SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
สำนวนไทย
หัวล้านได้หวี
ได้สิ่งของที่ไม่มีประโยชน์กับตนเอง
สีซอให้ควายฟัง
สอนคนโง่ไม่รู้เรื่อง แนะนาคนโง่ไม่มีประโยชน์
หมาหวงก้าง
คนที่หวงสิ่งของที่ตนเองใช้ประโยชน์ไม่ได้
อย่าหวังจะได้ทีเดียวพร้อมๆ กันสองอย่าง เพราะในที่สุดก็จะพลาดไม่ได้สักอย่าง
จับปลาสองมือ
ทำอะไรต้องเสียทรัพย์แล้ว ไม่ได้ทรัพย์คุ้มกับที่ต้องเสียไป
ตาน้าพริกละลายแม่น้า
การงานที่เกิดขึ้นทีละเล็กทีละน้อยพอกพูนขึ้นเรื่อย ๆ จนทาให้ต้องลาบากหรือ
ยุ่งยากเดือดร้อน
ดินพอกหางหมู
ทาตัวดี ประพฤติดี มีวิชาความรู้ก็ย่อมจะได้งานเบางานสูง ทาตัวไม่ดี ประพฤติไม่ดี ไม่
มีวิชาความรู้ก็ย่อมจะต้องทางานหนัก งานต่า จั่วเป็นของเบาต่างกับเสาที่เป็นของหนัก
รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา
ถ้ารักวัวก็ให้ผูกล่ามขังไว้ มิฉะนั้นวัวจะถูกลักพาหรือหนีหายไป
ส่วนรักลูกให้เฆี่ยน ก็หมายถึงให้อบรมสั่งสอนลูกและทาโทษลูกเมื่อผิด.
รักวัวให้ผูก รักลูกให้ตี
สำนวน
หมายถึง โวหาร ทานองพูด ถ้อยคาที่เรียบเรียง จะมี
ความหมายโดยนัยเป็นลักษณะความหมายเชิงอุปมาเปรียบเทียบ จะไม่
แปลความหมายตรงตามตัวอักษร เมื่อฟังแล้วมักจะไม่ได้ความหมายใน
ตนเอง ต้องนาไปประกอบกับบุคคลหรือเหตุการณ์ จึงจะได้ความหมาย
เป็นคติเตือนใจเช่นเดียวกับสุภาษิต
ลักษณะเด่น คือ
เป็นถ้อยคาที่มีคารมคมคาย กินใจผู้ฟังใช้คากะทัดรัด
ไพเราะรื่นหู มีความหมายลึกซึ้ง
สุภำษิต
หมายถึง
คากล่าวที่มีคติควรฟัง มีจุดมุ่งหมายเพื่อการสั่ง
สอน เตือนสติให้ได้คิดให้ได้ความจริงเกี่ยวกับ
ความคิดและแนวปฏิบัติ ซึ่งสามารถพิสูจน์และ
เชื่อถือได้
เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ
น้าเชี่ยวอย่าขวางเรือ
คำพังเพย
หมายถึง
ถ้อยคาที่เรียบเรียงขึ้นมา แฝงคติเตือนใจหรือข้อคิด
สะกิดใจให้นาไปปฏิบัติได้ มักเป็นความหมายกลางๆ ไม่
เน้นการสั่งสอนหรือเนื้อหาของใจความ โดยมากจะมี
ความหมายซ่อนอยู่ ดังนั้นการใช้คาพังเพยจะต้อง
ตีความหมายให้เข้ากับสถานการณ์
เช่น กระต่ายตื่นตูม
คำคม
หมายถึง
ถ้อยคาที่คิดขึ้นมาในปัจจุบัน เป็นถ้อยคาที่หลักแหลม
ซึ่งสามารถเข้ากับเหตุการณ์นั้นได้อย่างเหมาะเจาะทั้งยัง
ชวนให้คิด ถ้าพูดติดปากกันต่อไปก็อาจกลายเป็นสานวนได้
เช่น “ความรักทาให้คนตาบอด”
“อดีตคือสิ่งที่ผ่าน
อนาคตคือสิ่งที่ฝัน
ปัจจุบันเท่านั้นคือความจริง”
วิชำภำษำไทย เรื่องสำนวนไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ ๑
๑. "ฟังหูไว้หู" หมำยควำมว่ำอย่ำงไร
๑. อย่ำด่วนสรุปทันทีที่ได้ฟัง
๒. อย่ำฟังควำมข้ำงเดียว
๓. อย่ำเสียโอกำสในกำรฟัง
๔. อย่ำฟังโดยไม่จดลง
๑. อย่ำด่วนสรุปทันทีที่ได้ฟัง
วิชำภำษำไทย เรื่องสวำนวนไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ ๑
๒. ผู้ที่มีสิ่งที่ตนไม่รู้คุณค่ำ อุปมำว่ำอย่ำงไร
๑. กิ้งก่ำได้ทอง
๒. วำนรได้แก้ว
๓. หัวล้ำนได้หวี
๔. ตำบอดได้แว่น
๒. วำนรได้แก้ว
ทำแบบทดสอบต่อข้อ ๑ – ๑๕
จงเติมสานวนให้ครบสมบูรณ์ และสอดคล้องกับข้อความที่กาหนด
สามวัน...........................
ฝนสั่ง.............................
ชักใบ.............................
รักวัว..............................
คนตาย..........................
ดีสี่วันไข้
ฟ้ำ ปลำสั่งหนอง
ให้เรือเสีย
ให้ผูก รักลูกให้ตี
ขำยคนเป็ น
ขนทรำยเข้ำวัด ทำบุญทำกุศลโดยวิธีนำ หรือหำประโยชน์เพื่อส่วนรวม
ขวำนผ่ำซำก พูดตรงเกินไปโดยไม่เลือกกำลเทศะและบุคคล
กบในกะลำครอบ ผู้มีประสบกำรณ์และควำมรู้น้อย แต่สำคัญตนว่ำมีควำมรู้มำก
กระต่ำยหมำยจันทร์ ผู้ชำยหมำยปองผู้หญิงที่มีฐำนะดีกว่ำ
กว่ำถั่วจะสุก งำก็ไหม้ ลักษณะของกำรทำงำนที่มีควำมลังเล
ทำให้แก้ปัญหำได้ไม่ทันท่วงทีเมื่อได้อย่ำงหนึ่ง แต่ต้องเสียอีกอย่ำงหนึ่งไป
เขียนเสือให้วัวกลัว ทำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งเพื่อให้อีกฝ่ ำยหนึ่งเสียขวัญหรือเกรงขำม
กินน้ำใต้ศอก ยอมเป็นรองเขำ, ไม่เทียมหน้ำเทียมตำเท่ำ
(มักหมำยถึงเมียน้อยที่ต้องยอมลงให้แก่เมียหลวง)
จับปลำสองมือ อย่ำหวังจะได้ทีเดียวพร้อมๆ กันสองอย่ำง
เพรำะในที่สุดก็จะพลำดไม่ได้สักอย่ำง
กระโถนท้องพระโรง ผู้ที่ใครๆ ก็ใช้งำนได้ และเป็นที่ระบำยอำรมณ์ของทุกคน
กินน้ำเห็นปลิง ตะขิดตะขวงใจเมื่อจะทำอะไรซักอย่ำง
กระดูกร้องไห้ กำรจับตัวฆำตกรมำลงโทษได้หลังจำกพบหลักฐำนโดยบังเอิญ
ความเป็นอยู่ ค่านิยม และการพิจารณาสิ่งแวดล้อม
ต่าง ๆ รอบตัว แล้วนามาเปรียบเปรย
เกิดจำก
ที่มำของสำนวนไทย
๑. สำนวนเกิดจำกธรรมชำติ ๒. สำนวนเกิดจำกสัตว์
๕. สำนวนเกิดจำกกำรละเล่น กีฬำ หรือ กำรพนัน
๔. สำนวนเกิดจำกของกินของใช้
๖. สำนวนเกิดจำกกำรนับถือศำสนำ
๗. สำนวนเกิดจำกกำรเปรียบเทียบกับอวัยวะต่ำง ๆ
๓. สำนวนเกิดจำกกำรกระทำ/ควำมเป็ นอยู่
๑๐. สำนวนเกิดจำกกฎหมำย/พงศวดำร
๘. สำนวนเกิดจำกนิทำนหรือวรรณคดี
๙. สำนวนเกิดจำกประเพณีและวัฒนธรรม
กำรใช้สำนวน
๑.ไม่ใช้ฟุ่มเฟือย
๒.ใช้ให้เหมาะกับกาลเทศะ
๓.ใช้ให้ตรงความหมาย
คุณค่ำของสำนวน
๑.ใช้สื่อสารได้รวดเร็ว ใช้แล้วเข้าใจความหมายได้ทันที
๒.ช่วยเน้นความเข้าใจให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
๓.โน้มน้าวให้ปฎิบัติหรือมีค่านิยมที่สังคมปรารถนา
๔. สะท้อนให้เห็นค่านิยม สภาพของสังคมไทยในแง่ต่างๆ
๕. มีประโยชน์ด้านการใช้ภาษา เช่น การผูกคา การเรียง
ประโยค
เป็ นเด็กดีนะคะ

More Related Content

What's hot

ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีWatcharapol Wiboolyasarin
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.DocxSupaporn Khiewwan
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาkrujee
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศกแผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศกKob Ying Ya
 
การซักผ้า (Washing)
การซักผ้า (Washing)การซักผ้า (Washing)
การซักผ้า (Washing)Beerza Kub
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดพัน พัน
 
3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือ3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือPloykarn Lamdual
 
หน่วยการเรียนรู้ ท๓๓๒๐๑
หน่วยการเรียนรู้ ท๓๓๒๐๑หน่วยการเรียนรู้ ท๓๓๒๐๑
หน่วยการเรียนรู้ ท๓๓๒๐๑manodchin
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
Urbanization ของนครนนทบุรี
Urbanization ของนครนนทบุรีUrbanization ของนครนนทบุรี
Urbanization ของนครนนทบุรีFURD_RSU
 
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุด
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุดLibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุด
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการNapadon Yingyongsakul
 
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารกNickson Butsriwong
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจบทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจInhyung Park
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58Supaporn Khiewwan
 
นาย มนตรี นวลสม
นาย มนตรี  นวลสมนาย มนตรี  นวลสม
นาย มนตรี นวลสมA'waken B'Benz
 

What's hot (20)

ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
 
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศกแผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
แผนที่ 2 การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ศก
 
การซักผ้า (Washing)
การซักผ้า (Washing)การซักผ้า (Washing)
การซักผ้า (Washing)
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
 
3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือ3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือ
 
หน่วยการเรียนรู้ ท๓๓๒๐๑
หน่วยการเรียนรู้ ท๓๓๒๐๑หน่วยการเรียนรู้ ท๓๓๒๐๑
หน่วยการเรียนรู้ ท๓๓๒๐๑
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
โวหาร
โวหารโวหาร
โวหาร
 
Urbanization ของนครนนทบุรี
Urbanization ของนครนนทบุรีUrbanization ของนครนนทบุรี
Urbanization ของนครนนทบุรี
 
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุด
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุดLibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุด
LibJu - 1.2 ประเภทของห้องสมุด
 
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
เฉลยแบบฝึกหัด เรื่อง ส่วนประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจบทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
บทที่3 คำศัพท์ที่น่าสนใจ
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
 
นาย มนตรี นวลสม
นาย มนตรี  นวลสมนาย มนตรี  นวลสม
นาย มนตรี นวลสม
 

สำนวนไทย-59.ppt