SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
จัดทาโดย
นายบัญชา แซ่อัง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 เลขที่ 5
เสนอ
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา
วิชา คอมพิวเตอร์ (ง302010)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
คานา
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่5 โดยมีจุดประสงค์
ทาขึ้นเพื่อศึกษาการทางานและป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาความรู้เกียวกับ
ไวรัสคอมพิวเตอร์ ในเรื่องประวัติความเป็นมา ประเภทของไวรัส อาการของเครื่องที่ติดไวรัส
คาแนะนาการป้องกันไวรัส การกาจัดไวรัส ข้าพเจ้าเลือกหัวข้อนี้ในการทางาน เนื่องมาจากเป็น
เรื่องที่น่าสนใจ และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง
ข้าพเจ้าหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่กาลังหา
ข้อมูลเรื่องนี้อยู่หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
ผู้จัดทำ
วันที่ 3/3/2559
สารบัญ
ชื่อเรื่อง หน้า
1.ไวรัสคืออะไร.....................................................................................................1
2.ประเภทของไวรัส……………………………………………………………..2
3.อาการของเครื่องที่ติดไวรัส……………………………………………………7
4.การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลง………………………………………………..8
5.การเฝ้าดู………………………………………………………………………..9
6.คาแนะนา……………………………………………………………………...10
7.การกาจัดไวรัส…………………………………………………………………11
8.ไวรัสตัวสาคัญของโลก.......................................................................................14
1
ไวรัส คือ อะไร ?
ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสาเนาตัวเองเข้าไป
ติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไป
ระบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนาเอาดิสก์ที่ติด
ไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่าย
หรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน
การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ใน
หน่วยความจา คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่
โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจาได้นั้นจะต้อง
มีการถูกเรียกให้ทางานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัว
ปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทาการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทางาน
แล้ว
จุดประสงค์ของการทางานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียน
โปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทาลายโปรแกรมหรือข้อมูล
อื่น ๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ แสดงข้อความวิ่งไปมาบน หน้าจอ
เป็นต้น
ประเภทของไวรัส
บูตเซกเตอร์ไวรัส
Boot Sector Viruses หรือ Boot Infector Viruses คือไวรัสที่เก็บตัวเองอยู่ในบูตเซกเตอร์ ของดิสก์
การใช้งานของบูตเซกเตอร์คือ เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เริ่มทางานขึ้นมาตอนแรก เครื่อง จะเข้าไป
อ่านบูตเซกเตอร์ โดยในบูตเซกเตอร์จะมีโปรแกรมเล็ก ๆ ไว้ใช้ในการเรียกระบบ ปฎิบัติการขึ้นมา
ทางานอีกทีหนึ่ง บูตเซกเตอร์ไวรัสจะเข้าไปแทนที่โปรแกรมดังกล่าว และไวรัส ประเภทนี้ถ้าไปติด
อยู่ในฮาร์ดดิสก์ โดยทั่วไป จะเข้าไปอยู่บริเวณที่เรียกว่า Master Boot Sector หรือ Parition Table
ของฮาร์ดดิสก์นั้น
ถ้าบูตเซกเตอร์ของดิสก์ใดมีไวรัสประเภทนี้ติดอยู่ ทุก ๆ ครั้งที่บูตเครื่องขึ้นมาโดย พยายามเรียก
ดอสจากดิสก์นี้ ตัวโปรแกรมไวรัสจะทางานก่อนและจะเข้าไปฝังตัวอยู่ใน หน่วยความจาเพื่อ
เตรียมพร้อมที่ จะทางานตามที่ได้ถูกโปรแกรมมา แล้วตัวไวรัสจึงค่อยไป เรียกดอสให้ขึ้นมาทางาน
ต่อไป ทาให้เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น
โปรแกรมไวรัส
Program Viruses หรือ File Intector Viruses เป็นไวรัสอีกประเภทหนึ่งที่จะติดอยู่กับโปรแกรม ซึ่ง
ปกติก็คือ ไฟล์ที่มีนามสกุลเป็น COM หรือ EXE และบางไวรัสสามารถเข้า ไปติดอยู่ในโปรแกรมที่
มีนามสกุลเป็น sys และโปรแกรมประเภท Overlay Programsได้ด้วย โปรแกรมโอเวอร์เลย์ปกติจะ
เป็นไฟล์ที่มีนามสกุลที่ขึ้นต้นด้วย OV วิธีการที่ไวรัสใช้เพื่อที่จะ เข้าไปติดโปรแกรมมีอยู่สองวิธี
คือ การแทรกตัวเองเข้าไปอยู่ในโปรแกรมผลก็คือหลังจากท ีีี่ โปรแกรมนั้นติดไวรัสไปแล้ว
ขนาดของโปรแกรมจะใหญ่ขึ้น หรืออาจมีการสาเนาตัวเองเข้าไปทับส่วนของโปรแกรมที่มีอยู่เดิม
ดังนั้นขนาดของโปรแกรมจะไม่เปลี่ยนและยากที่ จะซ่อมให้กลับเป็นดังเดิม
การทางานของไวรัส โดยทั่วไป คือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมที่ติดไวรัส ส่วนของไวรัสจะทางาน
ก่อนและจะถือโอกาสนี้ฝังตัวเข้าไปอยู่ในหน่วยความจาทันทีแล้วจึงค่อยให้ โปรแกรมนั้นทางาน
ตามปกติต่อไป เมื่อไวรัสเข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยความจาแล้ว หลัง จากนี้ไปถ้ามีการเรียกโปรแกรม
อื่น ๆ ขึ้นมาทางานต่อ ตัวไวรัสก็จะสาเนาตัวเองเข้าไป ในโปรแกรมเหล่านี้ทันที เป็นการแพร่
ระบาดต่อไป
วิธีการแพร่ระบาดของโปรแกรม ไวรัสอีกแบบหนึ่งคือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมที่มีไวรัสติดอยู่ ตัว
ไวรัสจะเข้าไปหาโปรแกรมอื่น ๆ ที่อยู่ในดิสก์เพื่อทาสาเนาตัวเองลงไปทันทีแล้วจึงค่อยให้
โปรแกรมที่ถูกเรียก นั้นทางานตามปกติต่อไป
ม้าโทรจัน
ม้าโทรจัน (Trojan Horse) เป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาให้ทาตัวเหมือนว่าเป็น โปรแกรม
ธรรมดาทั่ว ๆ ไป เพื่อหลอกล่อผู้ใช้ให้ทาการเรียกขึ้นมาทางาน แต่เมื่อ ถูกเรียกขึ้นมาแล้ว ก็จะเริ่ม
ทาลายตามที่โปรแกรมมาทันที ม้าโทรจันบางตัวถูกเขียนขึ้นมาใหม่ทั้ง ชุด โดยคนเขียนจะทาการ
ตั้งชื่อโปรแกรมพร้อมชื่อรุ่นและคาอธิบายการใช้งานที่ดูสมจริง เพื่อหลอกให้คนที่จะเรียกใช้ตายใจ
จุดประสงค์ของคนเขียนม้าโทรจันอาจจะเช่นเดียวกับคนเขียนไวรัส คือ เข้าไปทา อันตรายต่อข้อมูล
ที่มีอยู่ในเครื่อง หรืออาจมีจุดประสงค์เพื่อที่จะล้วงเอาความลับของระบบ คอมพิวเตอร์
ม้าโทรจันนี้อาจจะถือว่าไม่ใช่ไวรัส เพราะเป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาโดด ๆ และจะไม่มีการเข้า
ไปติดในโปรแกรมอื่นเพื่อสาเนาตัวเอง แต่จะใช้ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของ ผู้ใช้เป็นตัวแพร่ระบาด
ซอฟต์แวร์ที่มีม้าโทรจันอยู่ในนั้นและนับว่าเป็นหนึ่งในประเภทของโปรแกรม ที่มีความอันตรายสูง
เพราะยากที่จะตรวจสอบและสร้างขึ้นมาได้ง่าย ซึ่งอาจใช้แค่แบตซ์ไฟล์ก็สามารถโปรแกรม
ประเภทม้าโทรจันได้
โพลีมอร์ฟิกไวรัส
Polymorphic Viruses เป็นชื่อที่ใช้ในการเรียกไวรัสที่มีความสามารถในการแปรเปลี่ยนตัวเอง ได้
เมื่อมีสร้างสาเนาตัวเองเกิดขึ้น ซึ่งอาจได้หถึงหลายร้อยรูปแบบ ผลก็คือ ทาให้ไวรัสเหล่านี้ยากต่อ
การถูกตรวจจับ โดยโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใช้วิธีการสแกนอย่างเดียว ไวรัสใหม่ ๆ ในปัจจุบันที่
มีความสามารถนี้เริ่มมีจานวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
สทีลต์ไวรัส
Stealth Viruses เป็นชื่อเรียกไวรัสที่มีความสามารถในการพรางตัวต่อการตรวจจับได้ เช่น ไฟล์อิน
เฟกเตอร์ ไวรัสประเภทที่ไปติดโปรแกรมใดแล้วจะทาให้ขนาดของ โปรแกรมนั้นใหญ่ขึ้น ถ้า
โปรแกรมไวรัสนั้นเป็นแบบสทีลต์ไวรัส จะไม่สามารถตรวจดูขนาดที่แท้จริง ของโปรแกรมที่
เพิ่มขึ้นได้เนื่องจากตัว ไวรัสจะเข้าไปควบคุมดอส เมื่อมีการใช้คาสั่ง DIR หรือโปรแกรมใดก็ตาม
เพื่อตรวจดูขนาดของโปรแกรม ดอสก็จะแสดงขนาดเหมือนเดิม ทุกอย่างราวกับว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น
อาการของเครื่องที่ติดไวรัส
สามารถสังเกตุการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ถ้ามีอาการดังต่อไปนี้อาจเป็นไปได้ว่าได้มีไวรัสเข้าไปติด
อยู่ในเครื่องแล้ว อาการที่ว่านั้นได้แก่
 ใช้เวลานานผิดปกติในการเรียกโปรแกรมขึ้นมาทางาน
 ขนาดของโปรแกรมใหญ่ขึ้น
 วันเวลาของโปรแกรมเปลี่ยนไป
 ข้อความที่ปกติไม่ค่อยได้เห็นกลับถูกแสดงขึ้นมาบ่อย ๆ
 เกิดอักษรหรือข้อความประหลาดบนหน้าจอ
 เครื่องส่งเสียงออกทางลาโพงโดยไม่ได้เกิดจากโปรแกรมที่ใช้อยู่
 แป้นพิมพ์ทางานผิดปกติหรือไม่ทางานเลย
 ขนาดของหน่วยความจาที่เหลือลดน้อยกว่าปกติ โดยหาเหตุผลไม่ได้
 ไฟล์แสดงสถานะการทางานของดิสก์ติดค้างนานกว่าที่เคยเป็น
 ไฟล์ข้อมูลหรือโปรแกรมที่เคยใช้อยู่ ๆ ก็หายไป
 เครื่องทางานช้าลง
 เครื่องบูตตัวเองโดยไม่ได้สั่ง
 ระบบหยุดทางานโดยไม่ทราบสาเหตุ
 เซกเตอร์ที่เสียมีจานวนเพิ่มขึ้นโดยมีการรายงานว่าจานวนเซกเตอร์ที่เสียมีจานวน เพิ่มขึ้นกว่าแต่ก่อนโดยที่
 ยังไม่ได้ใช้โปรแกรมใดเข้าไปตรวจหาเลย
การตรวจการเปลี่ยนแปลง
การตรวจการเปลี่ยนแปลง คือ การหาค่าพิเศษอย่างหนึ่งที่เรียกว่า เช็คซัม (Checksum) ซึ่งเกิดจาก
การนาเอาชุดคาสั่งและ ข้อมูลที่อยู่ในโปรแกรมมาคานวณ หรืออาจใช้ข้อมูลอื่น ๆ ของไฟล์ ได้แก่
แอตริบิวต์ วันและเวลา เข้ามารวมในการคานวณด้วย เนื่องจากทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคาสั่ง
หรือข้อมูลที่อยู่ในโปรแกรม จะถูกแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง เราจึงสามารถนาเอาตัวเลขเหล่านี้มา
ผ่านขั้นตอนการคานวณทางคณิตศาสตร์ได้ซึ่งวิธีการคานวณเพื่อหาค่าเช็คซัมนี้มีหลายแบบ และมี
ระดับการตรวจสอบแตกต่างกันออกไป เมื่อตัวโปรแกรม ภายในเกิดการเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าไวรัส
นั้นจะใช้วิธีการแทรกหรือเขียนทับก็ตาม เลขที่ได้จากการคานวณครั้งใหม่ จะเปลี่ยนไปจากที่
คานวณได้ก่อนหน้านี้
ข้อดีของการตรวจการเปลี่ยนแปลงก็คือ สามารถตรวจจับไวรัสใหม่ ๆ ได้และยังมีความสามารถใน
การตรวจจับไวรัสประเภทโพลีมอร์ฟิกไวรัสได้อีกด้วย แต่ก็ยังยากสาหรับสทีลต์ไวรัส ทั้งนี้ขึ้นอยู่
กับความฉลาดของโปรแกรมตรวจหาไวรัสเองด้วยว่าจะสามารถถูกหลอกโดยไวรัสประเภทนี้ได้
หรือไม่ และมีวิธีการตรวจการเปลี่ยนแปลงนี้จะตรวจจับไวรัสได้ก็ต่อเมื่อไวรัสได้เข้าไปติดอยู่ใน
เครื่องแล้วเท่านั้น และค่อนข้างเสี่ยงในกรณีที่เริ่มมีการคานวณหาค่าเช็คซัมเป็นครั้งแรก เครื่องที่ใช้
ต้องแน่ใจว่าบริสุทธิ์พอ คือต้องไม่มีโปรแกรมใด ๆ ติดไวรัส มิฉะนั้นค่าที่หาได้จากการคานวณที่
รวมตัวไวรัสเข้าไปด้วย ซึ่งจะลาบากภายหลังในการที่จะตรวจหาไวรัสตัวนี้ต่อไป
การเฝ้าดู
เพื่อที่จะให้โปรแกรมตรวจจับไวรัสสามารถเฝ้าดูการทางานของเครื่องได้ตลอดเวลานั้น จึงได้มี
โปรแกรมตรวจจับไวรัสที่ถูกสร้งขึ้นมาเป็นโปรแกรมแบบเรซิเดนท์หรือ ดีไวซ์ไดรเวอร์ โดย
เทคนิคของการเฝ้าดูนั้นอาจใช้วิธีการสแกนหรือตรวจการเปลี่ยนแปลงหรือสองแบบรวมกันก็ได้
การทางานโดยทั่วไปก็คือ เมื่อซอฟแวร์ตรวจจับไวรัสที่ใช้วิธีนี้ถูกเรียกขึ้นมาทางานก็จะเข้าไปตรวจ
ในหน่วยความจาของเครื่องก่อนว่ามีไวรัสติดอยู่หรือไม่โดยใช้ไวรัสซิกเนเจอร์ ที่มีอยู่ในฐานข้อมูล
จากนั้นจึงค่อยนาตัวเองเข้าไปฝังอยู่ในหน่วยความจา และต่อไปถ้ามีการเรียกโปรแกรมใดขึ้นมาใช้
งาน โปรแกรมเฝ้าดูนี้ก็จะเข้าไปตรวจโปรแกรมนั้นก่อน โดยใช้เทคนิคการสแกนหรือตรวจการ
เปลี่ยนแปลงเพื่อหาไวรัส ถ้าไม่มีปัญหา ก็จะอนุญาตให้โปรแกรมนั้นขึ้นมาทางานได้ นอกจากนี้
โปรแกรมตรวจจับ ไวรัสบางตัวยังสามารถตรวจสอบขณะที่มีการคัดลอกไฟล์ได้อีกด้วย
ข้อดีของวิธีนี้คือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมใดขึ้นมา โปรแกรมนั้นจะถูกตรวจสอบก่อนทุกครั้งโดย
อัตโนมัติ ซึ่งถ้าเป็นการใช้สแกนเนอร์ จะสามารถทราบได้ว่าโปรแกรมใดติดไวรัสอยู่ ก็ต่อเมื่อทา
การเรียกสแกนเนอร์นั้นขึ้นมาทางานก่อนเท่านั้น
ข้อเสียของโปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูก็คือ จะมีเวลาที่เสียไปสาหรับการตรวจหาไวรัสก่อน
ทุกครั้ง และเนื่องจากเป็นโปรแกรมแบบเรซิเดนท์หรือดีไวซ์ไดรเวอร์ จึงจาเป็นจะต้องใช้
หน่วยความจาส่วนหนึ่งของเครื่องตลอดเวลาเพื่อทางาน ทาให้หน่วยความจาในเครื่องเหลือน้อยลง
และเช่นเดียวกับสแกนเนอร์ ก็คือ จาเป็นจะต้องมีการปรับปรุง ฐานข้อมูลของไวรัสซิกเนเจอร์ให้
ทันสมัยอยู่เสมอ
คาแนะนา
 สารองไฟล์ข้อมูลที่สาคัญ
 สาหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์
 ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์
 อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น
 เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท
 เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ
 เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง
 เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส
 สารองข้อมูลที่สาคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์
 เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สาหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทางานได้
 เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น
การกาจัดไวรัส
เมื่อแน่ใจว่าเครื่องติดไวรัสแล้ว ให้ทาการแก้ไขด้วยความใคร่ครวญและระมัดระวังอย่างมาก เพราะบางครั้ง
ตัวคนแก้เองจะเป็นตัวทาลายมากกว่าตัวไวรัสจริง ๆ เสียอีก การฟอร์แมตฮาร์ดดิสก์ใหม่อีกครั้งก็ไม่ใช่ วิธีที่
ดีที่สุดเสมอไป ยิ่งแย่ไปกว่านั้นถ้าทาไปโดยยังไม่ได้มีการสารองข้อมูลขึ้นมาก่อน การแก้ไขนั้นถ้าผู้ใช้มี
ความรู้เกี่ยวกับไวรัสที่ กาลังติดอยู่ว่าเป็นประเภทใดก็จะช่วยได้อย่างมาก และข้อเสนอแนะต่อไปนี้อาจจะมี
ประโยชน์ต่อท่าน
บูตเครื่องใหม่ทันทีที่ทราบว่าเครื่องติดไวรัส
เมื่อทราบว่าเครื่องติดไวรัส ให้ทาการบูตเครื่องใหม่ทันที โดยเรียกดอสขึ้นมาทางานจากฟลอปปี
ดิสก์ที่ได้เตรียมไว้ เพราะถ้าไปเรียกดอสจากฮาร์ดดิสก์ เป็นไปได้ว่า ตัวไวรัสอาจกลับเข้าไปใน
หน่วยความจาได้อีก เมื่อเสร็จขั้นตอนการเรียกดอสแล้ว ห้ามเรียกโปรแกรมใด ๆ ก็ตามในดิสก์ที่ติด
ไวรัส เพราะไม่ทราบว่าโปรแกรมใดบ้างที่มีไวรัสติดอยู่
เรียกโปรแกรมจัดการไวรัสขั้นมาตรวจหาและทาลาย
ให้เรียกโปรแกรมตรวจจับไวรัส เพื่อตรวจสอบดูว่ามีโปรแกรมใดบ้างติดไวรัส ถ้าโปรแกรมตรวจ
หาไวรัสที่ใช้อยู่สามารถกาจัดไวรัสตัวที่พบได้ก็ให้ลองทาดู แต่ก่อนหน้านี้ให้ทาการคัดลอกเพื่อ
สารองโปรแกรมที่ติดไวรัสไปเสียก่อน โดยโปรแกรมจัดการไวรัสบางโปรแกรมสามารถสั่งให้ทา
สารองโปรแกรมที่ติดไวรัสไปเป็นอีกชื่อหนึ่งก่อนที่จะกาจัดไวรัส เช่น MSAV ของดอสเอง เป็น
ต้น
การทาสารองก็เพราะว่า เมื่อไวรัสถูกกาจัดออกจากฌปรแกรมไป โปรแกรมนั้นอาจไม่สามารถ
ทางานได้ตามปกติ หรือทางานไม่ได้เลยก็เป็นไปได้วิธีการตรวจขั้นต้นคือ ให้ลอง เปรียบเทียบ
ขนาดของโปรแกรมหลังจากที่ถูกกาจัดไวรัสไปแล้วกับขนาดเดิม ถ้ามีขนาดน้อยกว่า แสดงว่าไม่
สาเร็จ หากเป็นเช่นนั้นให้เอาโปรแกรมที่ติดไวรัสที่สารองไว้แล้วหาโปรแกรมจัดการ ไวรัสตัวอื่น
มาใช้แทน แต่ถ้ามีขนาดมากกว่าหรือเท่ากับของเดิม เป็นไปได้ว่าการกาจัดไวรัสอาจสาเร็จ โดยอาจ
ลองเรียกโปรแกรมตรวจหาไวรัสเพื่อทดสอบโปรแกรมอีกครั้ง
หากผลการตรวจสอบออกมาว่าปลอดเชื้อ ก็ให้ลองเรียกโปรแกรมที่ถูกกาจัดไวรัสไปนั้นขึ้นมา
ทดสอบการทางานดูอย่างละเอียดว่าเป็นปกติดีอยู่หรือไม่อีกครั้ง ในช่วงดังกล่าวควรเก็บโปรแกรม
นี้ที่สารองไปขณะที่ติดไวรัสอยู่ไว้เผื่อว่าภายหลังพบว่าโปรแกรมทางานไม่เป็นไปตามปกติ ก็
สามารถลองเรียกโปรแกรมจัดการไวรัสตัวอื่นขึ้นมากาจัดต่อไปได้ในภายหลัง แต่ถ้าแน่ใจว่า
โปรแกรมทางานเป็นปกติดี ก็ทาการลบโปรแกรมสารองที่ยังติดไวรัสติดอยู่ทิ้งไปทันที เป็นการ
ป้องกันไม่ให้มีการเรียกขึ้นมาใช้งานภายหลังเพราะความบังเอิญได้
ไวรัสคอมพิวเตอร์ตัวสาคัญของโลก
ปี 1982 "เอลก์ โคลนเนอร์ (Elk Cloner)" เป็นไวรัสตัวแรกของโลกที่เข้าไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
ของผู้ใช้ ทั่วโลก โดยผ่านฟล็อปดิสก์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ "แอปเปิ้ล II" และจะขึ้นคากลอนของ "ริช สเค
รนต้า"
ปี 1986 "เบรน (Brain)" เป็นไวรัสตัวแรกที่เข้าไปในระบบ "ดอส" ของไมโครซอฟต์เป็นฝีมือของสองพี่
น้องชาวปากีสถาน ไวรัสจะทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดเชื้อขึ้นเบอร์โทรศัพท์ร้านซ่อม คอมพิวเตอร์ของ
พวกเขา
ปี 1988 "มอร์ริส (Morris)" เป็นหนอนคอมพิวเตอร์ หรือโปรแกรมที่ถูกออกแบบมาให้มีความสามารถใน
การทาสาเนาตัวเองด้วยโค้ดที่ อยู่ในตัวมันเองโดยอิสระ ไม่ต้องรอการเรียกใช้งานจากผู้ใช้ หนอน
คอมพิวเตอร์จะทาการแพร่กระจายตัวเองจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีก เครื่องหนึ่ง โดยอาศัยระบบ
เครือข่ายที่สามารถแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็วและทาความเสียหาย ได้
สาหรับ "มอร์ริส" เขียนโดยบุตรชายของเจ้าหน้าที่ระดับสูงในรัฐบาลและเป็นผู้วชาญด้านความ ปลอดภัย
คอมพิวเตอร์ และเป็นผู้ที่เรียนจบจากมหาวิทยาลัยคอร์แนล ทาให้คอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยและทหาร
เสียหายกว่า 6,000 เครื่อง โดยการแพร่ผ่านอินเตอร์เน็ต
ปี 1999 "เมลิสซา (Melissa)" เป็นไวรัสตัวแรกๆ ที่แพร่ผ่านอีเมล์ เมื่อผู้เปิดอีเมล์ติดเชื้อไวรัส ไวรัสจะก๊อบ
ตัวเองส่งไปยังตามอีเมล์แอดเดรส 50 ที่อยู่แรก ทาให้ไวรัสแพร่ไปทั่วโลกอย่างรวดเร็ว
ปี 2000 "เลิฟบั๊ก (Love Bug)" แพร่โดยอีเมล์เช่นกัน โดยจะหลอกผู้รับว่าเป็นจดหมายรัก ทาให้ผู้รับรีบเปิด
อีเมล์ดูโดยไม่ทันเฉลียวใจว่าถูกหลอก
ปี 2001 "โค้ดเรด (Code Red)" เป็น "หนอนเครือข่าย" ตัวแรกๆ ที่เข้าไปทาลายจุดอ่อนของซอฟต์แวร์
ไมโครซอฟต์ และแพร่ไปยังคอมพิวเตอร์อื่นๆ อย่างรวดเร็ว เพราะแพร่ผ่านโดย "ระบบเครือข่าย" ไม่ต้องรอ
ให้ผู้ใช้เข้ามาเปิดอีเมล์
ปี 2003 "แบลสเตอร์ (Blaster)" ฉวยโอกาสที่รู้จุดอ่อนของซอฟต์แวร์ไมโครซอฟต์ และเกิดขึ้นพร้อมๆ กับ
ไวรัส "โซบิ๊ก" ทาให้ทางไมโครซอฟต์ถึงกับเสนอรางวัลให้กับผู้ที่ชี้เบาะแสกับทางการหาตัวและ นาผู้ที่
เขียนไวรัสมาลงโทษ
ปี 2004 "แซสเซอร์ (Sasser)" เด็กวัยรุ่นชาวเยอรมันเป็นผู้เขียนหนอนนี้ แพร่โดยอาศัยช่องโหว่จาก
ระบบปฏิบัติการวินโดว์สของไมโครซอฟต์ ความเสียหายจากแซสเซอร์ มีตั้งแต่ทาลายระบบคอมพิวเตอร์
อ้างอิง
https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet1/software/virus/#virus2
ไวรัส
ไวรัส
ไวรัส
ไวรัส
ไวรัส
ไวรัส
ไวรัส
ไวรัส
ไวรัส

More Related Content

What's hot

รวมโครงงานหลัก 1 (1)
รวมโครงงานหลัก 1 (1)รวมโครงงานหลัก 1 (1)
รวมโครงงานหลัก 1 (1)Supanan Fom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Jom-Jam HulaHula
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมพัน พัน
 
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้นรายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้นพัน พัน
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาVisiene Lssbh
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบLorpiyanon Krittaya
 
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีNattawut Kathaisong
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดAraya Chiablaem
 
การตากผ้า (Clothes drying)
การตากผ้า (Clothes drying)การตากผ้า (Clothes drying)
การตากผ้า (Clothes drying)Beerza Kub
 
โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน Jaturaphun Boontom
 
คู่มือ Handbook app inventor
คู่มือ Handbook app inventorคู่มือ Handbook app inventor
คู่มือ Handbook app inventorAreefin Kareng
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์tangonjr
 
รายงายโมบายหอย
รายงายโมบายหอยรายงายโมบายหอย
รายงายโมบายหอยChanatip Lovanit
 
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุงโครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุงPornthip Nabnain
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Thananya Pon
 

What's hot (20)

รวมโครงงานหลัก 1 (1)
รวมโครงงานหลัก 1 (1)รวมโครงงานหลัก 1 (1)
รวมโครงงานหลัก 1 (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
 
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้นรายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
 
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบโครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
โครงงานเรื่อง กล้วยฉาบ
 
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
 
การตากผ้า (Clothes drying)
การตากผ้า (Clothes drying)การตากผ้า (Clothes drying)
การตากผ้า (Clothes drying)
 
โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน โครงงานน้ำยาล้างจาน
โครงงานน้ำยาล้างจาน
 
คู่มือ Handbook app inventor
คู่มือ Handbook app inventorคู่มือ Handbook app inventor
คู่มือ Handbook app inventor
 
Ton
TonTon
Ton
 
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
ใบงาน 1.4 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิมเตอร์
 
Microsoft word คำนำ
Microsoft word   คำนำMicrosoft word   คำนำ
Microsoft word คำนำ
 
รายงายโมบายหอย
รายงายโมบายหอยรายงายโมบายหอย
รายงายโมบายหอย
 
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุงโครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 

Viewers also liked

Calendario juegos lnbpf 2014 sh
Calendario juegos lnbpf 2014 shCalendario juegos lnbpf 2014 sh
Calendario juegos lnbpf 2014 shagssports.com
 
Universo de Si - canto e fotografia como fontes de identidade
Universo de Si - canto e fotografia como fontes de identidadeUniverso de Si - canto e fotografia como fontes de identidade
Universo de Si - canto e fotografia como fontes de identidadeYvana Crizanto
 
алгоритм ввода нового продукта
алгоритм ввода нового продуктаалгоритм ввода нового продукта
алгоритм ввода нового продуктаFoodRussiaSchool
 
สังคมและเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
สังคมและเศรษฐกิจสมัยอยุธยาสังคมและเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
สังคมและเศรษฐกิจสมัยอยุธยาพัน พัน
 
Программы Unit-linked от А до Я
Программы Unit-linked от А до ЯПрограммы Unit-linked от А до Я
Программы Unit-linked от А до ЯSergey Donin
 
สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-1page
สไลด์  ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-1pageสไลด์  ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-1page
สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
แจกันสวยด้วยขวดใส
แจกันสวยด้วยขวดใสแจกันสวยด้วยขวดใส
แจกันสวยด้วยขวดใสพัน พัน
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดพัน พัน
 
Diferentes razas de perros
Diferentes razas de perrosDiferentes razas de perros
Diferentes razas de perrosAprende de Todo
 
Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2wuttichat
 
ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1oraneehussem
 
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์Lilrat Witsawachatkun
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 

Viewers also liked (19)

Garage Door Co Issaquah
Garage Door Co IssaquahGarage Door Co Issaquah
Garage Door Co Issaquah
 
Calendario juegos lnbpf 2014 sh
Calendario juegos lnbpf 2014 shCalendario juegos lnbpf 2014 sh
Calendario juegos lnbpf 2014 sh
 
inter_commerce
inter_commerceinter_commerce
inter_commerce
 
Universo de Si - canto e fotografia como fontes de identidade
Universo de Si - canto e fotografia como fontes de identidadeUniverso de Si - canto e fotografia como fontes de identidade
Universo de Si - canto e fotografia como fontes de identidade
 
алгоритм ввода нового продукта
алгоритм ввода нового продуктаалгоритм ввода нового продукта
алгоритм ввода нового продукта
 
Educación y Medios: Radio
Educación y Medios: RadioEducación y Medios: Radio
Educación y Medios: Radio
 
Caminar solo
Caminar soloCaminar solo
Caminar solo
 
สังคมและเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
สังคมและเศรษฐกิจสมัยอยุธยาสังคมและเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
สังคมและเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
Программы Unit-linked от А до Я
Программы Unit-linked от А до ЯПрограммы Unit-linked от А до Я
Программы Unit-linked от А до Я
 
สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-1page
สไลด์  ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-1pageสไลด์  ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-1page
สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่น+518+dltvhisp1+55t2his p01 f13-1page
 
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
 
แจกันสวยด้วยขวดใส
แจกันสวยด้วยขวดใสแจกันสวยด้วยขวดใส
แจกันสวยด้วยขวดใส
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
 
Diferentes razas de perros
Diferentes razas de perrosDiferentes razas de perros
Diferentes razas de perros
 
Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2
 
ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1
 
Plan des cours m1
Plan des cours m1Plan des cours m1
Plan des cours m1
 
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 

Similar to ไวรัส

ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์Teng44
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์nickeylivy
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์Tidatep Kunprabath
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์Tidatep Kunprabath
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์phataravarin89
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นก
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นกอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นก
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นกumpaiporn
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อันชัน
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อันชันอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อันชัน
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อันชันanchan38
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์onaree
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11Tidatep Kunprabath
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11Tidatep Kunprabath
 
ไวรัส คือ ??
ไวรัส คือ ??ไวรัส คือ ??
ไวรัส คือ ??Amporn Patin
 
สมพร เหมทานนท์
สมพร เหมทานนท์สมพร เหมทานนท์
สมพร เหมทานนท์Jiraprapa Noinoo
 
slidevirus
slidevirusslidevirus
slidevirusZull QR
 
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2พ่อ อาชีวะ
 

Similar to ไวรัส (20)

Virus
VirusVirus
Virus
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์
 
ดาว
ดาวดาว
ดาว
 
ดาว
ดาวดาว
ดาว
 
ดาว
ดาวดาว
ดาว
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นก
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นกอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นก
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ นก
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อันชัน
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อันชันอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อันชัน
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ อันชัน
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
 
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์11
 
ไวรัส คือ ??
ไวรัส คือ ??ไวรัส คือ ??
ไวรัส คือ ??
 
งานธิดารัตน์
งานธิดารัตน์งานธิดารัตน์
งานธิดารัตน์
 
สมพร เหมทานนท์
สมพร เหมทานนท์สมพร เหมทานนท์
สมพร เหมทานนท์
 
โปรแกรมไม่พึงประสงค์
โปรแกรมไม่พึงประสงค์โปรแกรมไม่พึงประสงค์
โปรแกรมไม่พึงประสงค์
 
slidevirus
slidevirusslidevirus
slidevirus
 
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2
ไวรัส คอมพิวเตอร์ V2
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ไวรัส

  • 1. 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จัดทาโดย นายบัญชา แซ่อัง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 เลขที่ 5 เสนอ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา วิชา คอมพิวเตอร์ (ง302010) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
  • 2. คานา รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา คอมพิวเตอร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่5 โดยมีจุดประสงค์ ทาขึ้นเพื่อศึกษาการทางานและป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาความรู้เกียวกับ ไวรัสคอมพิวเตอร์ ในเรื่องประวัติความเป็นมา ประเภทของไวรัส อาการของเครื่องที่ติดไวรัส คาแนะนาการป้องกันไวรัส การกาจัดไวรัส ข้าพเจ้าเลือกหัวข้อนี้ในการทางาน เนื่องมาจากเป็น เรื่องที่น่าสนใจ และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง ข้าพเจ้าหวังว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ที่กาลังหา ข้อมูลเรื่องนี้อยู่หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย ผู้จัดทำ วันที่ 3/3/2559
  • 3. สารบัญ ชื่อเรื่อง หน้า 1.ไวรัสคืออะไร.....................................................................................................1 2.ประเภทของไวรัส……………………………………………………………..2 3.อาการของเครื่องที่ติดไวรัส……………………………………………………7 4.การตรวจสอบการเปลี่ยนแปลง………………………………………………..8 5.การเฝ้าดู………………………………………………………………………..9 6.คาแนะนา……………………………………………………………………...10 7.การกาจัดไวรัส…………………………………………………………………11 8.ไวรัสตัวสาคัญของโลก.......................................................................................14
  • 4.
  • 5. 1 ไวรัส คือ อะไร ? ไวรัส คือโปรแกรมชนิดหนึ่งที่มีความสามารถในการสาเนาตัวเองเข้าไป ติดอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ได้และถ้ามีโอกาสก็สามารถแทรกเข้าไป ระบาดในระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ซึ่งอาจเกิดจากการนาเอาดิสก์ที่ติด ไวรัสจากเครื่องหนึ่งไปใช้อีกเครื่องหนึ่ง หรืออาจผ่านระบบเครือข่าย หรือระบบสื่อสารข้อมูลไวรัสก็อาจแพร่ระบาดได้เช่นกัน การที่คอมพิวเตอร์ใดติดไวรัส หมายถึงว่าไวรัสได้เข้าไปผังตัวอยู่ใน หน่วยความจา คอมพิวเตอร์ เรียบร้อยแล้ว เนื่องจากไวรัสก็เป็นแค่ โปรแกรม ๆ หนึ่งการที่ไวรัสจะเข้าไปอยู่ ในหน่วยความจาได้นั้นจะต้อง มีการถูกเรียกให้ทางานได้นั้นยังขึ้นอยู่กับประเภทของไวรัส แต่ละตัว ปกติผู้ใช้มักจะไม่รู้ตัวว่าได้ทาการปลุกคอมพิวเตอร์ไวรัสขึ้นมาทางาน แล้ว จุดประสงค์ของการทางานของไวรัสแต่ละตัวขึ้นอยู่กับตัวผู้เขียน โปรแกรมไวรัสนั้น เช่น อาจสร้างไวรัสให้ไปทาลายโปรแกรมหรือข้อมูล อื่น ๆ ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ แสดงข้อความวิ่งไปมาบน หน้าจอ เป็นต้น
  • 6. ประเภทของไวรัส บูตเซกเตอร์ไวรัส Boot Sector Viruses หรือ Boot Infector Viruses คือไวรัสที่เก็บตัวเองอยู่ในบูตเซกเตอร์ ของดิสก์ การใช้งานของบูตเซกเตอร์คือ เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เริ่มทางานขึ้นมาตอนแรก เครื่อง จะเข้าไป อ่านบูตเซกเตอร์ โดยในบูตเซกเตอร์จะมีโปรแกรมเล็ก ๆ ไว้ใช้ในการเรียกระบบ ปฎิบัติการขึ้นมา ทางานอีกทีหนึ่ง บูตเซกเตอร์ไวรัสจะเข้าไปแทนที่โปรแกรมดังกล่าว และไวรัส ประเภทนี้ถ้าไปติด อยู่ในฮาร์ดดิสก์ โดยทั่วไป จะเข้าไปอยู่บริเวณที่เรียกว่า Master Boot Sector หรือ Parition Table ของฮาร์ดดิสก์นั้น ถ้าบูตเซกเตอร์ของดิสก์ใดมีไวรัสประเภทนี้ติดอยู่ ทุก ๆ ครั้งที่บูตเครื่องขึ้นมาโดย พยายามเรียก ดอสจากดิสก์นี้ ตัวโปรแกรมไวรัสจะทางานก่อนและจะเข้าไปฝังตัวอยู่ใน หน่วยความจาเพื่อ เตรียมพร้อมที่ จะทางานตามที่ได้ถูกโปรแกรมมา แล้วตัวไวรัสจึงค่อยไป เรียกดอสให้ขึ้นมาทางาน ต่อไป ทาให้เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น
  • 7. โปรแกรมไวรัส Program Viruses หรือ File Intector Viruses เป็นไวรัสอีกประเภทหนึ่งที่จะติดอยู่กับโปรแกรม ซึ่ง ปกติก็คือ ไฟล์ที่มีนามสกุลเป็น COM หรือ EXE และบางไวรัสสามารถเข้า ไปติดอยู่ในโปรแกรมที่ มีนามสกุลเป็น sys และโปรแกรมประเภท Overlay Programsได้ด้วย โปรแกรมโอเวอร์เลย์ปกติจะ เป็นไฟล์ที่มีนามสกุลที่ขึ้นต้นด้วย OV วิธีการที่ไวรัสใช้เพื่อที่จะ เข้าไปติดโปรแกรมมีอยู่สองวิธี คือ การแทรกตัวเองเข้าไปอยู่ในโปรแกรมผลก็คือหลังจากท ีีี่ โปรแกรมนั้นติดไวรัสไปแล้ว ขนาดของโปรแกรมจะใหญ่ขึ้น หรืออาจมีการสาเนาตัวเองเข้าไปทับส่วนของโปรแกรมที่มีอยู่เดิม ดังนั้นขนาดของโปรแกรมจะไม่เปลี่ยนและยากที่ จะซ่อมให้กลับเป็นดังเดิม การทางานของไวรัส โดยทั่วไป คือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมที่ติดไวรัส ส่วนของไวรัสจะทางาน ก่อนและจะถือโอกาสนี้ฝังตัวเข้าไปอยู่ในหน่วยความจาทันทีแล้วจึงค่อยให้ โปรแกรมนั้นทางาน ตามปกติต่อไป เมื่อไวรัสเข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยความจาแล้ว หลัง จากนี้ไปถ้ามีการเรียกโปรแกรม อื่น ๆ ขึ้นมาทางานต่อ ตัวไวรัสก็จะสาเนาตัวเองเข้าไป ในโปรแกรมเหล่านี้ทันที เป็นการแพร่ ระบาดต่อไป วิธีการแพร่ระบาดของโปรแกรม ไวรัสอีกแบบหนึ่งคือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมที่มีไวรัสติดอยู่ ตัว ไวรัสจะเข้าไปหาโปรแกรมอื่น ๆ ที่อยู่ในดิสก์เพื่อทาสาเนาตัวเองลงไปทันทีแล้วจึงค่อยให้ โปรแกรมที่ถูกเรียก นั้นทางานตามปกติต่อไป
  • 8. ม้าโทรจัน ม้าโทรจัน (Trojan Horse) เป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาให้ทาตัวเหมือนว่าเป็น โปรแกรม ธรรมดาทั่ว ๆ ไป เพื่อหลอกล่อผู้ใช้ให้ทาการเรียกขึ้นมาทางาน แต่เมื่อ ถูกเรียกขึ้นมาแล้ว ก็จะเริ่ม ทาลายตามที่โปรแกรมมาทันที ม้าโทรจันบางตัวถูกเขียนขึ้นมาใหม่ทั้ง ชุด โดยคนเขียนจะทาการ ตั้งชื่อโปรแกรมพร้อมชื่อรุ่นและคาอธิบายการใช้งานที่ดูสมจริง เพื่อหลอกให้คนที่จะเรียกใช้ตายใจ จุดประสงค์ของคนเขียนม้าโทรจันอาจจะเช่นเดียวกับคนเขียนไวรัส คือ เข้าไปทา อันตรายต่อข้อมูล ที่มีอยู่ในเครื่อง หรืออาจมีจุดประสงค์เพื่อที่จะล้วงเอาความลับของระบบ คอมพิวเตอร์ ม้าโทรจันนี้อาจจะถือว่าไม่ใช่ไวรัส เพราะเป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาโดด ๆ และจะไม่มีการเข้า ไปติดในโปรแกรมอื่นเพื่อสาเนาตัวเอง แต่จะใช้ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของ ผู้ใช้เป็นตัวแพร่ระบาด ซอฟต์แวร์ที่มีม้าโทรจันอยู่ในนั้นและนับว่าเป็นหนึ่งในประเภทของโปรแกรม ที่มีความอันตรายสูง เพราะยากที่จะตรวจสอบและสร้างขึ้นมาได้ง่าย ซึ่งอาจใช้แค่แบตซ์ไฟล์ก็สามารถโปรแกรม ประเภทม้าโทรจันได้
  • 9. โพลีมอร์ฟิกไวรัส Polymorphic Viruses เป็นชื่อที่ใช้ในการเรียกไวรัสที่มีความสามารถในการแปรเปลี่ยนตัวเอง ได้ เมื่อมีสร้างสาเนาตัวเองเกิดขึ้น ซึ่งอาจได้หถึงหลายร้อยรูปแบบ ผลก็คือ ทาให้ไวรัสเหล่านี้ยากต่อ การถูกตรวจจับ โดยโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใช้วิธีการสแกนอย่างเดียว ไวรัสใหม่ ๆ ในปัจจุบันที่ มีความสามารถนี้เริ่มมีจานวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
  • 10. สทีลต์ไวรัส Stealth Viruses เป็นชื่อเรียกไวรัสที่มีความสามารถในการพรางตัวต่อการตรวจจับได้ เช่น ไฟล์อิน เฟกเตอร์ ไวรัสประเภทที่ไปติดโปรแกรมใดแล้วจะทาให้ขนาดของ โปรแกรมนั้นใหญ่ขึ้น ถ้า โปรแกรมไวรัสนั้นเป็นแบบสทีลต์ไวรัส จะไม่สามารถตรวจดูขนาดที่แท้จริง ของโปรแกรมที่ เพิ่มขึ้นได้เนื่องจากตัว ไวรัสจะเข้าไปควบคุมดอส เมื่อมีการใช้คาสั่ง DIR หรือโปรแกรมใดก็ตาม เพื่อตรวจดูขนาดของโปรแกรม ดอสก็จะแสดงขนาดเหมือนเดิม ทุกอย่างราวกับว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น
  • 11. อาการของเครื่องที่ติดไวรัส สามารถสังเกตุการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ถ้ามีอาการดังต่อไปนี้อาจเป็นไปได้ว่าได้มีไวรัสเข้าไปติด อยู่ในเครื่องแล้ว อาการที่ว่านั้นได้แก่  ใช้เวลานานผิดปกติในการเรียกโปรแกรมขึ้นมาทางาน  ขนาดของโปรแกรมใหญ่ขึ้น  วันเวลาของโปรแกรมเปลี่ยนไป  ข้อความที่ปกติไม่ค่อยได้เห็นกลับถูกแสดงขึ้นมาบ่อย ๆ  เกิดอักษรหรือข้อความประหลาดบนหน้าจอ  เครื่องส่งเสียงออกทางลาโพงโดยไม่ได้เกิดจากโปรแกรมที่ใช้อยู่  แป้นพิมพ์ทางานผิดปกติหรือไม่ทางานเลย  ขนาดของหน่วยความจาที่เหลือลดน้อยกว่าปกติ โดยหาเหตุผลไม่ได้  ไฟล์แสดงสถานะการทางานของดิสก์ติดค้างนานกว่าที่เคยเป็น  ไฟล์ข้อมูลหรือโปรแกรมที่เคยใช้อยู่ ๆ ก็หายไป  เครื่องทางานช้าลง  เครื่องบูตตัวเองโดยไม่ได้สั่ง  ระบบหยุดทางานโดยไม่ทราบสาเหตุ  เซกเตอร์ที่เสียมีจานวนเพิ่มขึ้นโดยมีการรายงานว่าจานวนเซกเตอร์ที่เสียมีจานวน เพิ่มขึ้นกว่าแต่ก่อนโดยที่  ยังไม่ได้ใช้โปรแกรมใดเข้าไปตรวจหาเลย
  • 12. การตรวจการเปลี่ยนแปลง การตรวจการเปลี่ยนแปลง คือ การหาค่าพิเศษอย่างหนึ่งที่เรียกว่า เช็คซัม (Checksum) ซึ่งเกิดจาก การนาเอาชุดคาสั่งและ ข้อมูลที่อยู่ในโปรแกรมมาคานวณ หรืออาจใช้ข้อมูลอื่น ๆ ของไฟล์ ได้แก่ แอตริบิวต์ วันและเวลา เข้ามารวมในการคานวณด้วย เนื่องจากทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นคาสั่ง หรือข้อมูลที่อยู่ในโปรแกรม จะถูกแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง เราจึงสามารถนาเอาตัวเลขเหล่านี้มา ผ่านขั้นตอนการคานวณทางคณิตศาสตร์ได้ซึ่งวิธีการคานวณเพื่อหาค่าเช็คซัมนี้มีหลายแบบ และมี ระดับการตรวจสอบแตกต่างกันออกไป เมื่อตัวโปรแกรม ภายในเกิดการเปลี่ยนแปลง ไม่ว่าไวรัส นั้นจะใช้วิธีการแทรกหรือเขียนทับก็ตาม เลขที่ได้จากการคานวณครั้งใหม่ จะเปลี่ยนไปจากที่ คานวณได้ก่อนหน้านี้ ข้อดีของการตรวจการเปลี่ยนแปลงก็คือ สามารถตรวจจับไวรัสใหม่ ๆ ได้และยังมีความสามารถใน การตรวจจับไวรัสประเภทโพลีมอร์ฟิกไวรัสได้อีกด้วย แต่ก็ยังยากสาหรับสทีลต์ไวรัส ทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับความฉลาดของโปรแกรมตรวจหาไวรัสเองด้วยว่าจะสามารถถูกหลอกโดยไวรัสประเภทนี้ได้ หรือไม่ และมีวิธีการตรวจการเปลี่ยนแปลงนี้จะตรวจจับไวรัสได้ก็ต่อเมื่อไวรัสได้เข้าไปติดอยู่ใน เครื่องแล้วเท่านั้น และค่อนข้างเสี่ยงในกรณีที่เริ่มมีการคานวณหาค่าเช็คซัมเป็นครั้งแรก เครื่องที่ใช้ ต้องแน่ใจว่าบริสุทธิ์พอ คือต้องไม่มีโปรแกรมใด ๆ ติดไวรัส มิฉะนั้นค่าที่หาได้จากการคานวณที่ รวมตัวไวรัสเข้าไปด้วย ซึ่งจะลาบากภายหลังในการที่จะตรวจหาไวรัสตัวนี้ต่อไป
  • 13. การเฝ้าดู เพื่อที่จะให้โปรแกรมตรวจจับไวรัสสามารถเฝ้าดูการทางานของเครื่องได้ตลอดเวลานั้น จึงได้มี โปรแกรมตรวจจับไวรัสที่ถูกสร้งขึ้นมาเป็นโปรแกรมแบบเรซิเดนท์หรือ ดีไวซ์ไดรเวอร์ โดย เทคนิคของการเฝ้าดูนั้นอาจใช้วิธีการสแกนหรือตรวจการเปลี่ยนแปลงหรือสองแบบรวมกันก็ได้ การทางานโดยทั่วไปก็คือ เมื่อซอฟแวร์ตรวจจับไวรัสที่ใช้วิธีนี้ถูกเรียกขึ้นมาทางานก็จะเข้าไปตรวจ ในหน่วยความจาของเครื่องก่อนว่ามีไวรัสติดอยู่หรือไม่โดยใช้ไวรัสซิกเนเจอร์ ที่มีอยู่ในฐานข้อมูล จากนั้นจึงค่อยนาตัวเองเข้าไปฝังอยู่ในหน่วยความจา และต่อไปถ้ามีการเรียกโปรแกรมใดขึ้นมาใช้ งาน โปรแกรมเฝ้าดูนี้ก็จะเข้าไปตรวจโปรแกรมนั้นก่อน โดยใช้เทคนิคการสแกนหรือตรวจการ เปลี่ยนแปลงเพื่อหาไวรัส ถ้าไม่มีปัญหา ก็จะอนุญาตให้โปรแกรมนั้นขึ้นมาทางานได้ นอกจากนี้ โปรแกรมตรวจจับ ไวรัสบางตัวยังสามารถตรวจสอบขณะที่มีการคัดลอกไฟล์ได้อีกด้วย ข้อดีของวิธีนี้คือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมใดขึ้นมา โปรแกรมนั้นจะถูกตรวจสอบก่อนทุกครั้งโดย อัตโนมัติ ซึ่งถ้าเป็นการใช้สแกนเนอร์ จะสามารถทราบได้ว่าโปรแกรมใดติดไวรัสอยู่ ก็ต่อเมื่อทา การเรียกสแกนเนอร์นั้นขึ้นมาทางานก่อนเท่านั้น ข้อเสียของโปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูก็คือ จะมีเวลาที่เสียไปสาหรับการตรวจหาไวรัสก่อน ทุกครั้ง และเนื่องจากเป็นโปรแกรมแบบเรซิเดนท์หรือดีไวซ์ไดรเวอร์ จึงจาเป็นจะต้องใช้ หน่วยความจาส่วนหนึ่งของเครื่องตลอดเวลาเพื่อทางาน ทาให้หน่วยความจาในเครื่องเหลือน้อยลง และเช่นเดียวกับสแกนเนอร์ ก็คือ จาเป็นจะต้องมีการปรับปรุง ฐานข้อมูลของไวรัสซิกเนเจอร์ให้ ทันสมัยอยู่เสมอ
  • 14. คาแนะนา  สารองไฟล์ข้อมูลที่สาคัญ  สาหรับเครื่องที่มีฮาร์ดดิสก์ อย่าเรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์  ป้องกันการเขียนให้กับฟลอปปีดิสก์  อย่าเรียกโปรแกรมที่ติดมากับดิสก์อื่น  เสาะหาโปรแกรมตรวจหาไวรัสที่ใหม่และมากกว่าหนึ่งโปรแกรมจากคนละบริษัท  เรียกใช้โปรแกรมตรวจหาไวรัสเป็นช่วง ๆ  เรียกใช้โปรแกรมตรวจจับไวรัสแบบเฝ้าดูทุกครั้ง  เลือกคัดลอกซอฟแวร์เฉพาะที่ถูกตรวจสอบแล้วในบีบีเอส  สารองข้อมูลที่สาคัญของฮาร์ดดิสก์ไปเก็บในฟลอปปีดิสก์  เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่ไว้สาหรับให้เรียกดอสขึ้นมาทางานได้  เมื่อเครื่องติดไวรัส ให้พยายามหาที่มาของไวรัสนั้น
  • 15. การกาจัดไวรัส เมื่อแน่ใจว่าเครื่องติดไวรัสแล้ว ให้ทาการแก้ไขด้วยความใคร่ครวญและระมัดระวังอย่างมาก เพราะบางครั้ง ตัวคนแก้เองจะเป็นตัวทาลายมากกว่าตัวไวรัสจริง ๆ เสียอีก การฟอร์แมตฮาร์ดดิสก์ใหม่อีกครั้งก็ไม่ใช่ วิธีที่ ดีที่สุดเสมอไป ยิ่งแย่ไปกว่านั้นถ้าทาไปโดยยังไม่ได้มีการสารองข้อมูลขึ้นมาก่อน การแก้ไขนั้นถ้าผู้ใช้มี ความรู้เกี่ยวกับไวรัสที่ กาลังติดอยู่ว่าเป็นประเภทใดก็จะช่วยได้อย่างมาก และข้อเสนอแนะต่อไปนี้อาจจะมี ประโยชน์ต่อท่าน
  • 16. บูตเครื่องใหม่ทันทีที่ทราบว่าเครื่องติดไวรัส เมื่อทราบว่าเครื่องติดไวรัส ให้ทาการบูตเครื่องใหม่ทันที โดยเรียกดอสขึ้นมาทางานจากฟลอปปี ดิสก์ที่ได้เตรียมไว้ เพราะถ้าไปเรียกดอสจากฮาร์ดดิสก์ เป็นไปได้ว่า ตัวไวรัสอาจกลับเข้าไปใน หน่วยความจาได้อีก เมื่อเสร็จขั้นตอนการเรียกดอสแล้ว ห้ามเรียกโปรแกรมใด ๆ ก็ตามในดิสก์ที่ติด ไวรัส เพราะไม่ทราบว่าโปรแกรมใดบ้างที่มีไวรัสติดอยู่
  • 17. เรียกโปรแกรมจัดการไวรัสขั้นมาตรวจหาและทาลาย ให้เรียกโปรแกรมตรวจจับไวรัส เพื่อตรวจสอบดูว่ามีโปรแกรมใดบ้างติดไวรัส ถ้าโปรแกรมตรวจ หาไวรัสที่ใช้อยู่สามารถกาจัดไวรัสตัวที่พบได้ก็ให้ลองทาดู แต่ก่อนหน้านี้ให้ทาการคัดลอกเพื่อ สารองโปรแกรมที่ติดไวรัสไปเสียก่อน โดยโปรแกรมจัดการไวรัสบางโปรแกรมสามารถสั่งให้ทา สารองโปรแกรมที่ติดไวรัสไปเป็นอีกชื่อหนึ่งก่อนที่จะกาจัดไวรัส เช่น MSAV ของดอสเอง เป็น ต้น การทาสารองก็เพราะว่า เมื่อไวรัสถูกกาจัดออกจากฌปรแกรมไป โปรแกรมนั้นอาจไม่สามารถ ทางานได้ตามปกติ หรือทางานไม่ได้เลยก็เป็นไปได้วิธีการตรวจขั้นต้นคือ ให้ลอง เปรียบเทียบ ขนาดของโปรแกรมหลังจากที่ถูกกาจัดไวรัสไปแล้วกับขนาดเดิม ถ้ามีขนาดน้อยกว่า แสดงว่าไม่ สาเร็จ หากเป็นเช่นนั้นให้เอาโปรแกรมที่ติดไวรัสที่สารองไว้แล้วหาโปรแกรมจัดการ ไวรัสตัวอื่น มาใช้แทน แต่ถ้ามีขนาดมากกว่าหรือเท่ากับของเดิม เป็นไปได้ว่าการกาจัดไวรัสอาจสาเร็จ โดยอาจ ลองเรียกโปรแกรมตรวจหาไวรัสเพื่อทดสอบโปรแกรมอีกครั้ง หากผลการตรวจสอบออกมาว่าปลอดเชื้อ ก็ให้ลองเรียกโปรแกรมที่ถูกกาจัดไวรัสไปนั้นขึ้นมา ทดสอบการทางานดูอย่างละเอียดว่าเป็นปกติดีอยู่หรือไม่อีกครั้ง ในช่วงดังกล่าวควรเก็บโปรแกรม นี้ที่สารองไปขณะที่ติดไวรัสอยู่ไว้เผื่อว่าภายหลังพบว่าโปรแกรมทางานไม่เป็นไปตามปกติ ก็ สามารถลองเรียกโปรแกรมจัดการไวรัสตัวอื่นขึ้นมากาจัดต่อไปได้ในภายหลัง แต่ถ้าแน่ใจว่า โปรแกรมทางานเป็นปกติดี ก็ทาการลบโปรแกรมสารองที่ยังติดไวรัสติดอยู่ทิ้งไปทันที เป็นการ ป้องกันไม่ให้มีการเรียกขึ้นมาใช้งานภายหลังเพราะความบังเอิญได้
  • 18. ไวรัสคอมพิวเตอร์ตัวสาคัญของโลก ปี 1982 "เอลก์ โคลนเนอร์ (Elk Cloner)" เป็นไวรัสตัวแรกของโลกที่เข้าไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ของผู้ใช้ ทั่วโลก โดยผ่านฟล็อปดิสก์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ "แอปเปิ้ล II" และจะขึ้นคากลอนของ "ริช สเค รนต้า" ปี 1986 "เบรน (Brain)" เป็นไวรัสตัวแรกที่เข้าไปในระบบ "ดอส" ของไมโครซอฟต์เป็นฝีมือของสองพี่ น้องชาวปากีสถาน ไวรัสจะทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดเชื้อขึ้นเบอร์โทรศัพท์ร้านซ่อม คอมพิวเตอร์ของ พวกเขา ปี 1988 "มอร์ริส (Morris)" เป็นหนอนคอมพิวเตอร์ หรือโปรแกรมที่ถูกออกแบบมาให้มีความสามารถใน การทาสาเนาตัวเองด้วยโค้ดที่ อยู่ในตัวมันเองโดยอิสระ ไม่ต้องรอการเรียกใช้งานจากผู้ใช้ หนอน คอมพิวเตอร์จะทาการแพร่กระจายตัวเองจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังอีก เครื่องหนึ่ง โดยอาศัยระบบ เครือข่ายที่สามารถแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็วและทาความเสียหาย ได้ สาหรับ "มอร์ริส" เขียนโดยบุตรชายของเจ้าหน้าที่ระดับสูงในรัฐบาลและเป็นผู้วชาญด้านความ ปลอดภัย คอมพิวเตอร์ และเป็นผู้ที่เรียนจบจากมหาวิทยาลัยคอร์แนล ทาให้คอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยและทหาร เสียหายกว่า 6,000 เครื่อง โดยการแพร่ผ่านอินเตอร์เน็ต ปี 1999 "เมลิสซา (Melissa)" เป็นไวรัสตัวแรกๆ ที่แพร่ผ่านอีเมล์ เมื่อผู้เปิดอีเมล์ติดเชื้อไวรัส ไวรัสจะก๊อบ ตัวเองส่งไปยังตามอีเมล์แอดเดรส 50 ที่อยู่แรก ทาให้ไวรัสแพร่ไปทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ปี 2000 "เลิฟบั๊ก (Love Bug)" แพร่โดยอีเมล์เช่นกัน โดยจะหลอกผู้รับว่าเป็นจดหมายรัก ทาให้ผู้รับรีบเปิด อีเมล์ดูโดยไม่ทันเฉลียวใจว่าถูกหลอก ปี 2001 "โค้ดเรด (Code Red)" เป็น "หนอนเครือข่าย" ตัวแรกๆ ที่เข้าไปทาลายจุดอ่อนของซอฟต์แวร์ ไมโครซอฟต์ และแพร่ไปยังคอมพิวเตอร์อื่นๆ อย่างรวดเร็ว เพราะแพร่ผ่านโดย "ระบบเครือข่าย" ไม่ต้องรอ ให้ผู้ใช้เข้ามาเปิดอีเมล์ ปี 2003 "แบลสเตอร์ (Blaster)" ฉวยโอกาสที่รู้จุดอ่อนของซอฟต์แวร์ไมโครซอฟต์ และเกิดขึ้นพร้อมๆ กับ ไวรัส "โซบิ๊ก" ทาให้ทางไมโครซอฟต์ถึงกับเสนอรางวัลให้กับผู้ที่ชี้เบาะแสกับทางการหาตัวและ นาผู้ที่ เขียนไวรัสมาลงโทษ ปี 2004 "แซสเซอร์ (Sasser)" เด็กวัยรุ่นชาวเยอรมันเป็นผู้เขียนหนอนนี้ แพร่โดยอาศัยช่องโหว่จาก ระบบปฏิบัติการวินโดว์สของไมโครซอฟต์ ความเสียหายจากแซสเซอร์ มีตั้งแต่ทาลายระบบคอมพิวเตอร์