SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
โครงการประกวดคัดเลือกผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรียน
ประจําป 2558
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดสงเสริมการจัดการศึกษาตามแนวทาง
สะเต็มศึกษา (STEM Education) ที่บูรณาการความรูวิทยาศาสตร (Science) เทคโนโลยี (Technology)
กระบวนการวิศวกรรมศาสตร (Engineering) และคณิตศาสตร (Mathematics) โดยเนนการนําความรูไปใชใน
การแกปญหาในชีวิตจริง เพื่อสงเสริมประสบการณ ทักษะชีวิต ความคิดวิเคราะหและความคิดสรางสรรคเพื่อ
นําไปสูการสรางนวัตกรรม รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหมๆ ที่เปนประโยชนตอการดําเนินชีวิต
ในการนี้ สสวท. จึงไดจัดทําโครงการประกวดคัดเลือกผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ตามแนวทางสะเต็ม
ศึกษาระดับโรงเรียน ประจําป 2558 ขึ้น เพื่อสงเสริมการเรียนรูและเขาใจความสัมพันธของสิ่งแวดลอมที่เปน
องคประกอบของโลก (ดิน น้ํา บรรยากาศ และสิ่งปกคลุมดิน/สิ่งมีชีวิต) ในลักษณะของวิทยาศาสตรโลก
ทั้งระบบของนักเรียนผานการศึกษาคนควาวิจัยที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง เกี่ยวกับปญหาและวิธีการแกปญหา
สิ่งแวดลอมในทองถิ่นของตนอยางเปนระบบ และเปนมาตรฐานทางวิทยาศาสตร รวมกับครู นักวิทยาศาสตร
และชุมชน เพื่อนําไปสูการสรางความยั่งยืนในการรักษาสิ่งแวดลอมรวมกัน ในระดับทองถิ่น ระดับภูมิภาค และ
ระดับโลก
1. ลักษณะของผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม
1.1 ผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมที่สามารถสงเขาประกวด จะตองเปนผลงานวิจัยวิทยาศาสตร
สิ่งแวดลอมที่บูรณาการความรูวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม หรือ วิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth
System Science) รวมกับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร โดยเนนการนําความรูไปใช
ในการแกปญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการ หรือ แนวทาง หรือ นวัตกรรมที่เปน
ประโยชนตอการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ หรือแกปญหาสิ่งแวดลอมอยางเปนระบบ
1.2 ผลงานวิจัยอาจจะเปนการสํารวจและการแกปญหาสิ่งแวดลอมอยางเปนระบบที่เกิดขึ้นในทองถิ่น
สิ่งประดิษฐ หรือนวัตกรรม ซึ่งงานวิจัยดังกลาวจะตองมีการตรวจวัดและเก็บขอมูลทางดาน
สิ่งแวดลอมดวย
1.3 ผลงานวิจัยที่มีการใชหลักวิธีดําเนินการตรวจวัดของโครงการ GLOBE (GLOBE Protocol) และมีการ
สงขอมูล (GLOBE Data Entry) เขาเว็บไซตโครงการ GLOBE ที่ www.globe.gov จะไดรับคะแนน
พิเศษในการพิจารณา
1.4 เปนงานวิจัยที่เสร็จสมบูรณแลว และจะตองเปนงานวิจัยที่ยังไมเคยไดนําเสนอหรือสงเขารวมการ
ประกวดงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ในการประชุมวิชาการประจําป ของ สสวท. หรือเคยไดรับ
รางวัลในการประกวดผลงานวิจัยในเวทีอื่นๆ นอกเหนือจากเวทีของ สสวท.
หมายเหตุ งานวิจัยนี้เปนผลงานรวมกันของผูวิจัยกับ สสวท. การจะเผยแพรตองไดรับการยินยอมจาก
ทั้งสองฝายรวมกัน
2
2. รายละเอียดของผูเขารวมการประกวดคัดเลือกผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม
2.1 คุณสมบัติของผูเขารวมการประกวด
คณะผูวิจัยซึ่งเปนนักเรียน และครูที่ปรึกษาของโรงเรียนทั่วประเทศที่มีผลงานวิจัยวิทยาศาสตร
สิ่งแวดลอมที่บูรณาการความรูวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม หรือ วิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ รวมกับระบบ
สะเต็มศึกษา
2.2 จํานวนสมาชิกของคณะผูวิจัย
คณะผูวิจัย รวม 3 - 4 คน ประกอบดวยนักเรียนจํานวน 2 - 3 คน ซึ่งกําลังศึกษาอยูในระดับชั้น
ประถมศึกษาปที่ 4 – มัธยมศึกษาปที่ 6 และครูที่ปรึกษางานวิจัยจํานวน 1 คน
2.3 จํานวนผลงานวิจัยที่สงประกวด
โรงเรียนสามารถสงงานวิจัยเขารวมการคัดเลือกไดระดับชั้นละ 1 งานวิจัย โดยแบงเปน 3 ระดับดังนี้
ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
3. วิธีการสงผลงานวิจัย
3.1 วิธีการสงผลงานวิจัย
รายละเอียดของผลงานวิจัยที่จะตองสงใหคณะกรรมการพิจารณาประกอบดวย
1) ใบสมัคร
2) รายงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม (แบบสรุป) จํานวน 8 ชุด พรอมไฟล (ตามรูปแบบการ
เขียนรายงานวิจัย หนา 5)
3) ไฟลรายงานวิจัย เปน CD หรือ DVD จํานวน 1 แผน
4) หนังสือนําสงจากโรงเรียน จํานวน 1 ฉบับ
5) รายงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ฉบับเต็ม ความยาวไมเกิน 50 หนา จํานวน 1 ชุด พรอม
ไฟล (สําหรับโรงเรียนที่ผานการคัดเลือกรอบแรก ซึ่งตองนําสงรายงานในการประชุมนําเสนอ
ผลงานวิจัยฯ รอบตัดสิน)
เอกสารทั้งหมด สงมาที่
สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (โครงการ GLOBE)
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)
924 ถนนสุขุมวิท คลองเตย กรุงเทพ 10110
(โครงการประกวดคัดเลือกผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมระดับโรงเรียน ประจําป 2558)
3.2 กําหนดการสงผลงานวิจัย
โรงเรียนสามารถสงผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมมายัง สสวท. ภายในวันที่ 6 กุมภาพันธ
พ.ศ. 2558 หากเกินกําหนดจะไมไดรับการพิจารณาไมวากรณีใด
3
4. การประกาศผลการคัดเลือกงานวิจัย
การประกาศผลการคัดเลือกผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม รอบแรก ภายในวันที่ 27 กุมภาพันธ
พ.ศ. 2558 ผานทางเว็บไซต http://globethailand.ipst.ac.th และ สสวท. จะแจงผลไปยังโรงเรียน (เฉพาะ
โรงเรียนที่ไดรับคัดเลือก) เพื่อโรงเรียนจะไดเตรียมเขารวมการประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตร
สิ่งแวดลอม ระดับโรงเรียน ประจําป 2558 โดยจะจัดในวันที่ 13 – 14 มีนาคม พ.ศ. 2558 ในรูปแบบการ
นําเสนอดวยปากเปลาและแบบโปสเตอร สวนโรงเรียนที่ไมผานการคัดเลือกรอบแรก สามารถเขารวมการ
นําเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอรได
5. การสนับสนุนผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมที่ผานการคัดเลือก
5.1 โรงเรียนที่ผานการคัดเลือกในรอบแรก คณะผูวิจัยจะไดรับการสนับสนุนคาที่พัก และคาอาหาร
ระหวางการประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรียน ประจําป 2558 ซึ่งจะ
จัดในวันที่ 13 – 14 มีนาคม พ.ศ. 2558 ตามที่ สสวท. ดําเนินการจัดหาให (โดยเบิกจายตามระเบียบ
ของกระทรวงการคลังเทานั้น)
สวนโรงเรียนที่ไมผานการคัดเลือกรอบแรกและมีความประสงคเขารวมนําเสนอผลงานวิจัยแบบ
โปสเตอร สสวท. จะรับผิดชอบคาอาหารของคณะผูวิจัยในระหวางการประชุมฯ สําหรับคาใชจายอื่นๆ
ขอใหเบิกจากทางตนสังกัด
5.2 เงินรางวัลสําหรับผลงานวิจัยที่ไดรับคัดเลือกรวมเปนจํานวนกวา 100,000 บาท พรอมโลและ
เกียรติบัตรสําหรับโรงเรียนที่ไดรับรางวัล และเกียรติบัตรสําหรับคณะผูวิจัยที่เขารวมการประชุม
นําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรียน ประจําป 2558 โดยแยกพิจารณา
ผลงานวิจัยระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา
5.3 รายงานวิจัยที่ผานการคัดเลือกและไดมีการแกไขความถูกตองใหสมบูรณแลว จะถูกรวบรวมและ
เผยแพรในเอกสารสรุปผลงานโครงการ GLOBE ประจําป และเว็บไซตของ สสวท.
5.4 ผลงานวิจัยที่ผานการคัดเลือกรอบแรก สามารถสมัครเขารวมการประชุมนําเสนอผลงานวิจัยของ
นักเรียนระดับภูมิภาคเอเซียแปซิฟค ในโครงการ GLOBE ซึ่งจะจัดในวันที่ 22 – 26 เมษายน 2558
ณ ประเทศไตหวัน และประเทศอื่นๆ ตามโอกาส โดยโรงเรียนตองแจงความจํานงที่ สสวท. และ
โรงเรียนจะตองรับผิดชอบคาใชจายในการเขารวมประชุมของครูและนักเรียนเอง
6. เกณฑการคัดเลือกผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม
การตัดสินคัดเลือกผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมในรอบแรก จะพิจารณาจากความถูกตองของ
รายงานวิจัย และผลงานวิจัยที่มีการสงขอมูล (GLOBE Data Entry) เขาเว็บไซตโครงการ GLOBE ที่
www.globe.gov จะไดรับคะแนนพิเศษในการพิจารณา
สําหรับการเขียนรายงานวิจัยใหใชหลักเกณฑการเขียนตามแนวทางของเอกสาร “รูปแบบการเขียน
รายงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม” (หนา 5) และเกณฑการตัดสินผลงานวิจัยวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ
4
รายละเอียดของเกณฑสําคัญที่ใชในการตัดสินผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม
6.1 เกณฑการตัดสินรายงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ประกอบดวยหัวขอหลัก 10 ขอ ดังนี้
1) คุณภาพของคําถามวิจัย
2) คุณภาพของการระบุที่มาและความสําคัญของปญหา (คําถามวิจัย)
3) คุณภาพของการระบุขอบเขตของการวิจัย
4) คุณภาพของการวางแผนการวิจัย และวิธีดําเนินการวิจัย
5) คุณภาพของการจัดกระทํากับขอมูล (Organizing Data) ที่เอื้อตอการแปลผล และอภิปราย
ผลการวิจัย (Interpretation and Discussion)
6) คุณภาพของการวิเคราะห อธิบาย อภิปรายผล และสรุปผล
7) คุณภาพในการสืบคนขอมูลและการอางอิงเอกสาร
8) คุณภาพในการเขียนรายงาน และการนําเสนอรายงานวิจัย
9) ความเปนประโยชนของงานวิจัยตอชุมชนในทองถิ่น
10) มีการใชหลักวิธีดําเนินการตรวจวัดสิ่งแวดลอมของโครงการ GLOBE (GLOBE Protocol) ในการ
ทํางานวิจัย และมีการสงขอมูล (GLOBE Data Entry) ในเว็บไซตโครงการ GLOBE ที่
www.globe.gov
6.2 เกณฑการตัดสินการนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมของนักเรียน ประกอบดวยหัวขอหลัก
4 ขอ ดังนี้
1) เนื้อหามีความถูกตอง ครอบคลุม และเปนลําดับ
2) การนําเสนอมีความนาสนใจ การใชภาษาถูกตอง ชัดเจน บุคลิกภาพของผูนําเสนอ
3) สื่อที่ใชในการนําเสนอมีความนาสนใจ ถูกตอง การใชรูปภาพและกราฟมีความเหมาะสม และ
ถูกตองทางวิชาการ
4) เวลาที่ใชในการนําเสนอ
การตัดสินของคณะกรรมการถือวาเปนขอยุติ ซึ่งโรงเรียนที่ไดรับคัดเลือกจะตองแกไขราย
งานวิจัยฯ ตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการ จึงจะมีสิทธิในการเขารวมการประชุม
วิชาการ การนําเสนอผลงานวิจัยฯ และการประกวดฯ ดังกลาว
5
รูปแบบการเขียนรายงานวิจัย
1. การพิมพรายงานวิจัย ใหพิมพดวยตัวอักษร Angsana New ขนาด 16 point โดยตั้งกั้นหนากระดาษ
ดานซาย 3.17 เซนติเมตร ดานขวา 2.54 เซนติเมตร ขอบบน 2.54 เซนติเมตร และขอบลาง 2 เซนติเมตร
ใชขนาดของกระดาษเปน A4
2. รายงานวิจัย (แบบสรุป) ประกอบดวยหัวขอในสวนตางๆ ทั้ง 10 สวน โดยเขียนเปนความเรียงโดยมีความ
ยาวของเนื้อหารายงานวิจัยฯ ในสวนที่ 1 - 10 ประมาณ 8 - 11 หนา และไมตองใสหนาปกรายงาน
สวนที่ 1 บทคัดยองานวิจัย ประกอบดวย
- ชื่อหัวของานวิจัย
- คณะผูวิจัย
- ระดับชั้น
- นักวิทยาศาสตรที่ปรึกษา
- บทคัดยอ
- คําสําคัญ (Key Word)
สวนที่ 2 บทนํา
สวนที่ 3 คําถามวิจัย
สวนที่ 4 สมมติฐานงานวิจัย
สวนที่ 5 วัสดุอุปกรณและวิธีดําเนินการวิจัย
สวนที่ 6 ผลการวิจัย
สวนที่ 7 การสรุปและอภิปรายผลการวิจัย
สวนที่ 8 กิตติกรรมประกาศ
สวนที่ 9 เอกสารอางอิง
สวนที่ 10 แบบสรุปที่เชื่อมโยงรายงานวิจัยกับการบูรณาการระบบสะเต็มศึกษา
คณะกรรมการขอสงวนสิทธิ์ในการไมพิจารณารายงานวิจัยหากรูปแบบของรายงานไมตรง
ตามที่คณะกรรมการกําหนด
6
รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม
ชื่องานวิจัย :
คณะผูวิจัย : ชื่อนักเรียนที่ทําวิจัย (เขียนเรียงตอกันไปจนครบ)
ระดับชั้น :
อาจารยที่ปรึกษา :
โรงเรียน : ชื่อโรงเรียน อําเภอ จังหวัด
นักวิทยาศาสตรที่ปรึกษา :
บทคัดยอ (ไมเกิน 250 คํา)
เขียนในลักษณะการบรรยายระบุที่มาและความสําคัญของปญหา วัตถุประสงคของการวิจัย ขอบเขตการวิจัย วิธีดําเนินการ
วิจัยและผลการวิจัยโดยยอ
คําสําคัญ (3 – 6 คํา)
บทนํา
(ยอหนาที่ 1) ทบทวนเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของกับหัวขอวิจัย ที่มาและความสําคัญของปญหา
คําถามวิจัย และสมมติฐานการวิจัยอยางแทจริงโดยยอ
(ยอหนาที่ 2) วัตถุประสงคของการวิจัย
คําถามวิจัย
ระบุคําถามวิจัยอยางชัดเจน เปนขอๆ
สมมติฐานงานวิจัย
ระบุสมมติฐานการวิจัยอยางชัดเจนเปนขอๆ
วัสดุอุปกรณและวิธีดําเนินการวิจัย
• ระบุวิธีการในการกําหนดจุดศึกษา
• ระบุวิธีดําเนินการตรวจวัด ปจจัยแตละปจจัยที่ตองการศึกษาโดยระบุหลักวิธีดําเนินการที่เปนมาตรฐาน และอุปกรณ
มาตรฐานที่ใชตรวจวัดทีละปจจัย (โดยอางอิงที่มาของมาตรฐาน) อยางชัดเจน โดยสรุป
• ระบุวิธีการที่ใชในการวิเคราะหผลความสัมพันธของขอมูล ทุกความสัมพันธ
ผลการวิจัย
แสดงผลการวิจัยในรูปแบบตางๆ เชน ตาราง และกราฟ ฯลฯ โดยระบุเลขที่ ชื่อ และคําอธิบายประกอบใหชัดเจน ไมตองใส
ขอมูลดิบในการรายงานผลการวิจัย
การสรุปและอภิปรายผลการวิจัย
เปนการอภิปรายผลการวิจัยโดยสรุปวาเปนไปตามสมมติฐานของการวิจัยอยางไร ถาจะนําผลการวิจัยไปใชในที่อื่นใหกวางขวาง
ออกไป จะมีความเปนไปไดเพียงใด จะตองมีการปรับปรุงอะไรบาง มีขอเสนอแนะสิ่งที่ควรจะเพิ่มเติมในการวิจัยใหถูกตองและ
สมบูรณขึ้น ตลอดจนการอภิปรายเปรียบเทียบกับงานอื่นๆ ในทํานองเดียวกันนี้
กิตติกรรมประกาศ
การประกาศกิตติคุณของผูที่ใหความชวยเหลือในการทําวิจัย รวมทั้งบุคคลทั่วไป สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย บริษัทตางๆ ที่
ใหการสนับสนุนการดําเนินการวิจัย
เอกสารอางอิง
แสดงรายการหนังสือ บทความวารสาร เว็บไซต และการสื่อสารอื่นๆ ที่ใชในการศึกษาวิจัย หรือที่ใชอางอิงในการทําวิจัย เรียง
ตามลําดับตัวอักษร โดยใชตัวอยางรูปแบบการอางอิงเอกสารที่เปนมาตรฐานสากล เปนหลัก
ที่มา http://www.globe.gov/fsl/investigations/si-investig.html
7
สวนที่ 10 แบบสรุปที่เชื่อมโยงรายงานวิจัยกับการบูรณาการระบบสะเต็มศึกษา
ใหเขียนเชื่อมโยงความรูและทักษะที่เรียนรูจาก วิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และ
คณิตศาสตร ในผลงานวิจัยที่ไดดําเนินการ
ชื่องานวิจัย
วิทยาศาสตร
(Science)
เทคโนโลยี
(Technology)
วิศวกรรมศาสตร
(Engineering)
คณิตศาสตร
(Mathematics)
8
ใบสมัครเขารวมโครงการประกวดคัดเลือกผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรียน
ประจําป 2558
XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX
โปรดเขียนตัวบรรจง และกรอกขอมูลตางๆ ใหสมบูรณ (เพื่อสะดวกในการติดตอกลับ)
1 ชื่อ-นามสกุล ของนักเรียนที่นําเสนอผลงานวิจัยฯ (จํานวน 2 - 3 คน)
1.1 ชื่อ-นามสกุล………………………………..….......………..………………………………………………ระดับชั้น.....................…
โทรศัพทมือถือ* ................................................................. Email* ……..…….………………………………………
1.2 ชื่อ-นามสกุล…………….………….…………………………………………………………………………ระดับชั้น.....................…
โทรศัพทมือถือ* ................................................................. Email* …….…….………….……………………………
1.3 ชื่อ-นามสกุล…………….………….…………………………………………………………………………ระดับชั้น.....................…
โทรศัพทมือถือ* ................................................................. Email* …….…….………….……………………………
2 ชื่อ-นามสกุล ของอาจารยที่ปรึกษา (จํานวน 1 คน)
ชื่อ-นามสกุล ………………………………………………....….……….………..………….……………….………….…………………..……
ตําแหนง .................................................................................... สังกัด ……………….….………….……..…………………
โทรศัพทมือถือ* ......................................................................... Email* ……..…….………………………………………
3 ชื่อหัวเรื่องงานวิจัย
………………………………………………………………………………………………………………………..………………….………………..
……………..…...……………………………………………………………………………….………………………………………………………..
4 ขอมูลโรงเรียน
ชื่อโรงเรียน ................................……….…………………………………………………………………………………………………..….
ที่อยูของโรงเรียน .......................................................................…………………………………………………………………….
โทรศัพท* ………...……………………………..……………………………โทรสาร*………………….……….….………….……………….
ประเภทโรงเรียน ( ) โรงเรียนประถมศึกษา ( ) โรงเรียนขยายโอกาส ( ) โรงเรียนมัธยมศึกษา
จํานวนนักเรียนตอโรงเรียน ( ) ต่ํากวา 500 คน ( ) 500 – 1,500 คน ( ) สูงกวา 1,500 คน
หมายเหตุ โปรดสงใบสมัครกลับมายังสาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (โครงการ GLOBE) สสวท.
ภายในวันที่ 6 กุมภาพันธ 2558 หากทานมีขอสงสัย โปรดติดตอสาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (โครงการ GLOBE)
สสวท. ที่หมายเลข 0-2392-4021 ตอ 1124 (ยุพาพร), 1128 (ศิริพร) หรือ e-mail : globeproject@ipst.ac.th
ลงชื่อ ……………………………………………….…………………….
(…………………………………………….………………………)
ผูอํานวยการโรงเรียน / รองผูอํานวยการฝายวิชาการ
โรงเรียน …………………………………………………………

More Related Content

Similar to 2558

NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
jeabjeabloei
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
Lao-puphan Pipatsak
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครู
Sarawut Rajchakit
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัยใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
Kobwit Piriyawat
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
krupornpana55
 

Similar to 2558 (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
 
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
สรุปผลงานโรงเรียนบ้านดู่ (สหราษฎร์วิทยา) ปีการศึกษา 2554
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
 
Utq 001
Utq 001Utq 001
Utq 001
 
classroom research submit
classroom research submitclassroom research submit
classroom research submit
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครู
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
 
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาลภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
ภารกิจกระทรวงศึกษาธิการที่เป็นอยู่และจะเป็นไปเพื่อสนองนโยบายรัฐบาล
 
NUI-RC_th
NUI-RC_thNUI-RC_th
NUI-RC_th
 
Ast.c2560.5t
Ast.c2560.5tAst.c2560.5t
Ast.c2560.5t
 
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
 
ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)
ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)
ME-EGMU 2015 Annual Report and 2016 PA (Performance Agreement)
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
Wanchai
WanchaiWanchai
Wanchai
 
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัยใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
ใบแจ้งขออนุญาตโรงเรียนไปครุวิจัย
 
The Art of Strategy
The Art of StrategyThe Art of Strategy
The Art of Strategy
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
Book Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 FullBook Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 Full
 

2558

  • 1. 1 โครงการประกวดคัดเลือกผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรียน ประจําป 2558 สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดสงเสริมการจัดการศึกษาตามแนวทาง สะเต็มศึกษา (STEM Education) ที่บูรณาการความรูวิทยาศาสตร (Science) เทคโนโลยี (Technology) กระบวนการวิศวกรรมศาสตร (Engineering) และคณิตศาสตร (Mathematics) โดยเนนการนําความรูไปใชใน การแกปญหาในชีวิตจริง เพื่อสงเสริมประสบการณ ทักษะชีวิต ความคิดวิเคราะหและความคิดสรางสรรคเพื่อ นําไปสูการสรางนวัตกรรม รวมทั้งการพัฒนากระบวนการหรือผลผลิตใหมๆ ที่เปนประโยชนตอการดําเนินชีวิต ในการนี้ สสวท. จึงไดจัดทําโครงการประกวดคัดเลือกผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ตามแนวทางสะเต็ม ศึกษาระดับโรงเรียน ประจําป 2558 ขึ้น เพื่อสงเสริมการเรียนรูและเขาใจความสัมพันธของสิ่งแวดลอมที่เปน องคประกอบของโลก (ดิน น้ํา บรรยากาศ และสิ่งปกคลุมดิน/สิ่งมีชีวิต) ในลักษณะของวิทยาศาสตรโลก ทั้งระบบของนักเรียนผานการศึกษาคนควาวิจัยที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง เกี่ยวกับปญหาและวิธีการแกปญหา สิ่งแวดลอมในทองถิ่นของตนอยางเปนระบบ และเปนมาตรฐานทางวิทยาศาสตร รวมกับครู นักวิทยาศาสตร และชุมชน เพื่อนําไปสูการสรางความยั่งยืนในการรักษาสิ่งแวดลอมรวมกัน ในระดับทองถิ่น ระดับภูมิภาค และ ระดับโลก 1. ลักษณะของผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม 1.1 ผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมที่สามารถสงเขาประกวด จะตองเปนผลงานวิจัยวิทยาศาสตร สิ่งแวดลอมที่บูรณาการความรูวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม หรือ วิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ (Earth System Science) รวมกับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร โดยเนนการนําความรูไปใช ในการแกปญหาในชีวิตจริง รวมทั้งการพัฒนากระบวนการ หรือ แนวทาง หรือ นวัตกรรมที่เปน ประโยชนตอการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ หรือแกปญหาสิ่งแวดลอมอยางเปนระบบ 1.2 ผลงานวิจัยอาจจะเปนการสํารวจและการแกปญหาสิ่งแวดลอมอยางเปนระบบที่เกิดขึ้นในทองถิ่น สิ่งประดิษฐ หรือนวัตกรรม ซึ่งงานวิจัยดังกลาวจะตองมีการตรวจวัดและเก็บขอมูลทางดาน สิ่งแวดลอมดวย 1.3 ผลงานวิจัยที่มีการใชหลักวิธีดําเนินการตรวจวัดของโครงการ GLOBE (GLOBE Protocol) และมีการ สงขอมูล (GLOBE Data Entry) เขาเว็บไซตโครงการ GLOBE ที่ www.globe.gov จะไดรับคะแนน พิเศษในการพิจารณา 1.4 เปนงานวิจัยที่เสร็จสมบูรณแลว และจะตองเปนงานวิจัยที่ยังไมเคยไดนําเสนอหรือสงเขารวมการ ประกวดงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ในการประชุมวิชาการประจําป ของ สสวท. หรือเคยไดรับ รางวัลในการประกวดผลงานวิจัยในเวทีอื่นๆ นอกเหนือจากเวทีของ สสวท. หมายเหตุ งานวิจัยนี้เปนผลงานรวมกันของผูวิจัยกับ สสวท. การจะเผยแพรตองไดรับการยินยอมจาก ทั้งสองฝายรวมกัน
  • 2. 2 2. รายละเอียดของผูเขารวมการประกวดคัดเลือกผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม 2.1 คุณสมบัติของผูเขารวมการประกวด คณะผูวิจัยซึ่งเปนนักเรียน และครูที่ปรึกษาของโรงเรียนทั่วประเทศที่มีผลงานวิจัยวิทยาศาสตร สิ่งแวดลอมที่บูรณาการความรูวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม หรือ วิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ รวมกับระบบ สะเต็มศึกษา 2.2 จํานวนสมาชิกของคณะผูวิจัย คณะผูวิจัย รวม 3 - 4 คน ประกอบดวยนักเรียนจํานวน 2 - 3 คน ซึ่งกําลังศึกษาอยูในระดับชั้น ประถมศึกษาปที่ 4 – มัธยมศึกษาปที่ 6 และครูที่ปรึกษางานวิจัยจํานวน 1 คน 2.3 จํานวนผลงานวิจัยที่สงประกวด โรงเรียนสามารถสงงานวิจัยเขารวมการคัดเลือกไดระดับชั้นละ 1 งานวิจัย โดยแบงเปน 3 ระดับดังนี้ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3. วิธีการสงผลงานวิจัย 3.1 วิธีการสงผลงานวิจัย รายละเอียดของผลงานวิจัยที่จะตองสงใหคณะกรรมการพิจารณาประกอบดวย 1) ใบสมัคร 2) รายงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม (แบบสรุป) จํานวน 8 ชุด พรอมไฟล (ตามรูปแบบการ เขียนรายงานวิจัย หนา 5) 3) ไฟลรายงานวิจัย เปน CD หรือ DVD จํานวน 1 แผน 4) หนังสือนําสงจากโรงเรียน จํานวน 1 ฉบับ 5) รายงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ฉบับเต็ม ความยาวไมเกิน 50 หนา จํานวน 1 ชุด พรอม ไฟล (สําหรับโรงเรียนที่ผานการคัดเลือกรอบแรก ซึ่งตองนําสงรายงานในการประชุมนําเสนอ ผลงานวิจัยฯ รอบตัดสิน) เอกสารทั้งหมด สงมาที่ สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (โครงการ GLOBE) สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) 924 ถนนสุขุมวิท คลองเตย กรุงเทพ 10110 (โครงการประกวดคัดเลือกผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมระดับโรงเรียน ประจําป 2558) 3.2 กําหนดการสงผลงานวิจัย โรงเรียนสามารถสงผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมมายัง สสวท. ภายในวันที่ 6 กุมภาพันธ พ.ศ. 2558 หากเกินกําหนดจะไมไดรับการพิจารณาไมวากรณีใด
  • 3. 3 4. การประกาศผลการคัดเลือกงานวิจัย การประกาศผลการคัดเลือกผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม รอบแรก ภายในวันที่ 27 กุมภาพันธ พ.ศ. 2558 ผานทางเว็บไซต http://globethailand.ipst.ac.th และ สสวท. จะแจงผลไปยังโรงเรียน (เฉพาะ โรงเรียนที่ไดรับคัดเลือก) เพื่อโรงเรียนจะไดเตรียมเขารวมการประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตร สิ่งแวดลอม ระดับโรงเรียน ประจําป 2558 โดยจะจัดในวันที่ 13 – 14 มีนาคม พ.ศ. 2558 ในรูปแบบการ นําเสนอดวยปากเปลาและแบบโปสเตอร สวนโรงเรียนที่ไมผานการคัดเลือกรอบแรก สามารถเขารวมการ นําเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอรได 5. การสนับสนุนผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมที่ผานการคัดเลือก 5.1 โรงเรียนที่ผานการคัดเลือกในรอบแรก คณะผูวิจัยจะไดรับการสนับสนุนคาที่พัก และคาอาหาร ระหวางการประชุมนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรียน ประจําป 2558 ซึ่งจะ จัดในวันที่ 13 – 14 มีนาคม พ.ศ. 2558 ตามที่ สสวท. ดําเนินการจัดหาให (โดยเบิกจายตามระเบียบ ของกระทรวงการคลังเทานั้น) สวนโรงเรียนที่ไมผานการคัดเลือกรอบแรกและมีความประสงคเขารวมนําเสนอผลงานวิจัยแบบ โปสเตอร สสวท. จะรับผิดชอบคาอาหารของคณะผูวิจัยในระหวางการประชุมฯ สําหรับคาใชจายอื่นๆ ขอใหเบิกจากทางตนสังกัด 5.2 เงินรางวัลสําหรับผลงานวิจัยที่ไดรับคัดเลือกรวมเปนจํานวนกวา 100,000 บาท พรอมโลและ เกียรติบัตรสําหรับโรงเรียนที่ไดรับรางวัล และเกียรติบัตรสําหรับคณะผูวิจัยที่เขารวมการประชุม นําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรียน ประจําป 2558 โดยแยกพิจารณา ผลงานวิจัยระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา 5.3 รายงานวิจัยที่ผานการคัดเลือกและไดมีการแกไขความถูกตองใหสมบูรณแลว จะถูกรวบรวมและ เผยแพรในเอกสารสรุปผลงานโครงการ GLOBE ประจําป และเว็บไซตของ สสวท. 5.4 ผลงานวิจัยที่ผานการคัดเลือกรอบแรก สามารถสมัครเขารวมการประชุมนําเสนอผลงานวิจัยของ นักเรียนระดับภูมิภาคเอเซียแปซิฟค ในโครงการ GLOBE ซึ่งจะจัดในวันที่ 22 – 26 เมษายน 2558 ณ ประเทศไตหวัน และประเทศอื่นๆ ตามโอกาส โดยโรงเรียนตองแจงความจํานงที่ สสวท. และ โรงเรียนจะตองรับผิดชอบคาใชจายในการเขารวมประชุมของครูและนักเรียนเอง 6. เกณฑการคัดเลือกผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม การตัดสินคัดเลือกผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมในรอบแรก จะพิจารณาจากความถูกตองของ รายงานวิจัย และผลงานวิจัยที่มีการสงขอมูล (GLOBE Data Entry) เขาเว็บไซตโครงการ GLOBE ที่ www.globe.gov จะไดรับคะแนนพิเศษในการพิจารณา สําหรับการเขียนรายงานวิจัยใหใชหลักเกณฑการเขียนตามแนวทางของเอกสาร “รูปแบบการเขียน รายงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม” (หนา 5) และเกณฑการตัดสินผลงานวิจัยวิทยาศาสตรโลกทั้งระบบ
  • 4. 4 รายละเอียดของเกณฑสําคัญที่ใชในการตัดสินผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม 6.1 เกณฑการตัดสินรายงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ประกอบดวยหัวขอหลัก 10 ขอ ดังนี้ 1) คุณภาพของคําถามวิจัย 2) คุณภาพของการระบุที่มาและความสําคัญของปญหา (คําถามวิจัย) 3) คุณภาพของการระบุขอบเขตของการวิจัย 4) คุณภาพของการวางแผนการวิจัย และวิธีดําเนินการวิจัย 5) คุณภาพของการจัดกระทํากับขอมูล (Organizing Data) ที่เอื้อตอการแปลผล และอภิปราย ผลการวิจัย (Interpretation and Discussion) 6) คุณภาพของการวิเคราะห อธิบาย อภิปรายผล และสรุปผล 7) คุณภาพในการสืบคนขอมูลและการอางอิงเอกสาร 8) คุณภาพในการเขียนรายงาน และการนําเสนอรายงานวิจัย 9) ความเปนประโยชนของงานวิจัยตอชุมชนในทองถิ่น 10) มีการใชหลักวิธีดําเนินการตรวจวัดสิ่งแวดลอมของโครงการ GLOBE (GLOBE Protocol) ในการ ทํางานวิจัย และมีการสงขอมูล (GLOBE Data Entry) ในเว็บไซตโครงการ GLOBE ที่ www.globe.gov 6.2 เกณฑการตัดสินการนําเสนอผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมของนักเรียน ประกอบดวยหัวขอหลัก 4 ขอ ดังนี้ 1) เนื้อหามีความถูกตอง ครอบคลุม และเปนลําดับ 2) การนําเสนอมีความนาสนใจ การใชภาษาถูกตอง ชัดเจน บุคลิกภาพของผูนําเสนอ 3) สื่อที่ใชในการนําเสนอมีความนาสนใจ ถูกตอง การใชรูปภาพและกราฟมีความเหมาะสม และ ถูกตองทางวิชาการ 4) เวลาที่ใชในการนําเสนอ การตัดสินของคณะกรรมการถือวาเปนขอยุติ ซึ่งโรงเรียนที่ไดรับคัดเลือกจะตองแกไขราย งานวิจัยฯ ตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการ จึงจะมีสิทธิในการเขารวมการประชุม วิชาการ การนําเสนอผลงานวิจัยฯ และการประกวดฯ ดังกลาว
  • 5. 5 รูปแบบการเขียนรายงานวิจัย 1. การพิมพรายงานวิจัย ใหพิมพดวยตัวอักษร Angsana New ขนาด 16 point โดยตั้งกั้นหนากระดาษ ดานซาย 3.17 เซนติเมตร ดานขวา 2.54 เซนติเมตร ขอบบน 2.54 เซนติเมตร และขอบลาง 2 เซนติเมตร ใชขนาดของกระดาษเปน A4 2. รายงานวิจัย (แบบสรุป) ประกอบดวยหัวขอในสวนตางๆ ทั้ง 10 สวน โดยเขียนเปนความเรียงโดยมีความ ยาวของเนื้อหารายงานวิจัยฯ ในสวนที่ 1 - 10 ประมาณ 8 - 11 หนา และไมตองใสหนาปกรายงาน สวนที่ 1 บทคัดยองานวิจัย ประกอบดวย - ชื่อหัวของานวิจัย - คณะผูวิจัย - ระดับชั้น - นักวิทยาศาสตรที่ปรึกษา - บทคัดยอ - คําสําคัญ (Key Word) สวนที่ 2 บทนํา สวนที่ 3 คําถามวิจัย สวนที่ 4 สมมติฐานงานวิจัย สวนที่ 5 วัสดุอุปกรณและวิธีดําเนินการวิจัย สวนที่ 6 ผลการวิจัย สวนที่ 7 การสรุปและอภิปรายผลการวิจัย สวนที่ 8 กิตติกรรมประกาศ สวนที่ 9 เอกสารอางอิง สวนที่ 10 แบบสรุปที่เชื่อมโยงรายงานวิจัยกับการบูรณาการระบบสะเต็มศึกษา คณะกรรมการขอสงวนสิทธิ์ในการไมพิจารณารายงานวิจัยหากรูปแบบของรายงานไมตรง ตามที่คณะกรรมการกําหนด
  • 6. 6 รูปแบบการเขียนรายงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ชื่องานวิจัย : คณะผูวิจัย : ชื่อนักเรียนที่ทําวิจัย (เขียนเรียงตอกันไปจนครบ) ระดับชั้น : อาจารยที่ปรึกษา : โรงเรียน : ชื่อโรงเรียน อําเภอ จังหวัด นักวิทยาศาสตรที่ปรึกษา : บทคัดยอ (ไมเกิน 250 คํา) เขียนในลักษณะการบรรยายระบุที่มาและความสําคัญของปญหา วัตถุประสงคของการวิจัย ขอบเขตการวิจัย วิธีดําเนินการ วิจัยและผลการวิจัยโดยยอ คําสําคัญ (3 – 6 คํา) บทนํา (ยอหนาที่ 1) ทบทวนเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของกับหัวขอวิจัย ที่มาและความสําคัญของปญหา คําถามวิจัย และสมมติฐานการวิจัยอยางแทจริงโดยยอ (ยอหนาที่ 2) วัตถุประสงคของการวิจัย คําถามวิจัย ระบุคําถามวิจัยอยางชัดเจน เปนขอๆ สมมติฐานงานวิจัย ระบุสมมติฐานการวิจัยอยางชัดเจนเปนขอๆ วัสดุอุปกรณและวิธีดําเนินการวิจัย • ระบุวิธีการในการกําหนดจุดศึกษา • ระบุวิธีดําเนินการตรวจวัด ปจจัยแตละปจจัยที่ตองการศึกษาโดยระบุหลักวิธีดําเนินการที่เปนมาตรฐาน และอุปกรณ มาตรฐานที่ใชตรวจวัดทีละปจจัย (โดยอางอิงที่มาของมาตรฐาน) อยางชัดเจน โดยสรุป • ระบุวิธีการที่ใชในการวิเคราะหผลความสัมพันธของขอมูล ทุกความสัมพันธ ผลการวิจัย แสดงผลการวิจัยในรูปแบบตางๆ เชน ตาราง และกราฟ ฯลฯ โดยระบุเลขที่ ชื่อ และคําอธิบายประกอบใหชัดเจน ไมตองใส ขอมูลดิบในการรายงานผลการวิจัย การสรุปและอภิปรายผลการวิจัย เปนการอภิปรายผลการวิจัยโดยสรุปวาเปนไปตามสมมติฐานของการวิจัยอยางไร ถาจะนําผลการวิจัยไปใชในที่อื่นใหกวางขวาง ออกไป จะมีความเปนไปไดเพียงใด จะตองมีการปรับปรุงอะไรบาง มีขอเสนอแนะสิ่งที่ควรจะเพิ่มเติมในการวิจัยใหถูกตองและ สมบูรณขึ้น ตลอดจนการอภิปรายเปรียบเทียบกับงานอื่นๆ ในทํานองเดียวกันนี้ กิตติกรรมประกาศ การประกาศกิตติคุณของผูที่ใหความชวยเหลือในการทําวิจัย รวมทั้งบุคคลทั่วไป สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย บริษัทตางๆ ที่ ใหการสนับสนุนการดําเนินการวิจัย เอกสารอางอิง แสดงรายการหนังสือ บทความวารสาร เว็บไซต และการสื่อสารอื่นๆ ที่ใชในการศึกษาวิจัย หรือที่ใชอางอิงในการทําวิจัย เรียง ตามลําดับตัวอักษร โดยใชตัวอยางรูปแบบการอางอิงเอกสารที่เปนมาตรฐานสากล เปนหลัก ที่มา http://www.globe.gov/fsl/investigations/si-investig.html
  • 7. 7 สวนที่ 10 แบบสรุปที่เชื่อมโยงรายงานวิจัยกับการบูรณาการระบบสะเต็มศึกษา ใหเขียนเชื่อมโยงความรูและทักษะที่เรียนรูจาก วิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และ คณิตศาสตร ในผลงานวิจัยที่ไดดําเนินการ ชื่องานวิจัย วิทยาศาสตร (Science) เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร (Engineering) คณิตศาสตร (Mathematics)
  • 8. 8 ใบสมัครเขารวมโครงการประกวดคัดเลือกผลงานวิจัยวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ระดับโรงเรียน ประจําป 2558 XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX โปรดเขียนตัวบรรจง และกรอกขอมูลตางๆ ใหสมบูรณ (เพื่อสะดวกในการติดตอกลับ) 1 ชื่อ-นามสกุล ของนักเรียนที่นําเสนอผลงานวิจัยฯ (จํานวน 2 - 3 คน) 1.1 ชื่อ-นามสกุล………………………………..….......………..………………………………………………ระดับชั้น.....................… โทรศัพทมือถือ* ................................................................. Email* ……..…….……………………………………… 1.2 ชื่อ-นามสกุล…………….………….…………………………………………………………………………ระดับชั้น.....................… โทรศัพทมือถือ* ................................................................. Email* …….…….………….…………………………… 1.3 ชื่อ-นามสกุล…………….………….…………………………………………………………………………ระดับชั้น.....................… โทรศัพทมือถือ* ................................................................. Email* …….…….………….…………………………… 2 ชื่อ-นามสกุล ของอาจารยที่ปรึกษา (จํานวน 1 คน) ชื่อ-นามสกุล ………………………………………………....….……….………..………….……………….………….…………………..…… ตําแหนง .................................................................................... สังกัด ……………….….………….……..………………… โทรศัพทมือถือ* ......................................................................... Email* ……..…….……………………………………… 3 ชื่อหัวเรื่องงานวิจัย ………………………………………………………………………………………………………………………..………………….……………….. ……………..…...……………………………………………………………………………….……………………………………………………….. 4 ขอมูลโรงเรียน ชื่อโรงเรียน ................................……….…………………………………………………………………………………………………..…. ที่อยูของโรงเรียน .......................................................................……………………………………………………………………. โทรศัพท* ………...……………………………..……………………………โทรสาร*………………….……….….………….………………. ประเภทโรงเรียน ( ) โรงเรียนประถมศึกษา ( ) โรงเรียนขยายโอกาส ( ) โรงเรียนมัธยมศึกษา จํานวนนักเรียนตอโรงเรียน ( ) ต่ํากวา 500 คน ( ) 500 – 1,500 คน ( ) สูงกวา 1,500 คน หมายเหตุ โปรดสงใบสมัครกลับมายังสาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (โครงการ GLOBE) สสวท. ภายในวันที่ 6 กุมภาพันธ 2558 หากทานมีขอสงสัย โปรดติดตอสาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมโลก (โครงการ GLOBE) สสวท. ที่หมายเลข 0-2392-4021 ตอ 1124 (ยุพาพร), 1128 (ศิริพร) หรือ e-mail : globeproject@ipst.ac.th ลงชื่อ ……………………………………………….……………………. (…………………………………………….………………………) ผูอํานวยการโรงเรียน / รองผูอํานวยการฝายวิชาการ โรงเรียน …………………………………………………………