีชื่อว่า tblCustomer ส่วนคาสั่ง FROM จะมีลักษณะดังต่อไปนี้ 1.ใช้เครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยมล้อมรอบตัวระบุ 2.ใช้ชื่อแทนสาหรับแหล่งข้อมูล 3.รวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 4.การรวมภายใน 5.การรวมภายนอก
  • 5. การเขียนคาสั่ง SQL สาหรับเรียกดูข้อมูล SELECT (ใส่ชื่อคอลัมน์ และ built in function) FROM (ใส่ชื่อตารางที่เราจะเรียกดูข้อมูล) WHERE (ใส่เงื่อนไขสาหรับการกรองแถว ห้ามใส่ built in function) GROUP BY (ใส่ชื่อคอลัมน์ที่ใช้ group ข้อมูล) HAVING (ใส่เงื่อนไขสาหรับกรองกลุ่ม) ORDER BY(ใส่ชื่อคอลัมน์หรือลาดับที่ของคอลัมน์ที่ใช้ในการเรียงผลลัพธ์)
  • 6. ประเภทของคำสั่ง SQL 1.ภาษาสาหรับนิยามข้อมูล (Data definition Language : DDL) ประกอบด้วยคาสั่งที่ใช้ ในการกาหนดโครงสร้างข้อมูลว่ามีคอลัมน์อะไรบ้าง แต่ละคอลัมน์เก็บข้อมูลประเภทใด รวมถึงการเพิ่มคอลัมน์ การ กาหนดดัชนี การกาหนดวิวของผู้ใช้ เป็นต้น 2.ภาษาสาหรับการจัดดาเนินการข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) ประกอบด้วยคาสั่งที่ใช้ในการเรียกใช้ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงข้อมูลการเพิ่มหรือลบข้อมูล เป็นต้น 3.ภาษาที่ใช้ในการควบคุมข้อมูล (Data Control Language : DCL) ประกอบด้วยคาสั่งที่ ใช้ในการควบคุม การเกิดภาวะพร้อมกัน หรือ ป้องกันการเกิดเหตุการณ์ที่ผู้ใช้หลายคน เรียกใช้ข้อมูลพร้อมกันโดยที่ ข้อมูลนั้นๆอยู่ในระหว่างการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งเป็นเวลาเดียวกับที่ผู้ใช้อีกคนหนึ่งก็เรียกใช้ข้อมูลนี้ ทาให้ข้อมูลที่ผู้ใช้ คนที่สองได้ไปเป็นค่าที่ไม่ถูกต้อง นอกจากนี้ยังประกอบด้วยคาสั่งที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมความปลอดภัยของข้อมูล ด้วยการให้สิทธิ์ผู้ใช้ที่แตกต่างกัน เป็นต้น
  • 7. จัดทาโดย นายวศิน พรรษา ม.5/3 เลขที่ 1 นายศุภวิชญ์ หวังน้าใจ ม.5/3 เลขที่ 2 นางสาวฉัฐกนก เชยล้อมขา ม.5/3 เลขที่ 21 นางสาวจรัสรวี จินดากูลย์ ม.5/3 เลขที่ 25 นางสาวกรรณิการ์ สิงห์คะนองศักดิ์ ม.5/3 เลขที่ 28