SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
Download to read offline
การจัดโครงสร้างสถานศึกษา
เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
กลุ่มที่ 3
สารบัญ : การจัดโครงสร้างสถานศึกษา
• ความนา
• โครงสร้างการบริหาร
• หลักการแนะแนวคิดการจัดองค์การ
• การจัดองค์การตามแนวคิดของวีเบอร์ (Weber, 1947)
• โครงสร้างการบริหารสถานศึกษา
• การบริหารและการจัดการศึกษา
• การบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
• การบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
• การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ความนา
• การจัดตั้งหน่วยงาน เพื่อใช้สาหรับเป็นที่ปฏิบัติงาน โดยหลักการ หน่วยงาน
ทางการศึกษา ถือได้ว่า เป็นการบริหารงานเฉพาะทางที่เรียกว่า “การ
บริหารงานทางการศึกษา” เพื่อให้ผู้ที่มารับบริการได้พัฒนาตัวเองในทุกด้าน
ในลักษณะการบูรณาการ ดังนั้น การจัดระบบงานภายหน่วยงานทางการ
ศึกษา ต้องจัดให้ระบบงานสอดคล้องกับการพัฒนาคน
โครงสร้างการบริหาร
• โครงสร้างองค์การประกอบด้วย ฝ่ายงานและความเชี่ยวชาญ ความไม่เป็น
ส่วนบุคคล ช่วงชั้นการบังคับบัญชา และกฎระเบียบและการเน้นงาน องค์การ
เกือบทุกประเภทในปัจจุบันมีลักษณะตามแนวความคิดของ วีเบอร์
1. ฝ่ายงานและความเชี่ยวชาญ (Devision of labor and Specialization)
2. ความไม่เป็นส่วนบุคคล (Impersonal Orientation)
3. ช่วงชั้นการบังคับบัญชา (Hierarchy of Authority)
4. ระเบียบและกฎเกณฑ์ (Rules and Regulation)
5. การเน้นงาน (Career Orientation)
6. ประสิทธิภาพในการทางาน (Efficiency)
โครงสร้างการบริหาร
• เชาว์ ไพรพิรุณโรจน์ ได้เสนอแนวความคิดว่า การจัดโครงสร้างขององค์การมี
หลายแบบ ซึ่งแต่ละแบบก็มีข้อดีข้อเสียในตัวของมันเอง ฉะนั้น การที่ผู้บริหาร
จะวางแนวในการจัดโครงสร้างนั้น อาจจะต้องพิจารณาจากหลาย ๆ ปัจจัย
ด้วยกัน
1. โครงสร้างองค์การตามหน้าที่การงาน (Functional OrganizationStructure)
โครงสร้างการบริหาร
2. โครงสร้างองค์การตามสายงานหลัก (Line Organization Structure)
โครงสร้างการบริหาร
3. โครงสร้างองค์การแบบคณะที่ปรึกษา (Staff Organization Structure)
โครงสร้างการบริหาร
4. โครงสร้างองค์การแบบคณะกรรมการบริหาร (Committees Organization
Structure)
5. โครงสร้างองค์การงานอนุกร (Auxiliary)
โครงสร้างการบริหาร
• สมคิด บางโม ได้เสนอแนวความคิดว่า การออกแบบโครงสร้างองค์การมีหลาย
แบบไว้ ดังนี้
โครงสร้างองค์การ แบบสูง และแบบกว้าง การออกแบบโครงสร้างองค์การ
แบบความสูง และความกว้างของโครงสร้าง ถ้าโครงสร้างขององค์การมีการบังคับ
บัญชากันหลายชั้นหลายระดับ กระบวนการทางานย่อมช้า แต่ถ้าโครงสร้างองค์การ
มีระดับการสั่งการน้อยกระบวนการทางานย่อมรวดเร็วกว่า ช่วงของการควบคุม
หมายถึง จานวนผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาที่ถูกควบคุมหรือสั่งการจากผู้บังคับบัญชาคน
หนึ่ง ตัวอย่างเช่น คุณวิสนี เป็นประธานบริษัท และมีคุณกาชัยเป็นรองประธานบริษัท
เพียงคนเดียว แสดงว่าช่วงของการควบคุมของประธานคือมีเพียง 1 แต่ถ้าบริษัทนี้มี
รองประธาน 3 คน แสดงว่าช่วงของการควบคุมของประธานมีเท่ากับ 3 เป็นต้น
โครงสร้างการบริหาร
• โครงสร้างแบบสูง
โครงสร้างการบริหาร
• โครงสร้างแบบกว้าง
โครงสร้างการบริหาร
• การจัดแผนกงาน (Departmentation)
• การจัดแผนกงาน หมายถึง การรวมกลุ่มกิจกรรมต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยการ
รวมกิจกรรมที่คล้ายกัน และเหมาะสมที่จะนามาปฏิบัติ ในกลุ่มเดียวกันเข้าไว้
ด้วยกันเป็นกลุ่ม แผนก หรือหน่วยงาน หลักเกณฑ์พื้นฐานที่จะใช้สาหรับการ
จัดแผนกงาน มีดังนี้
1.การจัดแผนกงานตามหน้าที่ เป็นการจัดองค์การที่เป็นที่ยอมรับอย่าง
กว้างขวาง และหน้าที่หลัก ส่วนใหญ่แผนกต่าง ๆ จะมีก็คือ หน้าที่ทางด้านการ
ผลิต การขายและการเงิน
โครงสร้างการบริหาร
• การจัดแผนกงาน (Departmentation)
2. การจัดแผนกงานตามประเภทผลิตภัณฑ์ การจัดแผนกแบบนี้มักจะใช้
ในการจัดแผนกงานขององค์การธุรกิจขนาดใหญ่มีกระบวนการในการปฏิบัติงาน
ซับซ้อน องค์การธุรกิจผลิตสินค้าหลายอย่าง ถ้าจะใช้การจัดแผนกงานตามหน้าที่
ก็จะทาให้แต่ละแผนกมีงานมากเกินไป การดูแลผลิตภัณฑ์แต่ละอย่างอาจดูแลไม่
ทั่วถึง การขยายงานก็จะมีปัญหาอย่างมาก ทาให้องค์การธุรกิจขาดความคล่องตัว
ในการดาเนินงานและเสียโอกาสในการแสวงหาผลประโยชน์กับองค์การได้
โครงสร้างการบริหาร
• การจัดแผนกงาน (Departmentation)
3. การจัดแผนกงานตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ การจัดแผนกโดยแบ่งตาม
พื้นที่ทางภูมิศาสตร์หรืออาณาเขตนี้โดยคานึงถึงสภาพทางภูมิศาสตร์หรือทาเล
ที่ตั้งที่กิจการจะต้องเข้าไปดาเนินการในพื้นที่นั้น ๆ เป็นสาคัญ และจะถูกนามาใช้
จัดแผนกงานสาหรับองค์การธุรกิจ ที่อาณาเขตการขายกว้างขวางและธุรกิจอยู่ใน
สภาวะที่มีการแข่งขันสูง
4. การจัดแผนกงานตามกระบวนการผลิต การแบ่งกิจกรรมออกเป็นกลุ่ม
ตามขั้นตอน กระบวนการผลิต หรือกระแสการไหลของงาน เช่น กิจการ
หนังสือพิมพ์เชียงใหม่นิวส์อาจจะมีการจัดแผนกศิลป์ทาหน้าที่ออกแบบรูปเล่ม
แบบหน้าโฆษณา แบบตัวอักษร แผนกพิมพ์แผนกสต๊อก แผนกจัดส่งสินค้า ฯลฯ
โครงสร้างการบริหาร
• การจัดแผนกงาน (Departmentation)
5. การจัดแผนกงานตามหรือลูกค้า เป็นวิธีจัดแผนกงานอีกอย่างหนึ่งที่
องค์การธุรกิจจะให้ความสาคัญแก่กลุ่มลูกค้า เพราะสินค้าที่องค์การผลติออกมา
นั้นอาจตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคแตกต่างกัน เนื่องจากพฤติกรรมของ
กลุ่มลูกค้าที่จะซื้อสินค้านั้นแตกต่างกัน
โครงสร้างการบริหาร
• แผนภูมิองค์การ(Organization charts)
• แผนภูมิองค์การ หรือผังโครงสร้างองค์การ หมายถึง แผนผังที่แสดงถึง
กลุ่มตาแหน่งงาน ซึ่งรวมกลุ่มเป็นสายการบังคับบัญชา โดยมีการแบ่งกลุ่ม
แบ่งระดับ โครงสร้างองค์การที่มีการจัดขึ้นอย่างถูกต้อง โดยมีการจัดตาแหน่ง
ชัดเจน มีสายการบังคับบัญชาที่แน่นอน และมีชื่อตาแหน่งระบุไว้ ก็จะช่วยให้
ได้ข้อมูลการจัดการที่เป็นประโยชน์ยิ่งขึ้น แบ่งประเภทของแผนภูมิองค์การไว้
2 ประการ คือ
โครงสร้างการบริหาร
• แผนภูมิองค์การ(Organization charts)
1.แผนภูมิหลัก เป็นแผนภูมิที่แสดงโครงสร้างขององค์การทั้งหมดของ
องค์การว่า มีการแบ่งส่วนงานใหญ่ ออกเป็นกี่หน่วย ที่กอง กี่แผนที่สาคัญ ๆ
ตลอดจนความสัมพันธ์ที่ต่อเนื่องกัน เนื่องจากแผนภูมิชนิดนี้แสดงสายการบังคับ
บัญชาลดหลั่นตาลาดับ จึงอาจเรียกได้ว่า แบบแผนภูมิหลัก แบ่งออกเป็น 3 แบบ
1.1 แบบสายงานปิรามิด
โครงสร้างการบริหาร
• แผนภูมิองค์การ(Organization charts)
1.2 แบบตามแนวนอน
1.3 แบบวงกลม
โครงสร้างการบริหาร
• แผนภูมิองค์การ(Organization charts)
2. แผนภูมิเสริม (Supplementary Chart) แผนภูมิเสริม คือแผนภูมิที่
แสดงถึงรายละเอียดของหน่วยงานย่อย ๆ ที่แยกจากแผนภูมิหลัก โดยแยกเป็น
หน่วยงานย่อยว่ามีลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างไร ซึ่งอาจจะเป็น
ภายในแผนกเดียวกัน หรือเกี่ยวโยงไปยังแผนกอื่น ๆ แผนภูมิเสริมนี้แบ่งออกเป็น
ได้หลายลักษณะหรือหลายแบบ เช่น
2.1 แผนภูมิแสดงทางเดินของสายงาน หมายถึงแผนภูมิที่แสดงสายการ
ปฏิบัติทางเดินของงาน
โครงสร้างการบริหาร
• แผนภูมิองค์การ(Organization charts)
2.2 แผนภูมิการจัดรูปแบบสถานที่ เป็นแผนภูมิที่แสดงการจัดสถานที่
ทางาน ซึ่งหมายถึงการจัดสถานที่ตาแหน่งของงาน การจัดห้องที่ทางาน เพื่อให้
การปฏิบัติงานเป็นไปโดยสะดวก และเรียบร้อย รวดเร็ว
2.3 แผนภูมิชื่อบุคคล เป็นแผนภูมิที่แสดงชื่อบุคคลที่ดารงตาแหน่งทั้งนี้
เพื่อประโยชน์ในการติดต่อประสานงานและให้บริการ
โครงสร้างการบริหาร
• การมอบหมายงาน(Delegation) หมายถึง การกาหนดความรับผิดชอบและ
อานาจหน้าที่ โดยตัวผู้บังคับบัญชาให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา = การกระจายงาน
ในหน้าที่, ความรับผิดชอบ และอานาจในการตัดสินใจ ประโยชน์ของการ
มอบหมายงาน จะก่อให้เกิดประโยชน์ 3 ประการใหญ่ๆ ดังนี้
1. ช่วยลดภาระของผู้บริหารระดับสูง
2. ช่วยในการพัฒนาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา
3. เป็นการสร้างขวัญที่ดีให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน
โครงสร้างการบริหาร
• โครงสร้างองค์การจะเน้นเรื่องความเชี่ยวชาญชานาญการ มีการจัดกลุ่มงาน
ตามหน้าที่หรือกระบวนการในการทางาน มีการกาหนดช่วงการบังคับบัญชา
ให้แคบและมีการรวมอานาจการตัดสินใจสู่ส่วนกลาง ตามโครงสร้างหลักของ
องค์การแบบระบบราชการของแมกซ์ วีเบอร์ โดยโครงสร้างในด้านโครงสร้าง
รูปแบบขององค์การนั้น การจัดโครงสร้างจะแตกต่างกันหลายรูปแบบ เพื่อ
ความเหมาะสมของขนาดของสถานศึกษา มีประเภทและขนาดพื้นฐานแบบ
ต่างๆไว้ ดังนี้
โครงสร้างการบริหาร
• สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป) 2559
1. โรงเรียนขนาดเล็ก มีนักเรียนไม่เกิน 120 คน
2. โรงเรียนขนาดกลาง มีนักเรียน 121 - 600 คน
3. โรงเรียนขนาดใหญ่ มีนักเรียน 601 – 1,500 คน
4. โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีนักเรียน 1,500 คนขึ้นไป
โครงสร้างการบริหาร
• สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม) 2559
1. โรงเรียนขนาดเล็ก มีนักเรียน 1 - 499 คน
2. โรงเรียนขนาดกลาง มีนักเรียน 500 - 1,499 คน
3. โรงเรียนขนาดใหญ่ มีนักเรียน 1,500 - 2,499 คน
4. โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีนักเรียน 2,500 คน ขึ้นไป
โครงสร้างการบริหารสถานศึกษา
• การจัดโครงสร้างองค์การสถานศึกษาตามรูปแบบของ ฮอยและมิสเกล (Hoy
and Miskel, 2001, 101-102) แบ่งออกเป็น 4 แบบ
โครงสร้างการบริหารสถานศึกษา
• การจัดโครงสร้างองค์การสถานศึกษาตามรูปแบบของ ฮอยและมิสเกล (Hoy
and Miskel, 2001, 101-102) แบ่งออกเป็น 4 แบบ
แบบที่ 1 โครงสร้างระบบราชการ (Weberian) เป็นแบบที่เน้นทั้งความ
เป็นระบบราชกาลและวิชาชีพ เป็นองค์การที่มีประสิทธิภาพมาก Weber เป็นผู้คิด
ไว้
แบบที่ 2 โครงสร้างแบบอานาจหน้าที่ (Authoritarian) เป็นแบบที่มี
ความเป็นระบบราชการสูง มีความเป็นวิชาชีพต่า ลักษณะการบริหารเน้นการ
บังคับบัญชาตามสายงาน ไม่คานึงถึงความเชี่ยวชาญ
โครงสร้างการบริหารสถานศึกษา
• การจัดโครงสร้างองค์การสถานศึกษาตามรูปแบบของ ฮอยและมิสเกล (Hoy
and Miskel, 2001, 101-102) แบ่งออกเป็น 4 แบบ
แบบที่ 3 โครงสร้างแบบวิชาชีพ (Professional) เป็นระบบที่มีความเป็น
วิชาชีพสูง มีความเป็นระบบราชการต่า ลักษณะการบริหารงานเน้นความสามารถ
และความเชี่ยวชาญ ให้ความสาคัญกับการบังคับบัญชาตามสายงานน้อย
แบบที่ 4 โครงสร้างแบบอานาจคลุมเครือ (Chaotic) เป็นแบบที่ไม่เน้น
วิชาชีพและระบบราชการลักษณะมีความสับสนแก้ปัญหาไววันต่อวัน ไม่มี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
การบริหารและการจัดการศึกษา
• การบริหารและการจัดการศึกษาของไทยในปัจจุบัน ยึดถือตาม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ในหมวด 5 และแก้ไข
เพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 การ
บริหารและการจัดการศึกษาไทย แบ่งออกได้ดังนี้
1. การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
2. การบริการและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3. การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน
การบริหารและการจัดการศึกษา
• 1. การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ หมายถึง ให้รัฐบาลดาเนินการ
บริหาร และจัดการเกี่ยวกับการศึกษาของชาติ เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจภาครัฐ และตอบสนองความต้องการของประชาชน
ภายใต้การบริหารราชการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารและการจัดการศึกษาของ
รัฐ ที่มีให้กับประชาชนพลเมืองได้นาเอาความรู้ ความสามรถ และ
ประสบการณ์ที่ได้รับจากการศึกษาเล่าเรียนในรูปแบบต่าง ๆ มาใช้ในการ
พัฒนาประเทศ โดยรัฐถือว่า ศูนย์กลางของการพัฒนา คือ “คน”
การบริหารและการจัดการศึกษา
• 2. การบริการและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ถือเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการบริหารราชการ
แผ่นดิน ที่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด โดยระบุว่า ท้องถิ่นใดที่สมควรให้ราษฎร
มีส่วนในการปกครองส่วนท้องถิ่น ให้จัดระเบียบการปกครองเป็นราชการส่วน
ท้องถิ่น รัฐบาลให้ความสาคัญกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัด
การศึกษา โดยถือว่าการศึกษาเป็นเครื่องมือสาคัญต่อการพัฒนา หาก
ประชาชนมีความรู้สูงขึ้น เขาก็จะได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการปกครอง
มากขึ้น ท้องถิ่นก็จะเจริญก้าวหน้าตามลาดับ
การบริหารและการจัดการศึกษา
• 3. การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน รัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 81 รัฐต้องจัด
การศึกษาอบรมและสนับสนุนให้เอกชนจัดการศึกษาอบรมให้เกิดความรู้คู่
คุณธรรม จัดให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแห่งชาติ การให้เอกชนเข้ามามี
ส่วนร่วมในการจัดการศึกษาถือได้ว่า เอกชนได้แบ่งเบาภาระของรัฐบาลที่
เกี่ยวกับด้านงบประมาณแผ่นดินไปเป็นอย่างมาก ถึงแม้ว่า เอกชนจัดการ
ศึกษาโดยให้ความเป็นอิสระ แต่ก็ต้องเป็นไปตามนโยบายและมาตรฐาน
การศึกษาที่รัฐกาหนดไว้ และขณะเดียวกันรัฐก็ให้ความสนับสนุนตามความ
เหมาะสม
การบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
• การบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ ตามพระราชบัญญัติปรับปรุง
กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริม และ
กากับดูแล การศึกษาทุกระดับและทุกประเภท กาหนดนโยบาย แผน และ
มาตรฐานการศึกษา การสนับสนุน ทรัพยากร การติดตาม การตรวจสอบและ
ประเมินผล มีหน่วยงานหลักที่เป็นนิติบุคคล 5 ส่วนราชการ ได้แก่
การบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา
• สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นหน่วยงานที่อยู่ภายใต้การกากับดูแลของ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่ดาเนินการให้เป็นไป
ตามอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา ตามมาตรา ๓๘ แห่ง
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ ๒๕๔๒ และมาตรา ๓๗ แห่ง
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
• ตามความในมาตรา 8 และมาตรา 34 ของพ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2542
• ได้กาหนดให้มีการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐานออกเป็น 2 ส่วนคือ
• เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
• ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
• กาหนดให้มีสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา(สพป.) มีจานวน 183
เขต และสานักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา(สพม.) มีจานวน 42 เขต
การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
• ภารกิจที่สถานศึกษาขั้นพื้นฐานต้องต้องดาเนินการ คือ
• มาตรา 24 มีสาระสาคัญ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการ
จัดกระบวนการเรียนรู้ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด และจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
• มาตรา26 มีสาระสาคัญ ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณา
จากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ พฤติกรรมการเรียน การร่วม
กิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไป พิจารณาตามความเหมาะสมของแต่ละ
ระดับและรูปแบบการศึกษา
การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
• ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2553
1. กลุ่มอำนวยกำร พร้อมกำหนดอำนำจหน้ำที่
2. กลุ่มบริหำรบุคคล พร้อมกำหนดอำนำจหน้ำที่
3. กลุ่มนโยบำยและแผน พร้อมกำหนดอำนำจหน้ำที่
4. กลุ่มส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำ พร้อมกำหนดอำนำจหน้ำที่
5. กลุ่มนิเทศ ติดตำมและประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำ พร้อมกำหนดอำนำจ
หน้ำที่
6. กลุ่มบริหำรงำนกำรเงินและทรัพย์สิน พร้อมกำหนดอำนำจหน้ำที่
7. กลุ่มส่งเสริมสถำนศึกษำเอกชน พร้อมกำหนดอำนำจหน้ำที่
การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
• ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2553
• เรื่องแบ่งส่วนราชการในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา 6 ส่วนราชการ
1. กลุ่มอานวยการ พร้อมกาหนดอานาจหน้าที่
2. กลุ่มบริหารบุคคล พร้อมกาหนดอานาจหน้าที่
3. กลุ่มนโยบายและแผน พร้อมกาหนดอานาจหน้าที่
4. กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา พร้อมกาหนดอานาจหน้าที่
5. กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา พร้อมกาหนดอานาจหน้าที่
6. กลุ่มบริหารงานการเงินและทรัพย์สิน พร้อมกาหนดอานาจหน้าที่
สมาชิกในกลุ่ม
นายอุดมชัย บุญรอด รหัสนิสิต561031076
น.ส.ณัฐพร เขียวขาว รหัสนิสิต561031141
นายกฤษณะ โต๊ะดา รหัสนิสิต561031437
น.ส.ชนานันท์ กิมิเส รหัสนิสิต561031443
นายภูวดล คารินทา รหัสนิสิต561031464
กศ.บ.สังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา

More Related Content

What's hot

ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์Jirathorn Buenglee
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557peter dontoom
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถามnichalee
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsombat nirund
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sudarat Makon
 

What's hot (20)

ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
ปก
ปกปก
ปก
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 

การจัดโครงสร้างสถานศึกษา

  • 2. สารบัญ : การจัดโครงสร้างสถานศึกษา • ความนา • โครงสร้างการบริหาร • หลักการแนะแนวคิดการจัดองค์การ • การจัดองค์การตามแนวคิดของวีเบอร์ (Weber, 1947) • โครงสร้างการบริหารสถานศึกษา • การบริหารและการจัดการศึกษา • การบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ • การบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา • การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 3. ความนา • การจัดตั้งหน่วยงาน เพื่อใช้สาหรับเป็นที่ปฏิบัติงาน โดยหลักการ หน่วยงาน ทางการศึกษา ถือได้ว่า เป็นการบริหารงานเฉพาะทางที่เรียกว่า “การ บริหารงานทางการศึกษา” เพื่อให้ผู้ที่มารับบริการได้พัฒนาตัวเองในทุกด้าน ในลักษณะการบูรณาการ ดังนั้น การจัดระบบงานภายหน่วยงานทางการ ศึกษา ต้องจัดให้ระบบงานสอดคล้องกับการพัฒนาคน
  • 4. โครงสร้างการบริหาร • โครงสร้างองค์การประกอบด้วย ฝ่ายงานและความเชี่ยวชาญ ความไม่เป็น ส่วนบุคคล ช่วงชั้นการบังคับบัญชา และกฎระเบียบและการเน้นงาน องค์การ เกือบทุกประเภทในปัจจุบันมีลักษณะตามแนวความคิดของ วีเบอร์ 1. ฝ่ายงานและความเชี่ยวชาญ (Devision of labor and Specialization) 2. ความไม่เป็นส่วนบุคคล (Impersonal Orientation) 3. ช่วงชั้นการบังคับบัญชา (Hierarchy of Authority) 4. ระเบียบและกฎเกณฑ์ (Rules and Regulation) 5. การเน้นงาน (Career Orientation) 6. ประสิทธิภาพในการทางาน (Efficiency)
  • 5. โครงสร้างการบริหาร • เชาว์ ไพรพิรุณโรจน์ ได้เสนอแนวความคิดว่า การจัดโครงสร้างขององค์การมี หลายแบบ ซึ่งแต่ละแบบก็มีข้อดีข้อเสียในตัวของมันเอง ฉะนั้น การที่ผู้บริหาร จะวางแนวในการจัดโครงสร้างนั้น อาจจะต้องพิจารณาจากหลาย ๆ ปัจจัย ด้วยกัน 1. โครงสร้างองค์การตามหน้าที่การงาน (Functional OrganizationStructure)
  • 9. โครงสร้างการบริหาร • สมคิด บางโม ได้เสนอแนวความคิดว่า การออกแบบโครงสร้างองค์การมีหลาย แบบไว้ ดังนี้ โครงสร้างองค์การ แบบสูง และแบบกว้าง การออกแบบโครงสร้างองค์การ แบบความสูง และความกว้างของโครงสร้าง ถ้าโครงสร้างขององค์การมีการบังคับ บัญชากันหลายชั้นหลายระดับ กระบวนการทางานย่อมช้า แต่ถ้าโครงสร้างองค์การ มีระดับการสั่งการน้อยกระบวนการทางานย่อมรวดเร็วกว่า ช่วงของการควบคุม หมายถึง จานวนผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาที่ถูกควบคุมหรือสั่งการจากผู้บังคับบัญชาคน หนึ่ง ตัวอย่างเช่น คุณวิสนี เป็นประธานบริษัท และมีคุณกาชัยเป็นรองประธานบริษัท เพียงคนเดียว แสดงว่าช่วงของการควบคุมของประธานคือมีเพียง 1 แต่ถ้าบริษัทนี้มี รองประธาน 3 คน แสดงว่าช่วงของการควบคุมของประธานมีเท่ากับ 3 เป็นต้น
  • 12. โครงสร้างการบริหาร • การจัดแผนกงาน (Departmentation) • การจัดแผนกงาน หมายถึง การรวมกลุ่มกิจกรรมต่าง ๆ เข้าด้วยกัน โดยการ รวมกิจกรรมที่คล้ายกัน และเหมาะสมที่จะนามาปฏิบัติ ในกลุ่มเดียวกันเข้าไว้ ด้วยกันเป็นกลุ่ม แผนก หรือหน่วยงาน หลักเกณฑ์พื้นฐานที่จะใช้สาหรับการ จัดแผนกงาน มีดังนี้ 1.การจัดแผนกงานตามหน้าที่ เป็นการจัดองค์การที่เป็นที่ยอมรับอย่าง กว้างขวาง และหน้าที่หลัก ส่วนใหญ่แผนกต่าง ๆ จะมีก็คือ หน้าที่ทางด้านการ ผลิต การขายและการเงิน
  • 13. โครงสร้างการบริหาร • การจัดแผนกงาน (Departmentation) 2. การจัดแผนกงานตามประเภทผลิตภัณฑ์ การจัดแผนกแบบนี้มักจะใช้ ในการจัดแผนกงานขององค์การธุรกิจขนาดใหญ่มีกระบวนการในการปฏิบัติงาน ซับซ้อน องค์การธุรกิจผลิตสินค้าหลายอย่าง ถ้าจะใช้การจัดแผนกงานตามหน้าที่ ก็จะทาให้แต่ละแผนกมีงานมากเกินไป การดูแลผลิตภัณฑ์แต่ละอย่างอาจดูแลไม่ ทั่วถึง การขยายงานก็จะมีปัญหาอย่างมาก ทาให้องค์การธุรกิจขาดความคล่องตัว ในการดาเนินงานและเสียโอกาสในการแสวงหาผลประโยชน์กับองค์การได้
  • 14. โครงสร้างการบริหาร • การจัดแผนกงาน (Departmentation) 3. การจัดแผนกงานตามพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ การจัดแผนกโดยแบ่งตาม พื้นที่ทางภูมิศาสตร์หรืออาณาเขตนี้โดยคานึงถึงสภาพทางภูมิศาสตร์หรือทาเล ที่ตั้งที่กิจการจะต้องเข้าไปดาเนินการในพื้นที่นั้น ๆ เป็นสาคัญ และจะถูกนามาใช้ จัดแผนกงานสาหรับองค์การธุรกิจ ที่อาณาเขตการขายกว้างขวางและธุรกิจอยู่ใน สภาวะที่มีการแข่งขันสูง 4. การจัดแผนกงานตามกระบวนการผลิต การแบ่งกิจกรรมออกเป็นกลุ่ม ตามขั้นตอน กระบวนการผลิต หรือกระแสการไหลของงาน เช่น กิจการ หนังสือพิมพ์เชียงใหม่นิวส์อาจจะมีการจัดแผนกศิลป์ทาหน้าที่ออกแบบรูปเล่ม แบบหน้าโฆษณา แบบตัวอักษร แผนกพิมพ์แผนกสต๊อก แผนกจัดส่งสินค้า ฯลฯ
  • 15. โครงสร้างการบริหาร • การจัดแผนกงาน (Departmentation) 5. การจัดแผนกงานตามหรือลูกค้า เป็นวิธีจัดแผนกงานอีกอย่างหนึ่งที่ องค์การธุรกิจจะให้ความสาคัญแก่กลุ่มลูกค้า เพราะสินค้าที่องค์การผลติออกมา นั้นอาจตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคแตกต่างกัน เนื่องจากพฤติกรรมของ กลุ่มลูกค้าที่จะซื้อสินค้านั้นแตกต่างกัน
  • 16. โครงสร้างการบริหาร • แผนภูมิองค์การ(Organization charts) • แผนภูมิองค์การ หรือผังโครงสร้างองค์การ หมายถึง แผนผังที่แสดงถึง กลุ่มตาแหน่งงาน ซึ่งรวมกลุ่มเป็นสายการบังคับบัญชา โดยมีการแบ่งกลุ่ม แบ่งระดับ โครงสร้างองค์การที่มีการจัดขึ้นอย่างถูกต้อง โดยมีการจัดตาแหน่ง ชัดเจน มีสายการบังคับบัญชาที่แน่นอน และมีชื่อตาแหน่งระบุไว้ ก็จะช่วยให้ ได้ข้อมูลการจัดการที่เป็นประโยชน์ยิ่งขึ้น แบ่งประเภทของแผนภูมิองค์การไว้ 2 ประการ คือ
  • 17. โครงสร้างการบริหาร • แผนภูมิองค์การ(Organization charts) 1.แผนภูมิหลัก เป็นแผนภูมิที่แสดงโครงสร้างขององค์การทั้งหมดของ องค์การว่า มีการแบ่งส่วนงานใหญ่ ออกเป็นกี่หน่วย ที่กอง กี่แผนที่สาคัญ ๆ ตลอดจนความสัมพันธ์ที่ต่อเนื่องกัน เนื่องจากแผนภูมิชนิดนี้แสดงสายการบังคับ บัญชาลดหลั่นตาลาดับ จึงอาจเรียกได้ว่า แบบแผนภูมิหลัก แบ่งออกเป็น 3 แบบ 1.1 แบบสายงานปิรามิด
  • 19. โครงสร้างการบริหาร • แผนภูมิองค์การ(Organization charts) 2. แผนภูมิเสริม (Supplementary Chart) แผนภูมิเสริม คือแผนภูมิที่ แสดงถึงรายละเอียดของหน่วยงานย่อย ๆ ที่แยกจากแผนภูมิหลัก โดยแยกเป็น หน่วยงานย่อยว่ามีลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบอย่างไร ซึ่งอาจจะเป็น ภายในแผนกเดียวกัน หรือเกี่ยวโยงไปยังแผนกอื่น ๆ แผนภูมิเสริมนี้แบ่งออกเป็น ได้หลายลักษณะหรือหลายแบบ เช่น 2.1 แผนภูมิแสดงทางเดินของสายงาน หมายถึงแผนภูมิที่แสดงสายการ ปฏิบัติทางเดินของงาน
  • 20. โครงสร้างการบริหาร • แผนภูมิองค์การ(Organization charts) 2.2 แผนภูมิการจัดรูปแบบสถานที่ เป็นแผนภูมิที่แสดงการจัดสถานที่ ทางาน ซึ่งหมายถึงการจัดสถานที่ตาแหน่งของงาน การจัดห้องที่ทางาน เพื่อให้ การปฏิบัติงานเป็นไปโดยสะดวก และเรียบร้อย รวดเร็ว 2.3 แผนภูมิชื่อบุคคล เป็นแผนภูมิที่แสดงชื่อบุคคลที่ดารงตาแหน่งทั้งนี้ เพื่อประโยชน์ในการติดต่อประสานงานและให้บริการ
  • 21. โครงสร้างการบริหาร • การมอบหมายงาน(Delegation) หมายถึง การกาหนดความรับผิดชอบและ อานาจหน้าที่ โดยตัวผู้บังคับบัญชาให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา = การกระจายงาน ในหน้าที่, ความรับผิดชอบ และอานาจในการตัดสินใจ ประโยชน์ของการ มอบหมายงาน จะก่อให้เกิดประโยชน์ 3 ประการใหญ่ๆ ดังนี้ 1. ช่วยลดภาระของผู้บริหารระดับสูง 2. ช่วยในการพัฒนาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา 3. เป็นการสร้างขวัญที่ดีให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน
  • 22. โครงสร้างการบริหาร • โครงสร้างองค์การจะเน้นเรื่องความเชี่ยวชาญชานาญการ มีการจัดกลุ่มงาน ตามหน้าที่หรือกระบวนการในการทางาน มีการกาหนดช่วงการบังคับบัญชา ให้แคบและมีการรวมอานาจการตัดสินใจสู่ส่วนกลาง ตามโครงสร้างหลักของ องค์การแบบระบบราชการของแมกซ์ วีเบอร์ โดยโครงสร้างในด้านโครงสร้าง รูปแบบขององค์การนั้น การจัดโครงสร้างจะแตกต่างกันหลายรูปแบบ เพื่อ ความเหมาะสมของขนาดของสถานศึกษา มีประเภทและขนาดพื้นฐานแบบ ต่างๆไว้ ดังนี้
  • 23. โครงสร้างการบริหาร • สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป) 2559 1. โรงเรียนขนาดเล็ก มีนักเรียนไม่เกิน 120 คน 2. โรงเรียนขนาดกลาง มีนักเรียน 121 - 600 คน 3. โรงเรียนขนาดใหญ่ มีนักเรียน 601 – 1,500 คน 4. โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีนักเรียน 1,500 คนขึ้นไป
  • 24. โครงสร้างการบริหาร • สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม) 2559 1. โรงเรียนขนาดเล็ก มีนักเรียน 1 - 499 คน 2. โรงเรียนขนาดกลาง มีนักเรียน 500 - 1,499 คน 3. โรงเรียนขนาดใหญ่ มีนักเรียน 1,500 - 2,499 คน 4. โรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีนักเรียน 2,500 คน ขึ้นไป
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 40. โครงสร้างการบริหารสถานศึกษา • การจัดโครงสร้างองค์การสถานศึกษาตามรูปแบบของ ฮอยและมิสเกล (Hoy and Miskel, 2001, 101-102) แบ่งออกเป็น 4 แบบ แบบที่ 1 โครงสร้างระบบราชการ (Weberian) เป็นแบบที่เน้นทั้งความ เป็นระบบราชกาลและวิชาชีพ เป็นองค์การที่มีประสิทธิภาพมาก Weber เป็นผู้คิด ไว้ แบบที่ 2 โครงสร้างแบบอานาจหน้าที่ (Authoritarian) เป็นแบบที่มี ความเป็นระบบราชการสูง มีความเป็นวิชาชีพต่า ลักษณะการบริหารเน้นการ บังคับบัญชาตามสายงาน ไม่คานึงถึงความเชี่ยวชาญ
  • 41. โครงสร้างการบริหารสถานศึกษา • การจัดโครงสร้างองค์การสถานศึกษาตามรูปแบบของ ฮอยและมิสเกล (Hoy and Miskel, 2001, 101-102) แบ่งออกเป็น 4 แบบ แบบที่ 3 โครงสร้างแบบวิชาชีพ (Professional) เป็นระบบที่มีความเป็น วิชาชีพสูง มีความเป็นระบบราชการต่า ลักษณะการบริหารงานเน้นความสามารถ และความเชี่ยวชาญ ให้ความสาคัญกับการบังคับบัญชาตามสายงานน้อย แบบที่ 4 โครงสร้างแบบอานาจคลุมเครือ (Chaotic) เป็นแบบที่ไม่เน้น วิชาชีพและระบบราชการลักษณะมีความสับสนแก้ปัญหาไววันต่อวัน ไม่มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
  • 42. การบริหารและการจัดการศึกษา • การบริหารและการจัดการศึกษาของไทยในปัจจุบัน ยึดถือตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ในหมวด 5 และแก้ไข เพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 การ บริหารและการจัดการศึกษาไทย แบ่งออกได้ดังนี้ 1. การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ 2. การบริการและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน
  • 43. การบริหารและการจัดการศึกษา • 1. การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ หมายถึง ให้รัฐบาลดาเนินการ บริหาร และจัดการเกี่ยวกับการศึกษาของชาติ เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจภาครัฐ และตอบสนองความต้องการของประชาชน ภายใต้การบริหารราชการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารและการจัดการศึกษาของ รัฐ ที่มีให้กับประชาชนพลเมืองได้นาเอาความรู้ ความสามรถ และ ประสบการณ์ที่ได้รับจากการศึกษาเล่าเรียนในรูปแบบต่าง ๆ มาใช้ในการ พัฒนาประเทศ โดยรัฐถือว่า ศูนย์กลางของการพัฒนา คือ “คน”
  • 44. การบริหารและการจัดการศึกษา • 2. การบริการและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ถือเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการบริหารราชการ แผ่นดิน ที่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด โดยระบุว่า ท้องถิ่นใดที่สมควรให้ราษฎร มีส่วนในการปกครองส่วนท้องถิ่น ให้จัดระเบียบการปกครองเป็นราชการส่วน ท้องถิ่น รัฐบาลให้ความสาคัญกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัด การศึกษา โดยถือว่าการศึกษาเป็นเครื่องมือสาคัญต่อการพัฒนา หาก ประชาชนมีความรู้สูงขึ้น เขาก็จะได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการปกครอง มากขึ้น ท้องถิ่นก็จะเจริญก้าวหน้าตามลาดับ
  • 45. การบริหารและการจัดการศึกษา • 3. การบริหารและการจัดการศึกษาของเอกชน รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 81 รัฐต้องจัด การศึกษาอบรมและสนับสนุนให้เอกชนจัดการศึกษาอบรมให้เกิดความรู้คู่ คุณธรรม จัดให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแห่งชาติ การให้เอกชนเข้ามามี ส่วนร่วมในการจัดการศึกษาถือได้ว่า เอกชนได้แบ่งเบาภาระของรัฐบาลที่ เกี่ยวกับด้านงบประมาณแผ่นดินไปเป็นอย่างมาก ถึงแม้ว่า เอกชนจัดการ ศึกษาโดยให้ความเป็นอิสระ แต่ก็ต้องเป็นไปตามนโยบายและมาตรฐาน การศึกษาที่รัฐกาหนดไว้ และขณะเดียวกันรัฐก็ให้ความสนับสนุนตามความ เหมาะสม
  • 46. การบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ • การบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ ตามพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 มีอานาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริม และ กากับดูแล การศึกษาทุกระดับและทุกประเภท กาหนดนโยบาย แผน และ มาตรฐานการศึกษา การสนับสนุน ทรัพยากร การติดตาม การตรวจสอบและ ประเมินผล มีหน่วยงานหลักที่เป็นนิติบุคคล 5 ส่วนราชการ ได้แก่
  • 47.
  • 48. การบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา • สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นหน่วยงานที่อยู่ภายใต้การกากับดูแลของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้าที่ดาเนินการให้เป็นไป ตามอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา ตามมาตรา ๓๘ แห่ง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ ๒๕๔๒ และมาตรา ๓๗ แห่ง พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
  • 49.
  • 50.
  • 51. การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน • ตามความในมาตรา 8 และมาตรา 34 ของพ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 • ได้กาหนดให้มีการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาขั้นพื้นฐานออกเป็น 2 ส่วนคือ • เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา • ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ • กาหนดให้มีสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา(สพป.) มีจานวน 183 เขต และสานักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา(สพม.) มีจานวน 42 เขต
  • 52. การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน • ภารกิจที่สถานศึกษาขั้นพื้นฐานต้องต้องดาเนินการ คือ • มาตรา 24 มีสาระสาคัญ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการ จัดกระบวนการเรียนรู้ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด และจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้จากประสบการณ์จริง • มาตรา26 มีสาระสาคัญ ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณา จากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ พฤติกรรมการเรียน การร่วม กิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไป พิจารณาตามความเหมาะสมของแต่ละ ระดับและรูปแบบการศึกษา
  • 53. การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน • ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2553 1. กลุ่มอำนวยกำร พร้อมกำหนดอำนำจหน้ำที่ 2. กลุ่มบริหำรบุคคล พร้อมกำหนดอำนำจหน้ำที่ 3. กลุ่มนโยบำยและแผน พร้อมกำหนดอำนำจหน้ำที่ 4. กลุ่มส่งเสริมกำรจัดกำรศึกษำ พร้อมกำหนดอำนำจหน้ำที่ 5. กลุ่มนิเทศ ติดตำมและประเมินผลกำรจัดกำรศึกษำ พร้อมกำหนดอำนำจ หน้ำที่ 6. กลุ่มบริหำรงำนกำรเงินและทรัพย์สิน พร้อมกำหนดอำนำจหน้ำที่ 7. กลุ่มส่งเสริมสถำนศึกษำเอกชน พร้อมกำหนดอำนำจหน้ำที่
  • 54.
  • 55. การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน • ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2553 • เรื่องแบ่งส่วนราชการในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา 6 ส่วนราชการ 1. กลุ่มอานวยการ พร้อมกาหนดอานาจหน้าที่ 2. กลุ่มบริหารบุคคล พร้อมกาหนดอานาจหน้าที่ 3. กลุ่มนโยบายและแผน พร้อมกาหนดอานาจหน้าที่ 4. กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา พร้อมกาหนดอานาจหน้าที่ 5. กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา พร้อมกาหนดอานาจหน้าที่ 6. กลุ่มบริหารงานการเงินและทรัพย์สิน พร้อมกาหนดอานาจหน้าที่
  • 56.
  • 57. สมาชิกในกลุ่ม นายอุดมชัย บุญรอด รหัสนิสิต561031076 น.ส.ณัฐพร เขียวขาว รหัสนิสิต561031141 นายกฤษณะ โต๊ะดา รหัสนิสิต561031437 น.ส.ชนานันท์ กิมิเส รหัสนิสิต561031443 นายภูวดล คารินทา รหัสนิสิต561031464 กศ.บ.สังคมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา