SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ติดตามการเผยแผ่พระธรรมคำ�สอนตามหลักพุทธวจน
โดยพระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล ได้ที่
www.buddhakos.org | media.watnapahpong.org | www.watnapp.com |
คลื่น ส.ว.พ. FM 91.0 MHz ทุกวันพระ เวลา 17.40 น. |
ทีวีดาวเทียมระบบ C-Band ช่อง A I Biz Net Tong Hua เวลา 06.00-07.00 น.
๖. ทรงห้ามบัญญัติเพิ่มหรือตัดทอนสิ่งที่บัญญัติไว้
ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุทั้งหลาย จักไม่บัญญัติสิ่งที่ไม่เคยบัญญัติ จักไม่เพิกถอน
สิ่งที่บัญญัติไว้แล้ว, จักสมาทานศึกษาในสิกขาบทที่บัญญัติไว้แล้วอย่างเคร่งครัด
อยู่เพียงใด, ความเจริญก็เป็นสิ่งที่ภิกษุทั้งหลายหวังได้ ไม่มีความเสื่อมเลย อยู่เพียงนั้น.
มหา. ที. ๑๐/๙๐/๗๐.
๗. สำ�นึกเสมอว่าตนเองเป็นเพียงผู้เดินตามพระองค์เท่านั้น
ถึงแม้จะเป็นอรหันต์ผู้เลิศทางปัญญาก็ตาม
ภิกษุทั้งหลาย ! ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ ได้ทำ�มรรคที่ยังไม่เกิดให้
เกิดขึ้น ได้ทำ�มรรคที่ยังไม่มีใครรู้ให้มีคนรู้ ได้ทำ�มรรคที่ยังไม่มีใครกล่าวให้เป็นมรรค
ที่กล่าวกันแล้ว ตถาคตเป็นผู้รู้มรรค (มคฺคญฺญู) เป็นผู้รู้แจ้งมรรค (มคฺควิทู) เป็น
ผู้ฉลาดในมรรค (มคฺคโกวิโท). ภิกษุทั้งหลาย ! ส่วนสาวกทั้งหลายในกาลนี้ เป็น
ผู้เดินตามมรรค (มคฺคานุคา) เป็นผู้ตามมาในภายหลัง.
ภิกษุทั้งหลาย ! นี้แล เป็นความผิดแผกแตกต่างกัน เป็นความมุ่งหมายที่แตกต่างกัน
เป็นเครื่องกระทำ�ให้แตกต่างกัน ระหว่างตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ กับภิกษุ
ผู้ปัญญาวิมุตติ.
ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๒/๑๒๖.
๘. ตรัสไว้ว่าให้ทรงจำ�บทพยัญชนะและคำ�อธิบายอย่างถูกต้อง
พร้อมขยันถ่ายทอดบอกสอนกันต่อไป
ภิกษุทั้งหลาย ! พวกภิกษุในธรรมวินัยนี้ เล่าเรียนสูตรอันถือกันมาถูก ด้วยบท
พยัญชนะที่ใช้กันถูก ความหมายแห่งบทพยัญชนะที่ใช้กันก็ถูก ย่อมมีนัยอันถูกต้อง
เช่นนั้น. ภิกษุทั้งหลาย ! นี่เป็น มูลกรณีที่หนึ่ง ซึ่งทำ�ให้พระสัทธรรมตั้งอยู่ได้
ไม่เลอะเลือนจนเสื่อมสูญไป...
ภิกษุทั้งหลาย ! พวกภิกษุเหล่าใด เป็นพหุสูต คล่องแคล่ว ในหลักพระพุทธวจน
ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา (แม่บท) พวกภิกษุเหล่านั้น เอาใจใส่ บอกสอน
เนื้อความแห่งสูตรทั้งหลายแก่คนอื่นๆ, เมื่อท่านเหล่านั้นล่วงลับไป สูตรทั้งหลาย
ก็ไม่ขาดผู้เป็นมูลราก (อาจารย์) มีที่อาศัยสืบกันไป. ภิกษุทั้งหลาย ! นี่เป็น มูลกรณี
ที่สาม ซึ่งทำ�ให้พระสัทธรรมตั้งอยู่ได้ไม่เลอะเลือนจนเสื่อมสูญไป...
*** ในที่นี้ยกมา ๒ นัยยะ จาก ๔ นัยยะ ของมูลเหตุสี่ประการ ที่ทำ�ให้พระสัทธรรมตั้งอยู่ได้ไม่เลอะเลือนจนเสื่อมสูญไป
จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๙๗/๑๖๐.
๙.ทรงบอกวิธีแก้ไขความผิดเพี้ยนในคำ�สอน
๑. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กล่าวอย่างนี้ว่า ผู้มีอายุ ! ข้าพเจ้าได้สดับรับมาเฉพาะ
พระพักตร์พระผู้มีพระภาคว่า “นี้เป็นธรรม นี้เป็นวินัย นี้เป็นคำ�สอนของพระศาสดา”...
๒.(หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กล่าวอย่างนี้ว่า ในอาวาสชื่อโน้นมีสงฆ์อยู่พร้อมด้วย
พระเถระ พร้อมด้วยปาโมกข์ ข้าพเจ้าได้สดับมาเฉพาะหน้าสงฆ์นั้นว่า “นี้เป็นธรรม
นี้เป็นวินัย นี้เป็นคำ�สอนของพระศาสดา”...
๓. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กล่าวอย่างนี้ว่า ในอาวาสชื่อโน้นมีภิกษุผู้เป็นเถระอยู่
จำ�นวนมาก เป็นพหุสูต เรียนคัมภีร์ ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา ข้าพเจ้าได้สดับมา
เฉพาะหน้าพระเถระเหล่านั้นว่า “นี้เป็นธรรม นี้เป็นวินัย นี้เป็นคำ�สอนของพระศาสดา”...
๔.(หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กล่าวอย่างนี้ว่า ในอาวาสชื่อโน้นมีภิกษุผู้เป็นเถระอยู่
รูปหนึ่ง เป็นพหุสูต เรียนคัมภีร์ ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา ข้าพเจ้าได้สดับมา
เฉพาะหน้าพระเถระรูปนั้นว่า “นี้เป็นธรรม นี้เป็นวินัย นี้เป็นคำ�สอนของพระศาสดา”...
เธอทั้งหลายยังไม่พึงชื่นชม ยังไม่พึงคัดค้านคำ�กล่าวของผู้นั้น พึงเรียนบทและ
พยัญชนะเหล่านั้นให้ดี แล้วพึงสอบสวนลงในพระสูตร เทียบเคียงดูในวินัย
ถ้าบทและพยัญชนะเหล่านั้น สอบลงในสูตรก็ไม่ได้ เทียบเข้าในวินัยก็ไม่ได้
พึงลงสันนิษฐานว่า “นี้มิใช่พระดำ�รัสของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นแน่นอน และ
ภิกษุนี้รับมาผิด” เธอทั้งหลาย พึงทิ้งคำ�นั้นเสีย
ถ้าบทและพยัญชนะเหล่านั้น สอบลงในสูตรก็ได้ เทียบเข้าในวินัยก็ได้ พึงลง
สันนิษฐานว่า “นี้เป็นพระดำ�รัส ของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นแน่นอน และ
ภิกษุนั้นรับมาด้วยดี” เธอทั้งหลาย พึงจำ�มหาปเทส... นี้ไว้.
มหา. ที. ๑๐/๑๔๔/๑๑๓-๖.
๑๐. ทรงตรัสแก่พระอานนท์ ให้ใช้ธรรมวินัยที่ตรัสไว้เป็นศาสดาแทนต่อไป
อานนท์ ! ความคิดอาจมีแก่พวกเธออย่างนี้ว่า ‘ธรรมวินัยของพวกเรามีพระศาสดา
ล่วงลับไปเสียแล้ว พวกเราไม่มีพระศาสดา’ ดังนี้. อานนท์ ! พวกเธออย่าคิดอย่างนั้น.
อานนท์ ! ธรรมก็ดี วินัยก็ดี ที่เราแสดงแล้ว บัญญัติแล้ว แก่พวกเธอทั้งหลาย
ธรรมวินัยนั้น จักเป็นศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย โดยกาลล่วงไปแห่งเรา.
อานนท์ ! ในกาลบัดนี้ก็ดี ในกาลล่วงไปแห่งเราก็ดี ใครก็ตาม จักต้องมีตนเป็น
ประทีป มีตนเป็นสรณะ ไม่เอาสิ่งอื่นเป็นสรณะ; มีธรรมเป็นประทีป มีธรรมเป็นสรณะ ไม่
เอาสิ่งอื่นเป็นสรณะ เป็นอยู่. อานนท์ ! ภิกษุพวกใด เป็นผู้ใคร่ในสิกขา, ภิกษุพวก
นั้น จักเป็นผู้อยู่ในสถานะอันเลิศที่สุดแล.
อานนท์ ! ความขาดสูญแห่งกัลยาณวัตรนี้ มีในยุคแห่งบุรุษใด บุรุษนั้นชื่อว่า
เป็นบุรุษคนสุดท้ายแห่งบุรุษทั้งหลาย.... เราขอกล่าวย้ำ�กะเธอว่า... เธอทั้งหลายอย่า
เป็นบุรุษพวกสุดท้ายของเราเลย.
มหา. ที. ๑๐/๑๗๘/๑๔๑.
มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๑๗/๗๔๐.
ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓.
รักษาศาสนาพุทธ ด้วยการช่วยกัน
ศึกษา ปฏิบัติ และ เผยแผ่แต่คำ�สอนของ
พระพุทธเจ้า
คํานํา
ผานมา ๒,๕๐๐ กวาป
คําสอนทางพระพุทธศาสนาเกิดความหลากหลายมากขึ้น
มีสํานักตางๆ มากมาย ซึ่งแตละหมูคณะก็มีความเห็นของตน
หามาตรฐานไมได แมจะกลาวในเรื่องเดียวกัน
ทั้งนี้ไมใชเพราะคําสอนของพระพุทธเจาไมสมบูรณ
แลวเราควรเชื่อและปฏิบัติตามใคร ?
ลองพิจารณาหาคําตอบงายๆ ไดจาก ๑๐ พระสูตร
ซึ่งพระตถาคตทรงเตือนเอาไว
แลวตรัสบอกวิธีปองกันและแกไขเหตุเสื่อมแหงธรรมเหลานี้.
ขอเชิญมาตอบตัวเองกันเถอะวา ถึงเวลาแลวหรือยัง ?
ที่พุทธบริษัทจะมีมาตรฐานเพียงหนึ่งเดียว คือ “พุทธวจน” ธรรมวินัย
จากองคพระสังฆบิดา อันวิญูชนพึงปฏิบัติและรูตามไดเฉพาะตน ดังนี้.
๑๐
พระสูตรของความสําคัญที่ชาวพุทธตองศึกษา
แตคําสอนจากพระพุทธเจาเทานั้น
มากลาวอยู; ก็ไมฟงดวยดี ไมเงี่ยหูฟง ไมเขาไปตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และไมสําคัญวา
เปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน.
สวนสุตตันตะเหลาใด ที่กวีแตงขึ้นใหม เปนคํารอยกรองประเภทกาพยกลอน
มีอักษรสละสลวย มีพยัญชนะอันวิจิตร เปนเรื่องนอกแนว เปนคํากลาวของสาวก,
เมื่อมีผูนําสุตตันตะเหลานี้มากลาวอยู; พวกเธอยอมฟงดวยดี เงี่ยหูฟง ตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง
และสําคัญไปวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน. พวกเธอเลาเรียนธรรมอันกวีแตงใหมนั้นแลว
ก็ไมสอบถามซึ่งกันและกัน ไมทําใหเปดเผยแจมแจงออกมาวา ขอนี้พยัญชนะเปนอยางไร
อรรถเปนอยางไร ดังนี้. เธอเหลานั้น เปดเผยสิ่งที่ยังไมเปดเผยไมได ไมหงายของที่คว่ําอยู
ใหหงายขึ้นได ไมบรรเทาความสงสัยในธรรมทั้งหลายอันเปนที่ตั้งแหงความสงสัยมีอยาง
ตางๆ ได. ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เราเรียกวา อุกกาจิตวินีตา ปริสา โน ปฏิปุจฉาวินีตา.
ภิกษุทั้งหลาย ! บริษัทชื่อ ปฏิปุจฉาวินีตา ปริสา โน อุกกาจิตวินีตา
เปนอยางไรเลา ?
ภิกษุทั้งหลาย ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุทั้งหลายในบริษัทใด, เมื่อสุตตันตะทั้งหลาย
ที่กวีแตงขึ้นใหม เปนคํารอยกรองประเภทกาพยกลอน มีอักษรสละสลวย มีพยัญชนะอัน
วิจิตร เปนเรื่องนอกแนว เปนคํากลาวของสาวก อันบุคคลนํามากลาวอยู; ก็ไมฟงดวยดี
ไมเงี่ยหูฟง ไมเขาไปตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และไมสําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน.
สวน สุตตันตะเหลาใด อันเปนตถาคตภาษิต อันลึกซึ้ง มีอรรถอันลึกซึ้ง เปน
โลกุตตระ ประกอบดวยเรื่องสุญญตา, เมื่อมีผูนําสุตตันตะเหลานี้มากลาวอยู
พวกเธอยอมฟงดวยดี ยอมเงี่ยหูฟง ยอมเขาไปตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และยอม
สําคัญวาเปนสิ่งที่ควรศึกษาเลาเรียน. พวกเธอเลาเรียนธรรมที่เปนตถาคตภาษิตนั้นแลว
ก็สอบถามซึ่งกันและกัน ทําใหเปดเผยแจมแจงออกมาวา ขอนี้พยัญชนะเปนอยางไร
อรรถะเปนอยางไร ดังนี้. เธอเหลานั้น เปดเผยสิ่งที่ยังไมเปดเผยได หงายของที่คว่ําอยู
ใหหงายขึ้นได บรรเทาความสงสัยในธรรมทั้งหลายอันเปนที่ตั้งแหงความสงสัยมีอยาง
ตางๆ ได. ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เราเรียกวา ปฏิปุจฉาวินีตา ปริสา โน อุกกาจิตวินีตา.
ภิกษุทั้งหลาย ! เหลานี้แลบริษัท ๒ จําพวกนั้น. ภิกษุทั้งหลาย ! บริษัทที่เลิศ
ในบรรดาบริษัททั้งสองพวกนั้น คือ บริษัทปฏิปุจฉาวินีตา ปริสา โน อุกกาจิตวินีตา
(บริษัทที่อาศัยการสอบสวนทบทวนกันเอาเองเปนเครื่องนําไป : ไมอาศัยความเชื่อจากบุคคลภายนอก
เปนเครื่องนําไป) แล.
ทุก. อํ. ๒๐/๙๑/๒๙๒.
๑. พระองคทรงสามารถกําหนดสมาธิ เมื่อจะพูด ทุกถอยคําจึงไมผิดพลาด
อัคคิเวสนะ ! เรานั้นหรือ, จําเดิมแตเริ่มแสดง กระทั่งคําสุดทายแหงการกลาว
เรื่องนั้นๆ ยอมตั้งไวซึ่งจิตในสมาธินิมิตอันเปนภายในโดยแท ใหจิตดํารงอยู
ใหจิตตั้งมั่นอยู กระทําใหมีจิตเปนเอก ดังเชนที่คนทั้งหลายเคยไดยินวาเรากระทํา
อยูเปนประจํา ดังนี้.
มู. ม. ๑๒/๔๕๘/๔๓๐.
๒. แตละคําพูดเปนอกาลิโก คือ ถูกตองตรงจริงไมจํากัดกาลเวลา
ภิกษุทั้งหลาย ! พวกเธอทั้งหลายเปนผูที่เรานําไปแลวดวยธรรมนี้ อันเปนธรรมที่
บุคคลจะพึงเห็นไดดวยตนเอง (สนฺทิฏิโก), เปนธรรมใหผลไมจํากัดกาล (อกาลิโก),
เปนธรรมที่ควรเรียกกันมาดู (เอหิปสฺสิโก), ควรนอมเขามาใสตัว (โอปนยิโก), อัน
วิญูชนจะพึงรูไดเฉพาะตน (ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิฺูหิ).
มู. ม. ๑๒/๔๘๕/๔๕๑.
๓.คําพูดที่พูดมาทั้งหมดนับแตวันตรัสรูนั้น สอดรับไมขัดแยงกัน
ภิกษุทั้งหลาย ! นับตั้งแตราตรี ที่ตถาคตไดตรัสรูอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ
จนกระทั่งถึงราตรีที่ตถาคตปรินิพพานดวยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ, ตลอดเวลาระหวางนั้น
ตถาคตไดกลาวสอน พร่ําสอน แสดงออก ซึ่งถอยคําใด ถอยคําเหลานั้นทั้งหมด
ยอมเขากันไดโดยประการเดียวทั้งสิ้น ไมแยงกันเปนประการอื่นเลย.
อิติวุ. ขุ. ๒๕/๓๒๑/๒๙๓.
๔.ทรงบอกเหตุแหงความอันตรธานของคําสอนเปรียบดวยกลองศึก
ภิกษุทั้งหลาย ! เรื่องนี้เคยมีมาแลว : กลองศึกของกษัตริยพวกทสารหะ เรียกวา
อานกะ มีอยู. เมื่อกลองอานกะนี้ มีแผลแตก หรือลิ, พวกกษัตริยทสารหะไดหาเนื้อไมอื่น
ทําเปนลิ่ม เสริมลงในรอยแตกของกลองนั้น (ทุกคราวไป). ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเชื่อมปะเขา
หลายครั้งหลายคราวเชนนั้นนานเขาก็ถึงสมัยหนึ่ง ซึ่งเนื้อไมเดิมของตัวกลองหมดสิ้นไป
เหลืออยูแตเนื้อไมที่ทําเสริมเขาใหมเทานั้น;
ภิกษุทั้งหลาย ! ฉันใดก็ฉันนั้น : ในกาลยืดยาวฝายอนาคต จักมีภิกษุทั้งหลาย,
สุตตันตะเหลาใด ที่เปนคําของตถาคต เปนขอความลึก มีความหมายซึ้ง เปนชั้นโลกุตตระ
วาเฉพาะดวยเรื่องสุญญตา, เมื่อมีผูนําสุตตันตะเหลานั้นมากลาวอยู; เธอจักไมฟงดวยดี
จักไมเงี่ยหูฟง จักไมตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และจักไมสําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน.
สวนสุตตันตะเหลาใด ที่นักกวีแตงขึ้นใหม เปนคํารอยกรองประเภทกาพยกลอน มีอักษร
สละสลวย มีพยัญชนะอันวิจิตร เปนเรื่องนอกแนว เปนคํากลาวของสาวก, เมื่อมีผูนํา
สุตตันตะที่นักกวีแตงขึ้นใหมเหลานั้นมากลาวอยู; เธอจักฟงดวยดี จักเงี่ยหูฟง จักตั้งจิต
เพื่อจะรูทั่วถึง และจักสําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียนไป.
ภิกษุทั้งหลาย ! ความอันตรธานของสุตตันตะเหลานั้น ที่เปนคําของตถาคต เปน
ขอความลึก มีความหมายซึ้ง เปนชั้นโลกุตตระ วาเฉพาะดวยเรื่องสุญญตา จักมีไดดวย
อาการอยางนี้ แล.
นิทาน. สํ. ๑๖/๓๑๑/๖๗๒-๓.
๕. ทรงกําชับใหศึกษาปฏิบัติเฉพาะจากคําของพระองคเทานั้น อยาฟงคนอื่น
ภิกษุทั้งหลาย ! พวกภิกษุบริษัทในกรณีนี้, สุตตันตะเหลาใด ที่กวีแตงขึ้นใหม
เปนคํารอยกรองประเภทกาพยกลอน มีอักษรสละสลวย มีพยัญชนะอันวิจิตร เปนเรื่อง
นอกแนว เปนคํากลาวของสาวก เมื่อมีผูนําสุตตันตะเหลานั้นมากลาวอยู เธอจักไมฟง
ดวยดี ไมเงี่ยหูฟง ไมตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และจักไมสําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษา
เลาเรียน.
ภิกษุทั้งหลาย ! สวนสุตตันตะเหลาใด ที่เปนคําของตถาคต เปนขอความลึก
มีความหมายซึ้ง เปนชั้นโลกุตตระ วาเฉพาะดวยเรื่องสุญญตา, เมื่อมีผูนําสุตตันตะ
เหลานั้นมากลาวอยู; เธอยอมฟงดวยดี ยอมเงี่ยหูฟง ยอมตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และยอม
สําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน จึงพากันเลาเรียน ไตถาม ทวนถามแกกันและกันอยู
วา “ขอนี้เปนอยางไร มีความหมายกี่นัย” ดังนี้. ดวยการทําดังนี้ เธอยอมเปดธรรม
ที่ถูกปดไวได. ธรรมที่ยังไมปรากฏ เธอก็ทําใหปรากฏได, ความสงสัยในธรรมหลายประการ
ที่นาสงสัย เธอก็บรรเทาลงได.
ทุก. อํ. ๒๐/๙๒/๒๙๒.
ภิกษุทั้งหลาย ! บริษัทชื่อ อุกกาจิตวินีตา ปริสา โน ปฏิปุจฉาวินีตา
เปนอยางไรเลา ?
ภิกษุทั้งหลาย ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุทั้งหลายในบริษัทใด, เมื่อสุตตันตะทั้งหลาย
อันเปนตถาคตภาษิต (ตถาคตภาสิตา) อันลึกซึ้ง (คมฺภีรา) มีอรรถอันลึกซึ้ง (คมฺภีรตฺถา)
เปนโลกุตตระ (โลกุตฺตรา) ประกอบดวยเรื่องสุญญตา (สุฺตปฏิสํยุตฺตา) อันบุคคลนํา

More Related Content

Similar to แผ่นพับ_10_พระสูตร_17.pdf

หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
พุทธศาสนากับน้ำ
พุทธศาสนากับน้ำพุทธศาสนากับน้ำ
พุทธศาสนากับน้ำYota Bhikkhu
 
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v22014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2Taweedham Dhamtawee
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรsolarcell2
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาTongsamut vorasan
 

Similar to แผ่นพับ_10_พระสูตร_17.pdf (20)

หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
พุทธศาสนากับน้ำ
พุทธศาสนากับน้ำพุทธศาสนากับน้ำ
พุทธศาสนากับน้ำ
 
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v22014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
2014-01-22 พุทธศาสนา 3.0 กับ CEO ทางธรรม v2
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชา
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 

More from ThawatchaiArkonkaew (17)

11-bhava.pdf
11-bhava.pdf11-bhava.pdf
11-bhava.pdf
 
10-sathayay.pdf
10-sathayay.pdf10-sathayay.pdf
10-sathayay.pdf
 
20-20201101-3-WNPP.pdf
20-20201101-3-WNPP.pdf20-20201101-3-WNPP.pdf
20-20201101-3-WNPP.pdf
 
19-satta.pdf
19-satta.pdf19-satta.pdf
19-satta.pdf
 
18-sakadagami.pdf
18-sakadagami.pdf18-sakadagami.pdf
18-sakadagami.pdf
 
9-pathama-dhamma.pdf
9-pathama-dhamma.pdf9-pathama-dhamma.pdf
9-pathama-dhamma.pdf
 
18-sakadagami.pdf
18-sakadagami.pdf18-sakadagami.pdf
18-sakadagami.pdf
 
anagami-poster-2020.pdf
anagami-poster-2020.pdfanagami-poster-2020.pdf
anagami-poster-2020.pdf
 
ความเข้าใจเรื่องปฏิจจสมุปบาท.pdf
ความเข้าใจเรื่องปฏิจจสมุปบาท.pdfความเข้าใจเรื่องปฏิจจสมุปบาท.pdf
ความเข้าใจเรื่องปฏิจจสมุปบาท.pdf
 
sheet-paticcasamupada-2019.pdf
sheet-paticcasamupada-2019.pdfsheet-paticcasamupada-2019.pdf
sheet-paticcasamupada-2019.pdf
 
10-sathayay.pdf
10-sathayay.pdf10-sathayay.pdf
10-sathayay.pdf
 
5-kamma.pdf
5-kamma.pdf5-kamma.pdf
5-kamma.pdf
 
1-tam-roi-tham.pdf
1-tam-roi-tham.pdf1-tam-roi-tham.pdf
1-tam-roi-tham.pdf
 
20-20201101-3-WNPP.pdf
20-20201101-3-WNPP.pdf20-20201101-3-WNPP.pdf
20-20201101-3-WNPP.pdf
 
18-sakadagami.pdf
18-sakadagami.pdf18-sakadagami.pdf
18-sakadagami.pdf
 
17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf
 
13-dana.pdf
13-dana.pdf13-dana.pdf
13-dana.pdf
 

แผ่นพับ_10_พระสูตร_17.pdf

  • 1. ติดตามการเผยแผ่พระธรรมคำ�สอนตามหลักพุทธวจน โดยพระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล ได้ที่ www.buddhakos.org | media.watnapahpong.org | www.watnapp.com | คลื่น ส.ว.พ. FM 91.0 MHz ทุกวันพระ เวลา 17.40 น. | ทีวีดาวเทียมระบบ C-Band ช่อง A I Biz Net Tong Hua เวลา 06.00-07.00 น. ๖. ทรงห้ามบัญญัติเพิ่มหรือตัดทอนสิ่งที่บัญญัติไว้ ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุทั้งหลาย จักไม่บัญญัติสิ่งที่ไม่เคยบัญญัติ จักไม่เพิกถอน สิ่งที่บัญญัติไว้แล้ว, จักสมาทานศึกษาในสิกขาบทที่บัญญัติไว้แล้วอย่างเคร่งครัด อยู่เพียงใด, ความเจริญก็เป็นสิ่งที่ภิกษุทั้งหลายหวังได้ ไม่มีความเสื่อมเลย อยู่เพียงนั้น. มหา. ที. ๑๐/๙๐/๗๐. ๗. สำ�นึกเสมอว่าตนเองเป็นเพียงผู้เดินตามพระองค์เท่านั้น ถึงแม้จะเป็นอรหันต์ผู้เลิศทางปัญญาก็ตาม ภิกษุทั้งหลาย ! ตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ ได้ทำ�มรรคที่ยังไม่เกิดให้ เกิดขึ้น ได้ทำ�มรรคที่ยังไม่มีใครรู้ให้มีคนรู้ ได้ทำ�มรรคที่ยังไม่มีใครกล่าวให้เป็นมรรค ที่กล่าวกันแล้ว ตถาคตเป็นผู้รู้มรรค (มคฺคญฺญู) เป็นผู้รู้แจ้งมรรค (มคฺควิทู) เป็น ผู้ฉลาดในมรรค (มคฺคโกวิโท). ภิกษุทั้งหลาย ! ส่วนสาวกทั้งหลายในกาลนี้ เป็น ผู้เดินตามมรรค (มคฺคานุคา) เป็นผู้ตามมาในภายหลัง. ภิกษุทั้งหลาย ! นี้แล เป็นความผิดแผกแตกต่างกัน เป็นความมุ่งหมายที่แตกต่างกัน เป็นเครื่องกระทำ�ให้แตกต่างกัน ระหว่างตถาคตผู้อรหันตสัมมาสัมพุทธะ กับภิกษุ ผู้ปัญญาวิมุตติ. ขนฺธ. สํ. ๑๗/๘๒/๑๒๖. ๘. ตรัสไว้ว่าให้ทรงจำ�บทพยัญชนะและคำ�อธิบายอย่างถูกต้อง พร้อมขยันถ่ายทอดบอกสอนกันต่อไป ภิกษุทั้งหลาย ! พวกภิกษุในธรรมวินัยนี้ เล่าเรียนสูตรอันถือกันมาถูก ด้วยบท พยัญชนะที่ใช้กันถูก ความหมายแห่งบทพยัญชนะที่ใช้กันก็ถูก ย่อมมีนัยอันถูกต้อง เช่นนั้น. ภิกษุทั้งหลาย ! นี่เป็น มูลกรณีที่หนึ่ง ซึ่งทำ�ให้พระสัทธรรมตั้งอยู่ได้ ไม่เลอะเลือนจนเสื่อมสูญไป... ภิกษุทั้งหลาย ! พวกภิกษุเหล่าใด เป็นพหุสูต คล่องแคล่ว ในหลักพระพุทธวจน ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา (แม่บท) พวกภิกษุเหล่านั้น เอาใจใส่ บอกสอน เนื้อความแห่งสูตรทั้งหลายแก่คนอื่นๆ, เมื่อท่านเหล่านั้นล่วงลับไป สูตรทั้งหลาย ก็ไม่ขาดผู้เป็นมูลราก (อาจารย์) มีที่อาศัยสืบกันไป. ภิกษุทั้งหลาย ! นี่เป็น มูลกรณี ที่สาม ซึ่งทำ�ให้พระสัทธรรมตั้งอยู่ได้ไม่เลอะเลือนจนเสื่อมสูญไป... *** ในที่นี้ยกมา ๒ นัยยะ จาก ๔ นัยยะ ของมูลเหตุสี่ประการ ที่ทำ�ให้พระสัทธรรมตั้งอยู่ได้ไม่เลอะเลือนจนเสื่อมสูญไป จตุกฺก. อํ. ๒๑/๑๙๗/๑๖๐. ๙.ทรงบอกวิธีแก้ไขความผิดเพี้ยนในคำ�สอน ๑. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กล่าวอย่างนี้ว่า ผู้มีอายุ ! ข้าพเจ้าได้สดับรับมาเฉพาะ พระพักตร์พระผู้มีพระภาคว่า “นี้เป็นธรรม นี้เป็นวินัย นี้เป็นคำ�สอนของพระศาสดา”... ๒.(หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กล่าวอย่างนี้ว่า ในอาวาสชื่อโน้นมีสงฆ์อยู่พร้อมด้วย พระเถระ พร้อมด้วยปาโมกข์ ข้าพเจ้าได้สดับมาเฉพาะหน้าสงฆ์นั้นว่า “นี้เป็นธรรม นี้เป็นวินัย นี้เป็นคำ�สอนของพระศาสดา”... ๓. (หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กล่าวอย่างนี้ว่า ในอาวาสชื่อโน้นมีภิกษุผู้เป็นเถระอยู่ จำ�นวนมาก เป็นพหุสูต เรียนคัมภีร์ ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา ข้าพเจ้าได้สดับมา เฉพาะหน้าพระเถระเหล่านั้นว่า “นี้เป็นธรรม นี้เป็นวินัย นี้เป็นคำ�สอนของพระศาสดา”... ๔.(หากมี) ภิกษุในธรรมวินัยนี้กล่าวอย่างนี้ว่า ในอาวาสชื่อโน้นมีภิกษุผู้เป็นเถระอยู่ รูปหนึ่ง เป็นพหุสูต เรียนคัมภีร์ ทรงธรรม ทรงวินัย ทรงมาติกา ข้าพเจ้าได้สดับมา เฉพาะหน้าพระเถระรูปนั้นว่า “นี้เป็นธรรม นี้เป็นวินัย นี้เป็นคำ�สอนของพระศาสดา”... เธอทั้งหลายยังไม่พึงชื่นชม ยังไม่พึงคัดค้านคำ�กล่าวของผู้นั้น พึงเรียนบทและ พยัญชนะเหล่านั้นให้ดี แล้วพึงสอบสวนลงในพระสูตร เทียบเคียงดูในวินัย ถ้าบทและพยัญชนะเหล่านั้น สอบลงในสูตรก็ไม่ได้ เทียบเข้าในวินัยก็ไม่ได้ พึงลงสันนิษฐานว่า “นี้มิใช่พระดำ�รัสของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นแน่นอน และ ภิกษุนี้รับมาผิด” เธอทั้งหลาย พึงทิ้งคำ�นั้นเสีย ถ้าบทและพยัญชนะเหล่านั้น สอบลงในสูตรก็ได้ เทียบเข้าในวินัยก็ได้ พึงลง สันนิษฐานว่า “นี้เป็นพระดำ�รัส ของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นแน่นอน และ ภิกษุนั้นรับมาด้วยดี” เธอทั้งหลาย พึงจำ�มหาปเทส... นี้ไว้. มหา. ที. ๑๐/๑๔๔/๑๑๓-๖. ๑๐. ทรงตรัสแก่พระอานนท์ ให้ใช้ธรรมวินัยที่ตรัสไว้เป็นศาสดาแทนต่อไป อานนท์ ! ความคิดอาจมีแก่พวกเธออย่างนี้ว่า ‘ธรรมวินัยของพวกเรามีพระศาสดา ล่วงลับไปเสียแล้ว พวกเราไม่มีพระศาสดา’ ดังนี้. อานนท์ ! พวกเธออย่าคิดอย่างนั้น. อานนท์ ! ธรรมก็ดี วินัยก็ดี ที่เราแสดงแล้ว บัญญัติแล้ว แก่พวกเธอทั้งหลาย ธรรมวินัยนั้น จักเป็นศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย โดยกาลล่วงไปแห่งเรา. อานนท์ ! ในกาลบัดนี้ก็ดี ในกาลล่วงไปแห่งเราก็ดี ใครก็ตาม จักต้องมีตนเป็น ประทีป มีตนเป็นสรณะ ไม่เอาสิ่งอื่นเป็นสรณะ; มีธรรมเป็นประทีป มีธรรมเป็นสรณะ ไม่ เอาสิ่งอื่นเป็นสรณะ เป็นอยู่. อานนท์ ! ภิกษุพวกใด เป็นผู้ใคร่ในสิกขา, ภิกษุพวก นั้น จักเป็นผู้อยู่ในสถานะอันเลิศที่สุดแล. อานนท์ ! ความขาดสูญแห่งกัลยาณวัตรนี้ มีในยุคแห่งบุรุษใด บุรุษนั้นชื่อว่า เป็นบุรุษคนสุดท้ายแห่งบุรุษทั้งหลาย.... เราขอกล่าวย้ำ�กะเธอว่า... เธอทั้งหลายอย่า เป็นบุรุษพวกสุดท้ายของเราเลย. มหา. ที. ๑๐/๑๗๘/๑๔๑. มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๑๗/๗๔๐. ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓. รักษาศาสนาพุทธ ด้วยการช่วยกัน ศึกษา ปฏิบัติ และ เผยแผ่แต่คำ�สอนของ พระพุทธเจ้า
  • 2. คํานํา ผานมา ๒,๕๐๐ กวาป คําสอนทางพระพุทธศาสนาเกิดความหลากหลายมากขึ้น มีสํานักตางๆ มากมาย ซึ่งแตละหมูคณะก็มีความเห็นของตน หามาตรฐานไมได แมจะกลาวในเรื่องเดียวกัน ทั้งนี้ไมใชเพราะคําสอนของพระพุทธเจาไมสมบูรณ แลวเราควรเชื่อและปฏิบัติตามใคร ? ลองพิจารณาหาคําตอบงายๆ ไดจาก ๑๐ พระสูตร ซึ่งพระตถาคตทรงเตือนเอาไว แลวตรัสบอกวิธีปองกันและแกไขเหตุเสื่อมแหงธรรมเหลานี้. ขอเชิญมาตอบตัวเองกันเถอะวา ถึงเวลาแลวหรือยัง ? ที่พุทธบริษัทจะมีมาตรฐานเพียงหนึ่งเดียว คือ “พุทธวจน” ธรรมวินัย จากองคพระสังฆบิดา อันวิญูชนพึงปฏิบัติและรูตามไดเฉพาะตน ดังนี้. ๑๐ พระสูตรของความสําคัญที่ชาวพุทธตองศึกษา แตคําสอนจากพระพุทธเจาเทานั้น มากลาวอยู; ก็ไมฟงดวยดี ไมเงี่ยหูฟง ไมเขาไปตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และไมสําคัญวา เปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน. สวนสุตตันตะเหลาใด ที่กวีแตงขึ้นใหม เปนคํารอยกรองประเภทกาพยกลอน มีอักษรสละสลวย มีพยัญชนะอันวิจิตร เปนเรื่องนอกแนว เปนคํากลาวของสาวก, เมื่อมีผูนําสุตตันตะเหลานี้มากลาวอยู; พวกเธอยอมฟงดวยดี เงี่ยหูฟง ตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และสําคัญไปวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน. พวกเธอเลาเรียนธรรมอันกวีแตงใหมนั้นแลว ก็ไมสอบถามซึ่งกันและกัน ไมทําใหเปดเผยแจมแจงออกมาวา ขอนี้พยัญชนะเปนอยางไร อรรถเปนอยางไร ดังนี้. เธอเหลานั้น เปดเผยสิ่งที่ยังไมเปดเผยไมได ไมหงายของที่คว่ําอยู ใหหงายขึ้นได ไมบรรเทาความสงสัยในธรรมทั้งหลายอันเปนที่ตั้งแหงความสงสัยมีอยาง ตางๆ ได. ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เราเรียกวา อุกกาจิตวินีตา ปริสา โน ปฏิปุจฉาวินีตา. ภิกษุทั้งหลาย ! บริษัทชื่อ ปฏิปุจฉาวินีตา ปริสา โน อุกกาจิตวินีตา เปนอยางไรเลา ? ภิกษุทั้งหลาย ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุทั้งหลายในบริษัทใด, เมื่อสุตตันตะทั้งหลาย ที่กวีแตงขึ้นใหม เปนคํารอยกรองประเภทกาพยกลอน มีอักษรสละสลวย มีพยัญชนะอัน วิจิตร เปนเรื่องนอกแนว เปนคํากลาวของสาวก อันบุคคลนํามากลาวอยู; ก็ไมฟงดวยดี ไมเงี่ยหูฟง ไมเขาไปตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และไมสําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน. สวน สุตตันตะเหลาใด อันเปนตถาคตภาษิต อันลึกซึ้ง มีอรรถอันลึกซึ้ง เปน โลกุตตระ ประกอบดวยเรื่องสุญญตา, เมื่อมีผูนําสุตตันตะเหลานี้มากลาวอยู พวกเธอยอมฟงดวยดี ยอมเงี่ยหูฟง ยอมเขาไปตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และยอม สําคัญวาเปนสิ่งที่ควรศึกษาเลาเรียน. พวกเธอเลาเรียนธรรมที่เปนตถาคตภาษิตนั้นแลว ก็สอบถามซึ่งกันและกัน ทําใหเปดเผยแจมแจงออกมาวา ขอนี้พยัญชนะเปนอยางไร อรรถะเปนอยางไร ดังนี้. เธอเหลานั้น เปดเผยสิ่งที่ยังไมเปดเผยได หงายของที่คว่ําอยู ใหหงายขึ้นได บรรเทาความสงสัยในธรรมทั้งหลายอันเปนที่ตั้งแหงความสงสัยมีอยาง ตางๆ ได. ภิกษุทั้งหลาย ! นี้เราเรียกวา ปฏิปุจฉาวินีตา ปริสา โน อุกกาจิตวินีตา. ภิกษุทั้งหลาย ! เหลานี้แลบริษัท ๒ จําพวกนั้น. ภิกษุทั้งหลาย ! บริษัทที่เลิศ ในบรรดาบริษัททั้งสองพวกนั้น คือ บริษัทปฏิปุจฉาวินีตา ปริสา โน อุกกาจิตวินีตา (บริษัทที่อาศัยการสอบสวนทบทวนกันเอาเองเปนเครื่องนําไป : ไมอาศัยความเชื่อจากบุคคลภายนอก เปนเครื่องนําไป) แล. ทุก. อํ. ๒๐/๙๑/๒๙๒. ๑. พระองคทรงสามารถกําหนดสมาธิ เมื่อจะพูด ทุกถอยคําจึงไมผิดพลาด อัคคิเวสนะ ! เรานั้นหรือ, จําเดิมแตเริ่มแสดง กระทั่งคําสุดทายแหงการกลาว เรื่องนั้นๆ ยอมตั้งไวซึ่งจิตในสมาธินิมิตอันเปนภายในโดยแท ใหจิตดํารงอยู ใหจิตตั้งมั่นอยู กระทําใหมีจิตเปนเอก ดังเชนที่คนทั้งหลายเคยไดยินวาเรากระทํา อยูเปนประจํา ดังนี้. มู. ม. ๑๒/๔๕๘/๔๓๐. ๒. แตละคําพูดเปนอกาลิโก คือ ถูกตองตรงจริงไมจํากัดกาลเวลา ภิกษุทั้งหลาย ! พวกเธอทั้งหลายเปนผูที่เรานําไปแลวดวยธรรมนี้ อันเปนธรรมที่ บุคคลจะพึงเห็นไดดวยตนเอง (สนฺทิฏิโก), เปนธรรมใหผลไมจํากัดกาล (อกาลิโก), เปนธรรมที่ควรเรียกกันมาดู (เอหิปสฺสิโก), ควรนอมเขามาใสตัว (โอปนยิโก), อัน วิญูชนจะพึงรูไดเฉพาะตน (ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิฺูหิ). มู. ม. ๑๒/๔๘๕/๔๕๑. ๓.คําพูดที่พูดมาทั้งหมดนับแตวันตรัสรูนั้น สอดรับไมขัดแยงกัน ภิกษุทั้งหลาย ! นับตั้งแตราตรี ที่ตถาคตไดตรัสรูอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ จนกระทั่งถึงราตรีที่ตถาคตปรินิพพานดวยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ, ตลอดเวลาระหวางนั้น ตถาคตไดกลาวสอน พร่ําสอน แสดงออก ซึ่งถอยคําใด ถอยคําเหลานั้นทั้งหมด ยอมเขากันไดโดยประการเดียวทั้งสิ้น ไมแยงกันเปนประการอื่นเลย. อิติวุ. ขุ. ๒๕/๓๒๑/๒๙๓. ๔.ทรงบอกเหตุแหงความอันตรธานของคําสอนเปรียบดวยกลองศึก ภิกษุทั้งหลาย ! เรื่องนี้เคยมีมาแลว : กลองศึกของกษัตริยพวกทสารหะ เรียกวา อานกะ มีอยู. เมื่อกลองอานกะนี้ มีแผลแตก หรือลิ, พวกกษัตริยทสารหะไดหาเนื้อไมอื่น ทําเปนลิ่ม เสริมลงในรอยแตกของกลองนั้น (ทุกคราวไป). ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเชื่อมปะเขา หลายครั้งหลายคราวเชนนั้นนานเขาก็ถึงสมัยหนึ่ง ซึ่งเนื้อไมเดิมของตัวกลองหมดสิ้นไป เหลืออยูแตเนื้อไมที่ทําเสริมเขาใหมเทานั้น; ภิกษุทั้งหลาย ! ฉันใดก็ฉันนั้น : ในกาลยืดยาวฝายอนาคต จักมีภิกษุทั้งหลาย, สุตตันตะเหลาใด ที่เปนคําของตถาคต เปนขอความลึก มีความหมายซึ้ง เปนชั้นโลกุตตระ วาเฉพาะดวยเรื่องสุญญตา, เมื่อมีผูนําสุตตันตะเหลานั้นมากลาวอยู; เธอจักไมฟงดวยดี จักไมเงี่ยหูฟง จักไมตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และจักไมสําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน. สวนสุตตันตะเหลาใด ที่นักกวีแตงขึ้นใหม เปนคํารอยกรองประเภทกาพยกลอน มีอักษร สละสลวย มีพยัญชนะอันวิจิตร เปนเรื่องนอกแนว เปนคํากลาวของสาวก, เมื่อมีผูนํา สุตตันตะที่นักกวีแตงขึ้นใหมเหลานั้นมากลาวอยู; เธอจักฟงดวยดี จักเงี่ยหูฟง จักตั้งจิต เพื่อจะรูทั่วถึง และจักสําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียนไป. ภิกษุทั้งหลาย ! ความอันตรธานของสุตตันตะเหลานั้น ที่เปนคําของตถาคต เปน ขอความลึก มีความหมายซึ้ง เปนชั้นโลกุตตระ วาเฉพาะดวยเรื่องสุญญตา จักมีไดดวย อาการอยางนี้ แล. นิทาน. สํ. ๑๖/๓๑๑/๖๗๒-๓. ๕. ทรงกําชับใหศึกษาปฏิบัติเฉพาะจากคําของพระองคเทานั้น อยาฟงคนอื่น ภิกษุทั้งหลาย ! พวกภิกษุบริษัทในกรณีนี้, สุตตันตะเหลาใด ที่กวีแตงขึ้นใหม เปนคํารอยกรองประเภทกาพยกลอน มีอักษรสละสลวย มีพยัญชนะอันวิจิตร เปนเรื่อง นอกแนว เปนคํากลาวของสาวก เมื่อมีผูนําสุตตันตะเหลานั้นมากลาวอยู เธอจักไมฟง ดวยดี ไมเงี่ยหูฟง ไมตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และจักไมสําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษา เลาเรียน. ภิกษุทั้งหลาย ! สวนสุตตันตะเหลาใด ที่เปนคําของตถาคต เปนขอความลึก มีความหมายซึ้ง เปนชั้นโลกุตตระ วาเฉพาะดวยเรื่องสุญญตา, เมื่อมีผูนําสุตตันตะ เหลานั้นมากลาวอยู; เธอยอมฟงดวยดี ยอมเงี่ยหูฟง ยอมตั้งจิตเพื่อจะรูทั่วถึง และยอม สําคัญวาเปนสิ่งที่ตนควรศึกษาเลาเรียน จึงพากันเลาเรียน ไตถาม ทวนถามแกกันและกันอยู วา “ขอนี้เปนอยางไร มีความหมายกี่นัย” ดังนี้. ดวยการทําดังนี้ เธอยอมเปดธรรม ที่ถูกปดไวได. ธรรมที่ยังไมปรากฏ เธอก็ทําใหปรากฏได, ความสงสัยในธรรมหลายประการ ที่นาสงสัย เธอก็บรรเทาลงได. ทุก. อํ. ๒๐/๙๒/๒๙๒. ภิกษุทั้งหลาย ! บริษัทชื่อ อุกกาจิตวินีตา ปริสา โน ปฏิปุจฉาวินีตา เปนอยางไรเลา ? ภิกษุทั้งหลาย ! ในกรณีนี้คือ ภิกษุทั้งหลายในบริษัทใด, เมื่อสุตตันตะทั้งหลาย อันเปนตถาคตภาษิต (ตถาคตภาสิตา) อันลึกซึ้ง (คมฺภีรา) มีอรรถอันลึกซึ้ง (คมฺภีรตฺถา) เปนโลกุตตระ (โลกุตฺตรา) ประกอบดวยเรื่องสุญญตา (สุฺตปฏิสํยุตฺตา) อันบุคคลนํา