SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
บทนำ
ปัจจุบันประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทยกาลังอยู่ในระบบ “เศรษฐกิจใหม่” (New Economy) ที่มีการ
ใช้ประโยชน์จากปัจจัยการผลิตประเภท “สารสนเทศ” (Information) และ ”ความรู้” (Knowledge) ตลอดจนการ
ส่งเสริมให้สังคมมีนวัตกรรม เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันระหว่างประเทศ (National
Competitiveness) ส่งผลให้สังคมในระบบเศรษฐกิจใหม่มีการมุ่งพัฒนาไปสู่ ”สังคมแห่งภูมิปัญญาและการ
เรียนรู้” (Knowledge – based Society)
สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge – based Society) เป็นผลจากการที่ประเทศและองค์กร
ระหว่างประเทศต่างๆ ยอมรับและตระหนักว่า ความรู้ (Knowledge) มึบทบาทสาคัญในการพัฒนาทั้งด้าน
การเมือง เศรษฐกิจและสังคม ในการพัฒนาภายในประเทศและมิติการพัฒนาระหว่างประเทศ รวมทั้งความรู้
กลายเป็นปัจจัยสาคัญในการก่อให้เกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในกระแสการพัฒนาของโลกยุค
สารสนเทศและยุคปฏิวัติข้อมูลข่าวสาร หรืออาจกล่าวได้ว่า “ความรู้” ซึ่งได้แก่ความรู้ในตัวมนุษย์ความรู้ทาง
เทคโนโลยีและความรู้ในวิทยาการต่างๆ เป็นปัจจัยหลักของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ในปัจจุบันการวัดความสามารถของประเทศต่างๆ ได้เปลี่ยนจากการวัดโดยสังเกตจากอัตราการ
เจริญเติบโตของเศรษฐกิจหรือรายได้ประชาชาติต่อหัว มาเป็นการสังเกตจากอัตราส่วนของผู้ที่ทางานเป็นวัตกร
ระดับโลก ทั้งนี้เนื่องจากความรู้เป็นสิ่งกาหนดกฎ กติกาและกาไรของเศรษฐกิจใหม่ กล่าวคือ ความรู้เป็นปัจจัย
การผลิตที่สาคัญที่สุดและสามารถซื้อขายได้ การมีความรู้หรือทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) ซึ่งเป็น
สินทรัพย์ที่สาคัญที่สุดขององค์กร ความร่ารวยในเศรษฐกิจใหม่และการหาประโยชน์จากสินทรัพย์ใหม่เป็นสิ่ง
สาคัญที่สุดขององค์กร
อาจกล่าวได้ว่า ในปัจจุบันโลกเรากาลังมุ่งเน้นไปที่ “ทุนทางปัญญา” หรือ “ทุนความรู้” เนื่องจากสิ่ง
เหล่านี้ได้กลายเป็นสิ่งสาคัญในการสร้างความได้เปรียบให้กับสังคมและประเทศชาติเป็นพลังในการขับเคลื่อน
การพัฒนาสังคม การที่องค์กรต่างๆ จะมีความสามารถในการแข่งขันภายใต้ภาวะการแข่งขันที่รุนแรงในปัจจุบัน
ได้นั้น องค์กรมีความจาเป็นที่จะต้องมีความรู้และความสามารถในการบริหารการจัดการความรู้ (Knowledge
Management)

More Related Content

Similar to บทนำ

สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
domwitlism
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
praphol
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
Annop Phetchakhong
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
freelance
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
Kobwit Piriyawat
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
princess Thirteenpai
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
thanathip
 
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
guest92cc62
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
janepi49
 

Similar to บทนำ (20)

Chapter 6 gw
Chapter 6 gwChapter 6 gw
Chapter 6 gw
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
 
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดียSWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
 
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพีย...
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
 
Ru#02 20180923
Ru#02 20180923Ru#02 20180923
Ru#02 20180923
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ว่าด้วยสื่อสังคม
ว่าด้วยสื่อสังคมว่าด้วยสื่อสังคม
ว่าด้วยสื่อสังคม
 
Grown Up Digital
Grown Up DigitalGrown Up Digital
Grown Up Digital
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
 
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 

บทนำ

  • 1. บทนำ ปัจจุบันประเทศต่างๆ รวมทั้งประเทศไทยกาลังอยู่ในระบบ “เศรษฐกิจใหม่” (New Economy) ที่มีการ ใช้ประโยชน์จากปัจจัยการผลิตประเภท “สารสนเทศ” (Information) และ ”ความรู้” (Knowledge) ตลอดจนการ ส่งเสริมให้สังคมมีนวัตกรรม เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันระหว่างประเทศ (National Competitiveness) ส่งผลให้สังคมในระบบเศรษฐกิจใหม่มีการมุ่งพัฒนาไปสู่ ”สังคมแห่งภูมิปัญญาและการ เรียนรู้” (Knowledge – based Society) สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge – based Society) เป็นผลจากการที่ประเทศและองค์กร ระหว่างประเทศต่างๆ ยอมรับและตระหนักว่า ความรู้ (Knowledge) มึบทบาทสาคัญในการพัฒนาทั้งด้าน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม ในการพัฒนาภายในประเทศและมิติการพัฒนาระหว่างประเทศ รวมทั้งความรู้ กลายเป็นปัจจัยสาคัญในการก่อให้เกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในกระแสการพัฒนาของโลกยุค สารสนเทศและยุคปฏิวัติข้อมูลข่าวสาร หรืออาจกล่าวได้ว่า “ความรู้” ซึ่งได้แก่ความรู้ในตัวมนุษย์ความรู้ทาง เทคโนโลยีและความรู้ในวิทยาการต่างๆ เป็นปัจจัยหลักของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในปัจจุบันการวัดความสามารถของประเทศต่างๆ ได้เปลี่ยนจากการวัดโดยสังเกตจากอัตราการ เจริญเติบโตของเศรษฐกิจหรือรายได้ประชาชาติต่อหัว มาเป็นการสังเกตจากอัตราส่วนของผู้ที่ทางานเป็นวัตกร ระดับโลก ทั้งนี้เนื่องจากความรู้เป็นสิ่งกาหนดกฎ กติกาและกาไรของเศรษฐกิจใหม่ กล่าวคือ ความรู้เป็นปัจจัย การผลิตที่สาคัญที่สุดและสามารถซื้อขายได้ การมีความรู้หรือทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) ซึ่งเป็น สินทรัพย์ที่สาคัญที่สุดขององค์กร ความร่ารวยในเศรษฐกิจใหม่และการหาประโยชน์จากสินทรัพย์ใหม่เป็นสิ่ง สาคัญที่สุดขององค์กร อาจกล่าวได้ว่า ในปัจจุบันโลกเรากาลังมุ่งเน้นไปที่ “ทุนทางปัญญา” หรือ “ทุนความรู้” เนื่องจากสิ่ง เหล่านี้ได้กลายเป็นสิ่งสาคัญในการสร้างความได้เปรียบให้กับสังคมและประเทศชาติเป็นพลังในการขับเคลื่อน การพัฒนาสังคม การที่องค์กรต่างๆ จะมีความสามารถในการแข่งขันภายใต้ภาวะการแข่งขันที่รุนแรงในปัจจุบัน ได้นั้น องค์กรมีความจาเป็นที่จะต้องมีความรู้และความสามารถในการบริหารการจัดการความรู้ (Knowledge Management)