SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ประเภทของขยะ
1. ขยะเปียก หมายถึง ขยะที่ย่อยสลายได้ง่าย เช่น เศษอาหาร พืชผัก เปลือกผลไม้ เป็นต้น
2. ขยะแห้ง หมายถึง ขยะที่ย่อยสลายได้ยาก เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ เศษผ้า ไม้ ยาง เป็นต้น
3. ขยะอันตราย ได้แก่ สารเคมี วัตถุมีพิษ ซากถ่านไฟฉาย หลอดไฟ และขยะติดเชื้อจากสถานพยาบาล
สาเหตุของมลพิษทางขยะ
ขยะเป็นปัญหาสําคัญของหลาย ๆ ท้องถิ่นเกือบทั่วโลก ขยะส่วนใหญ่มักจะถูกทิ้งลงในดิน ขยะบาง
ชนิดสลายตัวให้สารประกอบอินทรีย์และสารประกอบอนินทรีย์แต่ขยะบางชนิดสลายตัวยากเช่น หนัง
พลาสติก โลหะ ฯลฯ ขยะประเภทนี้ถ้าทําลายโดยการเผาจะได้สารประกอบ ประเภทเกลือเช่น เกลือไนเตรต
สะสมอยู่ในดินเป็นจํานวนมากขยะที่ได้เกิดกระบวนการ ผลิตทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะขยะจากเทคโนโลยี
อุตสาหกรรมกําลังเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ว มีความเป็นพิษสูงและย่อยสลายยากเช่น ขยะจากโรงงานอุตสาหกรรม
ที่มี โลหะหนัก เช่น ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม เมื่อทิ้งลงดินทําให้ดินบริเวณนั้นมีโลหะหนัก สะสมอยู่มาก สําหรับ
ในประเทศไทยเท่าที่มีรายงานพบว่า มีการเสื่อมคุณภาพ ของดินจากตะกั่วเนื่องจากโรงงานถลุงตะกั่วจากซาก
แบตเตอรี่เก่าที่จังหวัดสมุทรปราการ นําเอากากตะกั่วที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์มาถมทําถนน ทําให้ดินบริเวณนั้นเกิด
สภาพเป็นพิษ เป็นอันตรายต่อพืชและ ผู้บริโภคนอกจากนี้ประเทศไทยยังประสบปัญหาขยะอุตสาหกรรมที่
นําเข้ามาจากตางประเทศ ในรูปของสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า อะไหล่อุตสาหกรรม เช่น ยางรถยนต์เก่า แบตเตอรี่
เก่า ถุงมือยางใช้แล้ว ถูกนําเข้ามาทิ้งในประเทศไทยอีกเป็นจํานวนมากมาย
ผลกระทบจากมลพิษทางขยะ
1.อากาศเสีย เกิดจากการเผาขยะก่อให้เกิดควันและสารพิษทางอากาศ ทําให้ คุณภาพอากาศเสื่อมโทรม
2.น้ําเสีย เกิดจากการกองขยะบนพื้น เมื่อฝนตกลงมาบนกองขยะ จะเกิดน้ําเสียมีความ สกปรกมากไหลลงสู่
แม่น้ํา
3. แหล่งพาหะนําโรค เกิดจากการกองขยะบนพื้น ทําให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและ แมลงวัน เป็นต้น ซึ่ง
เป็นพาหะนําโรคติดต่อ ทําให้มีผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัยของ ประชาชน
4. เหตุรําคาญและความไม่น่าดู เกิดจากการเก็บขนขยะไม่หมด รวมทั้งการกองขยะบนพื้น ส่งกลิ่นเหม็น
รบกวนประชาชนและเกิดภาพไม่สวยงาม ไม่เป็นสุนทรียภาพ นอกจากปัญหาสิ่งแวดล้อมข้างต้นแล้ว ขยะยัง
เป็นตัวการเป็นตัวการสําคัญสําหรับปัญหาการ จัดการขยะของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ซึ่งจะต้องเพิ่มปริมาณ
บุคลากร อุปกรณ์การจัดการขยะรวมทั้ง การให้ความรู้ทางวิชาการและเทคโนโลยีแก่เจ้าหน้าที่เพิ่มขึ้นตามการ
เพิ่มขึ้นของปริมาณขยะ
แนวทางจัดการขยะ
1. กําจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกหลักวิชาการ เช่น การเผาในเตาเผาขยะ การฝังกลบอย่างถูกสุขลักษณะ และการ
หมักทําปุ๋ย เป็นต้น ซึ่งแต่ละวิธีมีความแตกต่างกันในด้านต้นทุนการดําเนินงาน ความพร้อมขององค์กร
ปริมาณและประเภทของขยะ เป็นต้น
2. จัดการขยะ โดยอาศัยหลัก 5 R คือ
- Reduce การลดปริมาณขยะ โดยลดการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์สิ้นเปลือง
- Reuse การนํามาใช้ซ้ํา เช่น ขวดแก้ว กล่องกระดาษ กระดาษพิมพ์หน้าหลัง เป็นต้น
- Repair การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่างๆ ให้สามารถใช้งานต่อได้
- Reject การหลีกเลี่ยงใช้สิ่งที่ก่อให้เกิดมลพิษ
- Recycle การแปรสภาพและหมุนเวียนนํากลับมาใช้ได้ใหม่ โดยนําไปผ่านกระบวนการผลิตใหม่อีกครั้ง
3. การแยกขยะ เพื่อลดขยะที่ต้องนําไปกําจัดจริงๆ ให้เหลือน้อยที่สุด เช่น
- ขยะแห้งบางชนิดที่สามารถแปรสภาพนํามากลับมาใช้ได้อีก ได้แก่ ขวดแก้ว โลหะ พลาสติก
- ขยะเปียกสามารถนํามาหมักทําปุ๋ยน้ําชีวภาพ
- ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องฉีดสเปรย์ ต้องมีวิธีกําจัดที่ปลอดภัย
4. ส่งเสริมการผลิตที่สะอาดในภาคการผลิต โดยลดการใช้วัสดุ ลดพลังงาน และลดมลพิษ เพิ่มศักยภาพการใช้
ทรัพยากรหมุนเวียน การนําของเสียกลับมาใช้ประโยชน์ และการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีอายุการใช้งานได้นาน
ขึ้น
5. ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนรวมลงทุนและดําเนินการจัดการขยะ
6. ให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องการจัดการขยะอย่างถูกหลักวิชาการ
7. รณรงค์และประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างจิตสํานึกให้ประชาชนเข้าใจและยอมรับว่าเป็นภาระหน้าที่ของตนเอง
ในการร่วมมือกันจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชน

More Related Content

Viewers also liked

ของใช้จากขยะ
ของใช้จากขยะของใช้จากขยะ
ของใช้จากขยะWasin Kunnaphan
 
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม2Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม2พัน พัน
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3Noppakhun Suebloei
 

Viewers also liked (7)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ของใช้จากขยะ
ของใช้จากขยะของใช้จากขยะ
ของใช้จากขยะ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม2Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม2
Is3 การจัดกิจกรรมการนำองค์ความรู้ กลุ่ม2
 
คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3คำอธิบายรายวิชาIS3
คำอธิบายรายวิชาIS3
 
Is3
Is3Is3
Is3
 
Is2
Is2Is2
Is2
 

Similar to บทที่ 2

บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องBoonwiset Seaho
 
ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลGreen Greenz
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องBoonwiset Seaho
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องThidaporn Kaewta
 
บทที่ 2 ขยะท้วมโลก
บทที่ 2 ขยะท้วมโลกบทที่ 2 ขยะท้วมโลก
บทที่ 2 ขยะท้วมโลกThidaporn Kaewta
 
แผ่นพับถังขยะ
แผ่นพับถังขยะแผ่นพับถังขยะ
แผ่นพับถังขยะstudentkc3 TKC
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
มลพิษจากขยะ1
มลพิษจากขยะ1มลพิษจากขยะ1
มลพิษจากขยะ1Sae-ung May
 

Similar to บทที่ 2 (10)

บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูล
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 ขยะท้วมโลก
บทที่ 2 ขยะท้วมโลกบทที่ 2 ขยะท้วมโลก
บทที่ 2 ขยะท้วมโลก
 
แผ่นพับถังขยะ
แผ่นพับถังขยะแผ่นพับถังขยะ
แผ่นพับถังขยะ
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
มลพิษจากขยะ1
มลพิษจากขยะ1มลพิษจากขยะ1
มลพิษจากขยะ1
 
Achi
AchiAchi
Achi
 

More from Wasin Kunnaphan

การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ NetbeansWasin Kunnaphan
 
ของใช้จากขยะ2
ของใช้จากขยะ2ของใช้จากขยะ2
ของใช้จากขยะ2Wasin Kunnaphan
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานWasin Kunnaphan
 
ของใช้จากขยะ2
ของใช้จากขยะ2ของใช้จากขยะ2
ของใช้จากขยะ2Wasin Kunnaphan
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานWasin Kunnaphan
 

More from Wasin Kunnaphan (20)

การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeansการเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Netbeans
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
แผ่นพับ3
แผ่นพับ3แผ่นพับ3
แผ่นพับ3
 
ไวนิล
ไวนิลไวนิล
ไวนิล
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
ไวนิล
ไวนิลไวนิล
ไวนิล
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
ไวนิล
ไวนิลไวนิล
ไวนิล
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ของใช้จากขยะ2
ของใช้จากขยะ2ของใช้จากขยะ2
ของใช้จากขยะ2
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
ของใช้จากขยะ2
ของใช้จากขยะ2ของใช้จากขยะ2
ของใช้จากขยะ2
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 

บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ประเภทของขยะ 1. ขยะเปียก หมายถึง ขยะที่ย่อยสลายได้ง่าย เช่น เศษอาหาร พืชผัก เปลือกผลไม้ เป็นต้น 2. ขยะแห้ง หมายถึง ขยะที่ย่อยสลายได้ยาก เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ เศษผ้า ไม้ ยาง เป็นต้น 3. ขยะอันตราย ได้แก่ สารเคมี วัตถุมีพิษ ซากถ่านไฟฉาย หลอดไฟ และขยะติดเชื้อจากสถานพยาบาล สาเหตุของมลพิษทางขยะ ขยะเป็นปัญหาสําคัญของหลาย ๆ ท้องถิ่นเกือบทั่วโลก ขยะส่วนใหญ่มักจะถูกทิ้งลงในดิน ขยะบาง ชนิดสลายตัวให้สารประกอบอินทรีย์และสารประกอบอนินทรีย์แต่ขยะบางชนิดสลายตัวยากเช่น หนัง พลาสติก โลหะ ฯลฯ ขยะประเภทนี้ถ้าทําลายโดยการเผาจะได้สารประกอบ ประเภทเกลือเช่น เกลือไนเตรต สะสมอยู่ในดินเป็นจํานวนมากขยะที่ได้เกิดกระบวนการ ผลิตทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะขยะจากเทคโนโลยี อุตสาหกรรมกําลังเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ว มีความเป็นพิษสูงและย่อยสลายยากเช่น ขยะจากโรงงานอุตสาหกรรม ที่มี โลหะหนัก เช่น ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม เมื่อทิ้งลงดินทําให้ดินบริเวณนั้นมีโลหะหนัก สะสมอยู่มาก สําหรับ ในประเทศไทยเท่าที่มีรายงานพบว่า มีการเสื่อมคุณภาพ ของดินจากตะกั่วเนื่องจากโรงงานถลุงตะกั่วจากซาก แบตเตอรี่เก่าที่จังหวัดสมุทรปราการ นําเอากากตะกั่วที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์มาถมทําถนน ทําให้ดินบริเวณนั้นเกิด สภาพเป็นพิษ เป็นอันตรายต่อพืชและ ผู้บริโภคนอกจากนี้ประเทศไทยยังประสบปัญหาขยะอุตสาหกรรมที่ นําเข้ามาจากตางประเทศ ในรูปของสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า อะไหล่อุตสาหกรรม เช่น ยางรถยนต์เก่า แบตเตอรี่ เก่า ถุงมือยางใช้แล้ว ถูกนําเข้ามาทิ้งในประเทศไทยอีกเป็นจํานวนมากมาย ผลกระทบจากมลพิษทางขยะ 1.อากาศเสีย เกิดจากการเผาขยะก่อให้เกิดควันและสารพิษทางอากาศ ทําให้ คุณภาพอากาศเสื่อมโทรม 2.น้ําเสีย เกิดจากการกองขยะบนพื้น เมื่อฝนตกลงมาบนกองขยะ จะเกิดน้ําเสียมีความ สกปรกมากไหลลงสู่ แม่น้ํา 3. แหล่งพาหะนําโรค เกิดจากการกองขยะบนพื้น ทําให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและ แมลงวัน เป็นต้น ซึ่ง เป็นพาหะนําโรคติดต่อ ทําให้มีผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัยของ ประชาชน 4. เหตุรําคาญและความไม่น่าดู เกิดจากการเก็บขนขยะไม่หมด รวมทั้งการกองขยะบนพื้น ส่งกลิ่นเหม็น รบกวนประชาชนและเกิดภาพไม่สวยงาม ไม่เป็นสุนทรียภาพ นอกจากปัญหาสิ่งแวดล้อมข้างต้นแล้ว ขยะยัง เป็นตัวการเป็นตัวการสําคัญสําหรับปัญหาการ จัดการขยะของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ซึ่งจะต้องเพิ่มปริมาณ บุคลากร อุปกรณ์การจัดการขยะรวมทั้ง การให้ความรู้ทางวิชาการและเทคโนโลยีแก่เจ้าหน้าที่เพิ่มขึ้นตามการ เพิ่มขึ้นของปริมาณขยะ
  • 2. แนวทางจัดการขยะ 1. กําจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกหลักวิชาการ เช่น การเผาในเตาเผาขยะ การฝังกลบอย่างถูกสุขลักษณะ และการ หมักทําปุ๋ย เป็นต้น ซึ่งแต่ละวิธีมีความแตกต่างกันในด้านต้นทุนการดําเนินงาน ความพร้อมขององค์กร ปริมาณและประเภทของขยะ เป็นต้น 2. จัดการขยะ โดยอาศัยหลัก 5 R คือ - Reduce การลดปริมาณขยะ โดยลดการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์สิ้นเปลือง - Reuse การนํามาใช้ซ้ํา เช่น ขวดแก้ว กล่องกระดาษ กระดาษพิมพ์หน้าหลัง เป็นต้น - Repair การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่างๆ ให้สามารถใช้งานต่อได้ - Reject การหลีกเลี่ยงใช้สิ่งที่ก่อให้เกิดมลพิษ - Recycle การแปรสภาพและหมุนเวียนนํากลับมาใช้ได้ใหม่ โดยนําไปผ่านกระบวนการผลิตใหม่อีกครั้ง 3. การแยกขยะ เพื่อลดขยะที่ต้องนําไปกําจัดจริงๆ ให้เหลือน้อยที่สุด เช่น - ขยะแห้งบางชนิดที่สามารถแปรสภาพนํามากลับมาใช้ได้อีก ได้แก่ ขวดแก้ว โลหะ พลาสติก - ขยะเปียกสามารถนํามาหมักทําปุ๋ยน้ําชีวภาพ - ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋องฉีดสเปรย์ ต้องมีวิธีกําจัดที่ปลอดภัย 4. ส่งเสริมการผลิตที่สะอาดในภาคการผลิต โดยลดการใช้วัสดุ ลดพลังงาน และลดมลพิษ เพิ่มศักยภาพการใช้ ทรัพยากรหมุนเวียน การนําของเสียกลับมาใช้ประโยชน์ และการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีอายุการใช้งานได้นาน ขึ้น 5. ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนรวมลงทุนและดําเนินการจัดการขยะ 6. ให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องการจัดการขยะอย่างถูกหลักวิชาการ 7. รณรงค์และประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างจิตสํานึกให้ประชาชนเข้าใจและยอมรับว่าเป็นภาระหน้าที่ของตนเอง ในการร่วมมือกันจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชน