SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
จัดทำโดย
ด.ช. พงษ์พิพัฒน์ กำนต์ติวรรณ เลขที่ 2
ด.ช. ศักดิ์ดำ สิมมำ เลขที่ 3
ด.ช. สุวรรณภูมิ เจริญศิริ เลขที่ 4
นำเสนอ
คุณครู พรอุมำ ศรีแก้ว
โรงเรียน พำนพร้ำว
รำยงำนนี้เป็นส่วนหนึ่งของ วิชำเศรษฐศำสตร์
1. บทบำทหน้ำที่ของรัฐบำลในกำรพัฒนำประเทศ
รัฐบาลมีหน้าที่ในการพัฒนาประเทศให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดี มีความสุข มีเศรษฐกิจที่
เจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคงและมีเสถียรภาพควบคู่กันไปมีการกระจายผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม
สาหรับ ความมั่นคงทางสังคมและการเมืองก็จะต้องทาให้เกิดความเท่าเทียมกันมีความรู้เท่าทัน
การเปลี่ยนแปลงของโลกรัฐบาลจึงต้องเข้ามามีบทบาททั้งด้านการเมืองการปกครองด้านสังคม
ด้านเศรษฐกิจและการศึกษา ดังนี้
1.1ด้านการเมืองการปกครอง
1.การสร้างอธิปไตยให้มีความเสมอภาค
2.การให้เสรีภาพในการเป็นเจ้าของทรัพย์สินและการมีเสรีภาพในการตัดสินใจ
3.รัฐมีบทบาทเป็นผู้ให้การส่งเสริมและควบคุมการดาเนินการของภาคเอกชน
4.การกระจายอานาจการปกครองให้กับท้องถิ่นและชุมชน
1.2 ด้านสังคม
สังคมเป็นกลุ่มคนที่อยู่ร่วมกันมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันโดยยอมรับแบบแผนหรือวิธีการ
และกฎเกณฑ์ของกลุ่มร่วมกันในการดาเนินชีวิตบททบาทของรัฐบาลด้านสังคมมี ดังนี้
1.การเสริมสร้างการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
2.การพัฒนาคนในสังคมให้มีคุณภาพคุณธรรมและรอบรู้
3.การส่งเสริมให้เกิดการแข่งขันที่เป็นธรรม
4.การส่งเสริมและพัฒนาภาคราชการให้มีประสิทธิภาพและมีธรรมาภิบาล
5.การปฏิรูปกฏหมายและระเบียบต่างๆ
1.3 ด้านเศรษฐกิจ
1.การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อเพิ่มรายได้
2.การส่งเสริมด้านการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ
3.การส่งเสริมการวิจัยเพื่อเพิ่มศักยภาพด้านต่างๆ
4.การปรับกลยุธ์ในการพัฒนาประเทศใหม่
1.4 ด้านการศึกษา
1.จัดการศึกษาเพื่อพัฒนากาลังคนของประเทศ
2.จัดการศึกษาเพื่ออบรมแรงาน
3.การกระจายการศึกษาออกไปยังท้องถิ่นต่างๆ
4.การจัดสรรทุนการศึกษาแก่ผู้ด้อยโอกาส
5.การประกันคุณภาพการศึกษา
6.การเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามาร่วมจัดการศึกษา
2.บทบาทและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล
บทบาทและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลมีเป้าหมายสาคัญ เพื่อต้องการให้ประชาชนได้รับสวัสดิการมาก
ที่สุดโดยคานึงถึงส่วนรวมของประเทศการกาหนดนโยบาย และกิจกรรมทางเศรษฐกิจเพื่อตอบสนองความ
ต้องการส่วนรวมโดยรัฐบาลมีบทบาทและกิจกรรมศรษฐกิจที่สาคัญ ดังนี้
2.1 การผลิตสินค้าและบริการสาธารณะที่เอกชนไม่ดาเนินการ
เนื่องจากต้องใช้เงินลงทุนสูง เช่น กิจการไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ถนน เป็นต้น โดยกิจการดังกล่าวเหมาะสาหรับ
ผู้ผลิตรายเดียวมากกล่าวผู้ผลิตหลายราย การผลิตสินค้าข้างต้นจึงมีลักษณะผูกขาดโดยธรรมชาติ
2.2 การผลิตสินค้าสาธารณะและกึ่งสาธารณะ
สินค้าสาธารณะเป็นสินค้าที่ไม่สามารถกีดกันผู้อื่นบริโภคได้ เมื่อมีผู้บริโภคจะไม่ส่งผลกระทบต่อผู้บริโภครายอื่น
เช่น รายการวิทยุ โทรทัศน์ การเก็บขยะมูลฝอยของเทศบาล
2.3 การผลิตสินค้าที่เป็นคุณประโยชน์
สินค้าที่เป็นคุณประโยชน์ที่รัฐบาลเข้าไปแทรกแซงโดยตรง เช่น โรงเรียน มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล เป็นต้น
2.4 บทบาทในการเก็บภาษีเพื่อพัฒนาในด้านต่างๆ
โดยทั่วไปทุกรัฐบาลของประเทศต่างๆมีบทบาทการจัดเก็บภาษีเพื่อหารายได้เพื่อใช้จ่ายในกาดาเนินกิจการต่างๆ
ในสังคมเพื่อเป็นการให้บริการแก่ประชาชนและส่วนรวม
2.5 บทบาทการแทรกแซงราคาและควบคุมราคาเพื่อการแจกจ่ายและการจัดสรรในทางเศรษฐกิจ
เนื่องจากสินค้าบางชนิดราคาไม่ค่อยมีเสถียรภาพเพราะ
เมื่อปริมาณผลิตเปลี่ยนแปลงไปจะทาให้ราคาเปลี่ยนแปลง
ตามไปด้วยราคาจึงไม่เสถียรภาพ ผู้ผลิตจึงอยู่ในสถานะ
ที่เสียเปรียบ เช่น การผลิตข้าว พืชผลทางการเกษตร เมื่อ
ผลผลิตออกมามากราคามักจะตกต่าทาให้เกษตรกร
เดือดร้อน รัฐจึงต้องเข้าไปผยุงราคา หรือประกันราคาสินค้าเกษตรมิให้ตกต่าเกินไปเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว
3.นโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาล
นโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาลเป็นแนวทางหรือกรอบในการบริหารประเทศทางด้านเศรษฐกิจเพื่อให้-บรรลุ
วัตถุประสงค์ที่กาหนกไว้ เช่น การขยายตัวทางเศรษฐกิจ เป็นต้น
3.1 นโยบายการผลิต
นโยบายการผลิตเป็นนโยบายเกี่ยวกับการเพิ่มผลผลิต การจัดสรรการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการใน
การจัดสรรให้ผลตออบแทนจากการผลิดได้กระจายไปสู้จเของปัจจัยของการผลิตอย่างเป็นธรรม
การเพิ่มศักยภาพในการผลิต โดยการใช้เทคโนโลยีที่
ทันสมัยเข้ามาช่วย
แผนผังแสดงนโยบำยกำรผลิตที่ส่งผลกระทบทำงเศรษฐกิจ
มาตราการควบคุม
ปริมาณการผลิต
มาตรการจัดสรร
ผลตอบแทน
ปัจจัยการผลิต
มาตรการ
เพิ่มผลผลิต
ผลกระทบ
ทาง
เศรษฐกิจ
การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
การเพิ่มผลผลิตและการ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
การจัดสรรปริมาณการผลิต
การกระจายรายได้
นโยบาย
การผลิต
3.2 นโยบายการเงิน
นโยบายการเงินเป็นแนวทางการนาเดินงานทางด้วนการควบคุมปริมาณเงินและสินเชื่อของธนาคารกลางให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม เพื่อให้
ประชาชนมีงานทา มีรายได้เพิ่มขึ้น เพื่อรักษาเสถียรภาพของราคาและอัตราแลกเปลี่ยน
นโยบาย
การเงิน
การซื้อหรือขาย
หลักทรัพย์
รัฐบาล
มาตราการ
ทางการเงิน
อื่นๆ
อัตราธนาคาร
ผลกระทบ
ทาง
เศรษฐกิจ
เสถียรภาพในระดับราคาสินค้า
การค้าทางานเต็มที่
กากรสร้างการเจริญเติบโตทาง
เศษรฐกิจ
การกระจายรายได้ที่เหมาสม
แผนผังแสดงนโยบายทางการเงินของรัฐที่ส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจ
1.การกาหนดอัตราธนาคารหรืออัตราดอเบี้ยมาตราฐาน เป็นดอกเบี้ยที่ธนาคารกลางคิดกับธนาคารพานิชย์ที่มา
ขอก็ยืมเงินกับธนาคารกลางถ้านภาวะของเศรษฐกิจของประเทศมีปริมาณเงินมากเกินไปจนอาจก่อให้เกินภาวะเงินเฟ้อ
2.การกาหนดการซื้อหรืขายหลักทรัพย์ของรัฐบาลในท้องตลาดทั่วไป ซึ่งมีทั้งตั๋วเงินคลังและพันธบัตรก็เพื่อเพิ่ม
หรือลดปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจของประเทศ
3.กำรกำหนดอัตรำเงินสดสำรองตำมกฏหมำย เงินสดสารองตามกฏหมายเป็นส่วนหนึ่งของเงินสารองที่ธนาคารพานิชย์
อยู่ในธนาคารกลาง
การจัดหารายการส่งเสริมรายการขายต่างๆ เพื่อจูงใจให้
ลูกค้ากู้ยืมเงิน ทาให้ธนาคารสามารถขยายสินเชื่อได้ง่าย
3.3 นโยบายการคลัง
นโยบายการคลังเป็นนโยบายเกี่ยวกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล ดังนั้นจึงเกี่ยวข้องกับการจัดหารายได้และ
การใช้จ่ายของรัฐบาลการก่อหนีสาธารณะและการบริหารเงินคงคลังโดยผ่านมาตราการด้ายภาษีอากร
มาตรการด้าน
การใช้จ่ายของ
รัฐบาล
มาตรการ
ด้านการกู้ยืม
มาตรการด้าน
ภาษีอากร
ผลกระทบ
ทาง
เศรษฐกิจ
การเติบโตทางเศรษฐกิจ
การจัดสรรทรัพยากร
การกระจายรายได้
การรักษาเสถียรภาพทางเศษฐกิจ
นโยบาย
การคลัง
แผนผังแสดงนโยบายการคลังที่ส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจ
1.การจัดหารายได้ของรัฐบาล โดยกระทรวงการคลัง รายได้ของรัฐบาล เช่น การขายสลากกินแบ่งรัฐบาล
2.การบริหารรายจ่ายของรัฐบาล การใช้จ่ายของรัฐบาลเป็นการใช้จ่ายในการบริหารงานตามภาระหน้าที่
3.การเพิ่ม-ลดหนี้สาธารณะ ในกรณีที่รัฐบาลมีการตั้งงบประมาณแบบขาดทุน คือ มีรายจ่ายสูงกว่ารายได้
การหารายได้ของรัฐบาลใน
การขายสลากกินแบ่งรัฐบาล
3.4 นโยบายทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
มาตรการ
ทางการเงิน
ระหว่างประเทศ
มาตรการการค้า
ระหว่างประเทศ
ผลกระทบ
ทาง
เศรษฐกิจ
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
การผลิตในประเทศ
การจ้างทางานนโยบาย
เศรษฐกิร
ระหว่าง
ประเทศ เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
แผนผังแสดงนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่ส่งผลกระทบทางเศรฐกิจในประเทศ
4.ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย
4.1ปัญหาและผลกระทบจากภาวะเงินเฟ้อ
1.สาเหตุของการเกิดภาวะเงินเฟ้อ
1.1เกิดจากความต้องการสินค้าขยายตัวอย่างรวดเร็ว
1.2 เกิดจากต้นทุนการผลิตที่เพิ่มสูงขึ้น
1.3 เกิดจากความต้องการบริโภคสินค้าบางชนิดปลี่ยนแปลง
1.4 เกิดจากการติดต่อต่างประเทศ
2.ผลของภาวะเงินเฟ้อ
2.1 ผลที่มีต่อการผลิตและการลงทุน
2.2 ผลที่มีต่อการกระจายรายได่
2.3 ผลที่มีต่อการคลังของรัฐบาล
2.4 ผลที่มีต่อการค้าต่างประเทศ
2.5 ผลลที่มีต่อการเมืองของประเทศ
3.แนวทางการแก้ไขปัญหาเงินเฟ้อ
3.1 การใช้นโยบายการเงิน
3.2 การใช้นโยบายการคลัง
3.3 การควบคุมราคาสินค้าและควบคุมต้นทุนการผลิต
3.4การควบคุมการค้าระหว่างประเทศ
4.2 ปัญหาและผลกระทบภาวะเงิน
ฝืด
1.สาเหตุของภาวะเงินฝืด
1.1 เกิดจากความการสินค้า
1.2 เกิดจากการระดมทุนของรัฐบาล
1.3 เกิดจากภาวะเศรษฐกิจตกต่า
2 ผลของภาวะเงินฝืด
2.1 ผลที่มีต่อการผลิตและการลงทุน
2.2 ผลที่มีต่อการกระจาย
2.3 ผลที่มีต่อการคลังของรัฐบาล
2.4 ผลที่มีต่อการค้าต่างประเทศ
2.5 ผลที่มีต่อการเมืองของประเทศ
การแพร่หลายของสินค้าและเทคโนโลยีที่นาเข้าจาก
ต่างประเทศซึ่งเป็นที่ต้องการของคนรุ่นใหม่
3. แนวทางแก้ไขปัญหาภาวะของเงินฝืด
3.1 การใช้นโยบายการเงิน
3.2 การใช้นโยบายการคลัง
3.3 การส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
ภาวะเงินฝืดส่งผลให้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และโครงการ
ลงทุนขนาดใหญ่ต้องประสบปัญหาและหยุดชะงัก
4.3 ปัญหาและผลกระทบจากภาวะการทางาน
1. ประเภทและสาเหตุของการว่างงาน
1.1 การว่างงานโดยเปิดเผย
1.2 การว่างงานแอบแฝง
2. ผลของการว่างงาน
2.1 ผลที่มีต่อการใช้ประโยชน์จากแรงงาน
2.2 ผลที่มีต่อการออมและการลุงทุน
2.3 ผลที่มีต่อการกระจายรายได้
2.4 ผลที่มีต่อฐานะการคลังของรัฐบาล
2.5 ผลที่มีต่อการเมืองของประเทศ กรมการจัดหางานเป็นหน่วยงานของรัฐ ที่เป็นสื่อกลางในการ
จัดหางานให้กับแรงงานสาขาต่างๆ เพื่อเสริมการมีงานทา
4.4 แนวทางการแก้ไขปัญหาการว่างงาน
4.1 การใช้นโยบายการเงิน
4.2 การใช้นโยบายการคลัง
4.3 กระตุ้นการส่งออก
การชักจูงให้ผู้ผลิตหันมาลงทุนมากขึ้น เพื่อเพิ่มปริมาณ
เงินที่ใช้หมุนเวียนในประเทศส่งผลให้อัตราดอกเบี้ยลดลง
การเพิ่มปริมาณ
เงินในประเทศ
อัตราดอกเบี้ยลดลง
รายได้ประชาชาติ
ขยายตัวมากขึ้น
มีการผลิตและการว่าจ้าง
ทางานมากขึ้น
การลงทุนในประเทศเพิ่มขึ้น
กล่าวสรุปได้ว่า
รัฐบาลมีหน้าที่และบทบาทสาคัญในการพัฒนาประเทศ จัดสวัสดิการทางสังคมต่างๆ ให้กับประชาชน
และรักษาความมั่นคงของประเทศ เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน ถึงแม้ว่าในปัจจุบันประเทศไทย
ต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่ได้รับอิทธิพลจากภายในประเทศและต่างประเทศ
ส่งผลให้สภาวะทางเศรษฐกิจอ่อนไหว ประกอบกับเสถียรภาพทางการเมืองยังไม่มั่นคง
ทาให้การพัฒนาประเทศของรัฐบาลที่ผ่านมาต้องประสบปัญหาเป็นช่วงเวลาก็ตาม
แต่เป้าหมายสูงสุดของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศก็เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีและประชาชนมีความสุข
พวกเราขอจบการเสนอเพียงเท่านี้
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันSiratcha Wongkom
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยPaew Tongpanya
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญSmile Petsuk
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวการประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวsingha_koy
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณbua2503
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีToeyy Piraya
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแวมไพร์ แวมไพร์
 

What's hot (20)

สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
Resume2
Resume2Resume2
Resume2
 
ภาษาไทย (2)
ภาษาไทย (2)ภาษาไทย (2)
ภาษาไทย (2)
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัวการประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
การประเมิน ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชี
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 

Economics m.3