SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
คำนำ 
บทเรียนสาเร็จรูป ชุดพัฒนาการเรียนรู้ เรื่อง ส่วนต่างที่ลงตัว เล่มนี้ จัดทาขึ้นสาหรับใช้สอนเสริมทักษะการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยผู้จัดทามีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เรียนได้รู้จัก ประเภทของเศษส่วน สามารถเปรียบเทียบเศษส่วน และบวก ลบเศษส่วน อีกทั้งสามารถแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเศษส่วนได้ 
บทเรียนสาเร็จรูป เรื่องส่วนต่างที่ลงตัว เล่มนี้ ผู้เรียนสามารถศึกษา ได้ด้วยตนเอง และจะเกิดประโยชน์เป็นอย่างมาก หากครูผู้สอนคอยให้ คาแนะนาและคาปรึกษาแก่ผู้เรียน ในกรณีที่ผู้เรียนมีข้อสงสัย 
หากบทเรียนสาเร็จรูปเล่มนี้ มีข้อบกพร่องหรือผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ 
17
16 
เราจะรู้อะไรบ้าง? 
เศษส่วน 
การบวก ลบเศษส่วน 
การเปรียบเทียบเศษส่วน 
ประเภทของเศษส่วน 
โจทย์ปัญหาเศษส่วน 
1
เศษส่วน 
นี่! โนบิตะ นายรู้ไหมว่า เศษส่วนคืออะไร? 
ทาไมจะไม่รู้ล่ะ ก็เรียนมาตั้งแต่ ป.4 นู้น! 
มันก็คือ ส่วนหนึ่งๆ ของจานวน ทั้งหมดที่แบ่งออกเป็นส่วนๆ เท่าๆ กัน 
ใช่แล้ว! เศษส่วน ก็ประกอบไป ด้วย ตัวเศษ และตัวส่วน 
เศษส่วนแบ่งออกเป็น 3 ประเภท 
1. เศษส่วนแท้ คือ เศษส่วนที่มีเศษน้อยกว่าส่วน เช่น , , 
2. เศษเกิน คือ เศษส่วนที่มีเศษมากกว่าส่วน เช่น , , 
3. จานวนคละ คือ เศษส่วนที่มีจานวนเต็มประกอบอยู่ด้วย เช่น 
, , 
2 
15
14 
เราลองมาดูรูปหกเหลี่ยม ด้านล่างนี้ 
รูปหกเหลี่ยม 1 รูป 
แต่ถ้ารูปหกเหลี่ยมรูปนี้ นาออกมาบางส่วนหละเราจะนับอย่างไร 
ก็ใช้เศษส่วนไง 
เรามาลองแบ่งรูปหกเหลี่ยมนี้ออกเป็น 6 ส่วน เท่าๆกัน แล้วลองหยิบออกมา 1 ส่วน 
เราจะเขียนแทนส่วนที่หยิบออกมายังไงดีนะ 
รูปหกเหลี่ยมแต่ละส่วนที่ถูกแบ่งไว้ คิดเป็น 1 ใน 6 ซึ่งแทนจานวนรูปหกเหลี่ยมแต่ละส่วนด้วย 
เราอ่าน ว่า เศษหนึ่งส่วนหก 
ตัวเศษ เป็นตัวเลขที่บอกให้ทราบว่า จานวนส่วนแบ่งที่ต้องการมีกี่ส่วนจากส่วนแบ่งเท่าๆกันทั้งหมด 
ตัวส่วน เป็นตัวเลขที่บอกให้ทราบว่า จานวนส่วนแบ่งเท่าๆกัน ทั้งหมดมีกี่ส่วน 
3
จากรูปนี้มี ทั้งหมด 4 ใน 6 ส่วน ของรูปทั้งหมด แสดงว่ามันคือ นั่นเอง 
นอกจากเศษส่วนของสิ่งหนึ่งสิ่งแล้ว ยังมี เศษส่วนของสิ่งของหนึ่งกลุ่มอีกด้วย เช่น 
4 
13
12 
น้องๆจาได้ไหมว่า เศษส่วนนั้นเราใช้นับส่วนหนึ่ง ของจานวนทั้งหมดที่แบ่งเป็นส่วนเท่าๆกัน เช่น 
แต่ถ้าเราต้องการจานวนนับทั้งหมดของสิ่งหนึ่ง รวมกับส่วนหนึ่งของสิ่งๆนั้น เรา จะใช้ จานวนคละ 
ลองช่วยกันดูนะ รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสข้างล่างนี้มีส่วนที่เป็นสีแดงอยู่เท่าไหร่? 
มีส่วนที่เป็น สีแดง อยู่ 3 กับอีก เราเขียนในรูปของการบวกได้เป็น 3+ 
แต่เราไม่นิยมใส่เครื่องหมาย “+” จึงเขียนได้เป็น อ่านว่า “สามเศษหนึ่งส่วนสี่” 
การเปลี่ยนจานวนคละให้เป็นเศษเกิน น้องๆสามารถทาได้ด้วยวิธีง่ายๆดัง ตัวอย่างด้านล่าง 
5
แล้วจะรู้ได้ยังไงว่าอันไหน มากกว่า,น้อยกว่าหรือเท่ากันล่ะ?? 
ถ้าอยากจะรู้ล่ะก็มีหลักการด้วยกันอยู่2 หลักการที่ควรรู้นะนั่นก็คือ 
1.ทาส่วนให้เท่ากันแล้วดูความแตกต่างของเศษแต่ละตัว เศษตัวไหน มากกว่า เศษส่วนตัวนั้นก็จะมากกว่า 2.ทาเศษให้เท่ากัน แล้วดูความแตกต่างของส่วนแต่ละตัว ส่วนตัวไหน มากกว่า เศษส่วนตัวนั้นก็จะมีค่าน้อยกว่า 
6 
แต่นอกจาก2วิธีนี้แล้วยังไม่อีกวิธี หนึ่งที่เร็วกว่านี้มากเลยนะมาดูกัน! 
11
แต่เดี๋ยวก่อน!! เรารู้แค่ว่ามันเท่ากันหรือไม่เท่ากัน ถ้าเราอยากรู้ว่าอันไหนมากกว่าหรือน้อยกว่าล่ะ จะทายังไง!! 
โถ่เอ้ยย โนบิตะเรื่องแค่นี้เองเดี๋ยวฉันจะบอกให้ ฟังแล้วกัน ตั้งใจด้วยล่ะ! 
10 
น้องๆพิจารณารูปหกเหลี่ยมข้างล่างนี้ ว่ามี ส่วนที่เป็นสีแดงอยู่กี่ส่วนแล้วจะเขียนให้อยู่ใน รูปเศษส่วนได้อย่างไร 
ไม่ยากเลยใช่ไหมล่ะ สังเกตดูง่ายๆเลย มองนิดเดียวก็เข้าใจแล้ว เชื่อว่าไม่ยาก เกินความสามารถของน้องๆหนูอย่าง แน่นอน 
7
น้องๆพิจารณาเศษส่วนที่มีค่าเท่ากันต่อไปนี้เช่น มีกระดาษอยู่1แผ่น พับเป็น2ส่วนเท่าๆกันและ ระบายสีแรเงา1ส่วน 
เมื่อน้องๆทาตามตัวอย่างด้านบนแล้วให้น้องๆสังเกตส่วนที่เกิดจากการพับ กระดาษให้ดีๆ จะพบว่า ส่วนที่เกิดจากการพับครึ่งไปเรื่อยๆนั้นมีค่าเท่ากัน 
8 
หรือน้องๆหนูๆอาจใช้เส้น จานวนในการพิจารณาก็ได้นะ 
เท่านี้ก็มีวิธีที่จะดูให้รู้แล้วว่าเศษส่วนที่ นามาเปรียบเทียบเท่ากันหรือเปล่า สุดยอด ไปเลย 
9

More Related Content

Similar to เศษส่วน ชวนสนุก (ประชา นาจรูญ)

เล่มที่ 1present simpletense(new)
เล่มที่ 1present simpletense(new)เล่มที่ 1present simpletense(new)
เล่มที่ 1present simpletense(new)
thestorygu
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
atunya2530
 
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซังChapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
AchariyaChuerpet
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการ
Rsmay Saengkaew
 
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราส่วน
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราส่วนแบบฝึกทักษะชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราส่วน
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราส่วน
Paramee De Namsom
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
Aa-bb Sangwut
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Wuth Chokcharoen
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
KanlayaratKotaboot
 

Similar to เศษส่วน ชวนสนุก (ประชา นาจรูญ) (20)

การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษาการเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
การเลือกใช้สื่อและวัสดุเพื่อการศึกษา
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
 
เล่มที่ 1present simpletense(new)
เล่มที่ 1present simpletense(new)เล่มที่ 1present simpletense(new)
เล่มที่ 1present simpletense(new)
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซังChapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter9การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้ กลุ่มโจโจ้ซัง
 
บทที่ 5
บทที่ 5 บทที่ 5
บทที่ 5
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการ
 
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราส่วน
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราส่วนแบบฝึกทักษะชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราส่วน
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1 เรื่อง ความหมายของอัตราส่วน
 
บทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำ
บทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำบทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำ
บทคัดย่อ เรื่อง ชนิดและหน้าที่ของคำ
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
Chapter 9
Chapter 9Chapter 9
Chapter 9
 
No.1 at school
No.1 at schoolNo.1 at school
No.1 at school
 
chapter 9
chapter 9chapter 9
chapter 9
 

เศษส่วน ชวนสนุก (ประชา นาจรูญ)

  • 1.
  • 2. คำนำ บทเรียนสาเร็จรูป ชุดพัฒนาการเรียนรู้ เรื่อง ส่วนต่างที่ลงตัว เล่มนี้ จัดทาขึ้นสาหรับใช้สอนเสริมทักษะการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยผู้จัดทามีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เรียนได้รู้จัก ประเภทของเศษส่วน สามารถเปรียบเทียบเศษส่วน และบวก ลบเศษส่วน อีกทั้งสามารถแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเศษส่วนได้ บทเรียนสาเร็จรูป เรื่องส่วนต่างที่ลงตัว เล่มนี้ ผู้เรียนสามารถศึกษา ได้ด้วยตนเอง และจะเกิดประโยชน์เป็นอย่างมาก หากครูผู้สอนคอยให้ คาแนะนาและคาปรึกษาแก่ผู้เรียน ในกรณีที่ผู้เรียนมีข้อสงสัย หากบทเรียนสาเร็จรูปเล่มนี้ มีข้อบกพร่องหรือผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ 17
  • 3. 16 เราจะรู้อะไรบ้าง? เศษส่วน การบวก ลบเศษส่วน การเปรียบเทียบเศษส่วน ประเภทของเศษส่วน โจทย์ปัญหาเศษส่วน 1
  • 4. เศษส่วน นี่! โนบิตะ นายรู้ไหมว่า เศษส่วนคืออะไร? ทาไมจะไม่รู้ล่ะ ก็เรียนมาตั้งแต่ ป.4 นู้น! มันก็คือ ส่วนหนึ่งๆ ของจานวน ทั้งหมดที่แบ่งออกเป็นส่วนๆ เท่าๆ กัน ใช่แล้ว! เศษส่วน ก็ประกอบไป ด้วย ตัวเศษ และตัวส่วน เศษส่วนแบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. เศษส่วนแท้ คือ เศษส่วนที่มีเศษน้อยกว่าส่วน เช่น , , 2. เศษเกิน คือ เศษส่วนที่มีเศษมากกว่าส่วน เช่น , , 3. จานวนคละ คือ เศษส่วนที่มีจานวนเต็มประกอบอยู่ด้วย เช่น , , 2 15
  • 5. 14 เราลองมาดูรูปหกเหลี่ยม ด้านล่างนี้ รูปหกเหลี่ยม 1 รูป แต่ถ้ารูปหกเหลี่ยมรูปนี้ นาออกมาบางส่วนหละเราจะนับอย่างไร ก็ใช้เศษส่วนไง เรามาลองแบ่งรูปหกเหลี่ยมนี้ออกเป็น 6 ส่วน เท่าๆกัน แล้วลองหยิบออกมา 1 ส่วน เราจะเขียนแทนส่วนที่หยิบออกมายังไงดีนะ รูปหกเหลี่ยมแต่ละส่วนที่ถูกแบ่งไว้ คิดเป็น 1 ใน 6 ซึ่งแทนจานวนรูปหกเหลี่ยมแต่ละส่วนด้วย เราอ่าน ว่า เศษหนึ่งส่วนหก ตัวเศษ เป็นตัวเลขที่บอกให้ทราบว่า จานวนส่วนแบ่งที่ต้องการมีกี่ส่วนจากส่วนแบ่งเท่าๆกันทั้งหมด ตัวส่วน เป็นตัวเลขที่บอกให้ทราบว่า จานวนส่วนแบ่งเท่าๆกัน ทั้งหมดมีกี่ส่วน 3
  • 6. จากรูปนี้มี ทั้งหมด 4 ใน 6 ส่วน ของรูปทั้งหมด แสดงว่ามันคือ นั่นเอง นอกจากเศษส่วนของสิ่งหนึ่งสิ่งแล้ว ยังมี เศษส่วนของสิ่งของหนึ่งกลุ่มอีกด้วย เช่น 4 13
  • 7. 12 น้องๆจาได้ไหมว่า เศษส่วนนั้นเราใช้นับส่วนหนึ่ง ของจานวนทั้งหมดที่แบ่งเป็นส่วนเท่าๆกัน เช่น แต่ถ้าเราต้องการจานวนนับทั้งหมดของสิ่งหนึ่ง รวมกับส่วนหนึ่งของสิ่งๆนั้น เรา จะใช้ จานวนคละ ลองช่วยกันดูนะ รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสข้างล่างนี้มีส่วนที่เป็นสีแดงอยู่เท่าไหร่? มีส่วนที่เป็น สีแดง อยู่ 3 กับอีก เราเขียนในรูปของการบวกได้เป็น 3+ แต่เราไม่นิยมใส่เครื่องหมาย “+” จึงเขียนได้เป็น อ่านว่า “สามเศษหนึ่งส่วนสี่” การเปลี่ยนจานวนคละให้เป็นเศษเกิน น้องๆสามารถทาได้ด้วยวิธีง่ายๆดัง ตัวอย่างด้านล่าง 5
  • 8. แล้วจะรู้ได้ยังไงว่าอันไหน มากกว่า,น้อยกว่าหรือเท่ากันล่ะ?? ถ้าอยากจะรู้ล่ะก็มีหลักการด้วยกันอยู่2 หลักการที่ควรรู้นะนั่นก็คือ 1.ทาส่วนให้เท่ากันแล้วดูความแตกต่างของเศษแต่ละตัว เศษตัวไหน มากกว่า เศษส่วนตัวนั้นก็จะมากกว่า 2.ทาเศษให้เท่ากัน แล้วดูความแตกต่างของส่วนแต่ละตัว ส่วนตัวไหน มากกว่า เศษส่วนตัวนั้นก็จะมีค่าน้อยกว่า 6 แต่นอกจาก2วิธีนี้แล้วยังไม่อีกวิธี หนึ่งที่เร็วกว่านี้มากเลยนะมาดูกัน! 11
  • 9. แต่เดี๋ยวก่อน!! เรารู้แค่ว่ามันเท่ากันหรือไม่เท่ากัน ถ้าเราอยากรู้ว่าอันไหนมากกว่าหรือน้อยกว่าล่ะ จะทายังไง!! โถ่เอ้ยย โนบิตะเรื่องแค่นี้เองเดี๋ยวฉันจะบอกให้ ฟังแล้วกัน ตั้งใจด้วยล่ะ! 10 น้องๆพิจารณารูปหกเหลี่ยมข้างล่างนี้ ว่ามี ส่วนที่เป็นสีแดงอยู่กี่ส่วนแล้วจะเขียนให้อยู่ใน รูปเศษส่วนได้อย่างไร ไม่ยากเลยใช่ไหมล่ะ สังเกตดูง่ายๆเลย มองนิดเดียวก็เข้าใจแล้ว เชื่อว่าไม่ยาก เกินความสามารถของน้องๆหนูอย่าง แน่นอน 7
  • 10. น้องๆพิจารณาเศษส่วนที่มีค่าเท่ากันต่อไปนี้เช่น มีกระดาษอยู่1แผ่น พับเป็น2ส่วนเท่าๆกันและ ระบายสีแรเงา1ส่วน เมื่อน้องๆทาตามตัวอย่างด้านบนแล้วให้น้องๆสังเกตส่วนที่เกิดจากการพับ กระดาษให้ดีๆ จะพบว่า ส่วนที่เกิดจากการพับครึ่งไปเรื่อยๆนั้นมีค่าเท่ากัน 8 หรือน้องๆหนูๆอาจใช้เส้น จานวนในการพิจารณาก็ได้นะ เท่านี้ก็มีวิธีที่จะดูให้รู้แล้วว่าเศษส่วนที่ นามาเปรียบเทียบเท่ากันหรือเปล่า สุดยอด ไปเลย 9