SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
Layer ใน Adobe Photoshop CS5
Layer คืออะไร
สําหรับการตัดต่อภาพ สิ่งที่มีความจําเป็นคือการนําเอาเครื่องมือต่างๆ ของ Photoshop มาใช้งานร่วมกัน
และสิ่งที่สําคัญอย่างยิ่ง คือ Layer (เลเยอร์) ที่จะช่วยให้เราจัดวางรูปภาพที่นํามาประกอบกันเพื่อสร้างผลงานใหม่
ออกมา Layer เปรียบเสมือนแผ่นพลาสติกใส เมื่อเราวาด หรือวางชิ้นส่วนภาพลงบน Layer แต่ละชั้นแล้วนํามาเรียง
ซ้อนกันหลาย ๆ ชั้นจะทําให้ภาพทั้งหมดดูเหมือนเป็นชิ้นเดียวกัน โดยภาพใน Layer บนจะบัง Layer ที่อยู่ด้านล่าง
เสมอ ยกเว้นบริเวณที่โปร่งใสซึ่งจะมองทะลุไปเห็นภาพใน Layer ถัดๆ ลงไปได้
- Layer ชื่อ Background จะเป็น Layer ของไฟล์ภาพที่สร้างใหม่ หรือเปิดรูปภาพขึ้นมา
- Layer ชื่อ Layer 1, Layer 2, … คือ เลเยอร์ที่สร้างเพิ่ม หรือ Copy ภาพมาวางเพิ่ม
ประโยชน์ของ Layer คือ
ช่วยให้เราแก้ไขภาพเฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งได้ง่าย เช่น การย้ายตําแหน่ง, การปรับขนาด, ปรับสี/แสงเงา ซึ่ง
จะทําได้อย่างอิสระจากกัน นอกจากนี้เรายังสามารถสลับลําดับ และซ่อน/แสดง Layer แต่ละชั้น ทําให้ทดลองจัด
องค์ประกอบภาพแบบต่างๆ ได้หลากหลายก่อนที่จะเลือกภาพชุดสุดท้ายที่จะนําไปใช้จริง
พาเนล Layers
พาเนล Layers เป็นเครื่องมือหลักที่ใช้จัดการกับ Layer ไม่ว่าจะเป็นการ เพิ่ม/ลบ Layer, การเปลี่ยนลําดับ,
การปรับความโปร่งใส เป็นต้น เมื่อเราจะใช้ Layer เราต้องระวังว่าคําสั่งต่างๆ ส่วนใหญ่ จะมีผลต่อภาพใน Layer ที่
กําลังเลือกเท่านั้น ดังนั้นจะต้องสังเกต และเลือกเลเยอร์ที่ถูกต้องก่อนการทํางานใดๆ
Layer Style ใน Photoshop CS5
Layer style เป็นเครื่องมือในการช่วยเพิ่ม Effect ให้กับงานที่ทําใน Layer ทั้งงานตกแต่งภาพ และงาน
สร้างสรรค์ตัวอักษรข้อความต่างๆ ให้มีลักษณะพิเศษ โดดเด่น และสวยงามมากยิ่งขึ้น เช่นการกําหนดแสง - เงา การ
กําหนดความตื้น - ลึกของภาพเพื่อให้เกิดมิติ เป็นต้น
Layer Style จะถูกสร้างขึ้นมาใหม่ซ้อนทับผสานลงไปกับรูปภาพในเลเยอร์หลัก โดยในขณะที่รูปภาพต้นฉบับ
ยังคงมีรายละเอียดเหมือนเดิม
photoshop มี layer styleที่หลากหลาย ก่อนการจะใช้งานก็ควรจะมีการทําความเข้าใจเกี่ยวกับ Effect
ของเลเยอร์ ให้ได้รู้จักหน้าที่ และความสามารถ ของ Effect ต่างๆใน Layer Style เพื่อจะได้ใช้เครื่องมือเหล่านี้
สร้างสรรค์งานให้สวยงามอย่างที่ต้องการ
หมายเหตุ : หากไม่มีเลเยอร์ให้กดปุ่ม F7 บนคีย์บอร์ด
Trip : เมื่อนักเรียนวาดภาพใหม่หรือวางบรัชควรสร้างเลเยอร์ใหม่ทุกครั้ง
ตําแหน่งของ Layer
ปรับความเข้ม – จางของรูปภาพ
ใช้สําหรับลบเลเยอร์
เมื่อคลิก 1 ครั้งจะเป็นการสร้างเลเยอร์ใหม่คลิกเพื่อเปิด Layer Style
เมื่อคลิกที่รูปดวงตา เลเยอร์ที่เลือกไว้
จะมองไม่เห็น
การเปิดใช้งาน Layer Style มี 3 วิธี
วิธีที่ 1 คลิกขวาที่แถบเลเยอร์ เลือก Blending Option หรือคลิกเมาส์ที่สัญลักษณ์ ตรงแถบด้านล่าง
ของเลเยอร์ แล้วเลือกรูปแบบ Effect ที่ต้องการ
วิธีที่ 2 ดับเบิ้ลคลิกที่แถบเลเยอร์
วิธีที่ 3 ไปที่แถบ Tool Bar คลิกที่ Layer > Lsyer Style > เอฟเฟ็คที่ต้องการ จะมีไดอะล็อกซ์ของ Layer
Style ขึ้นมาซึ่งมีเครื่องมือสร้าง Effect อยู่ 10 อย่าง ได้แก่
หมายเหตุ : หากไม่มีเลเยอร์ให้กดปุ่ม F7 บนคีย์บอร์ด
หรือคลิกที่สัญลักษณ์นี้
คลิกขวาที่เลเยอร์ที่ต้องการใส่ Style แล้วเลือก
เลือก Blending Option
หรือดับเบิลคลิกที่บริเวณนี้
Drop Shadow- เป็นการใส่เงาให้กับตัวอักษรหรือรูปภาพโดยเราสามารถกําหนดทิศทางและปรับระดับความเข้มของ
เงาได้(ทําให้ตัวอักษรเหมือนดูลอยขึ้น)
Inner Shadow - เป็นการใส่เงาให้กับตัวอักษรหรือรูปภาพเช่นเดียวกับDrop Shadow แต่แตกต่างกันตรงที่เป็นการใส่
เงาแบบภายในวัตถุ(ทําให้ตัวอักษรดูเหมือนยุบลง)
Outer Glow - เป็นการใส่สีแบบฟุ้ งกระจายภายนอกวัตถุทําให้ตัวอักษรดูมีลักษณะเรืองแสงออกมา
Inner Glow - มีลักษณะเช่นเดียวกันกับOuter Glow แต่เป็นการใส่สีแบบฟุ้ งกระจายภายในวัตถุ
Bevel and Emboss - เป็นการทําให้ภาพมีลักษณะนูนในหลายๆรูปแบบโดยมีทั้งแบบนูนขึ้นและยุบลง
Satin - เป็นการใส่สีเพิ่มลงไปให้กับตัวอักษรโดยมีลักษณะเป็นเหลือบเงาและมีหลายรูปแบบไว้ให้ปรับแต่งกัน
Color Overlay - เป็นการเติมสีใหม่ทับลงไปในตัวอักษรเมื่อเรายกเลิกการใช้เอฟเฟ็กต์นี้แล้วสีเก่าจะยังคงอยู่
Gradient Overlay - เป็นการเติมสีให้ตัวอักษรในรูปแบบการไล่สีซึ่งเราสามารถกําหนดลักษณะได้
Pattern Overlay - เป็นการใส่ลวดลายแบบต่างๆลงไปในภาพ
Stroke – เป็นการใส่เส้นขอบล้อมรอบให้กับตัวอักษรหรือภาพเราสามารถกําหนดสีและความหนาของเส้น
ตัวอย่างการใช้ Layer Style
เครื่องมือปรับแต่ง Effect ต่างๆ ใน Layer Style
Drop Shadow - ใช้สร้างเงาที่ขอบด้านนอกของภาพใน Layer และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา
1. Blend Mode - ใช้กําหนดโหมดผสมสีให้กับเงาที่สร้างขึ้น เมื่อเงาไปทับกับสีอื่นๆ
2. Set color of shadow - ใช้กําหนดสีของเงา
3. Opacity - ใช้กําหนดค่าความโปร่งใสของเงา
4. Angle - ใช้กําหนดทิศทางของเงา
5. Use Global Light - ใช้กําหนดให้แสงและเงาในทุกๆ Style เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
6. Distance - ใช้กําหนดระยะห่างระหว่างภาพและเงา
7. Spread - ใช้กําหนดความคมชัดของขอบเงา
8. Size - ใช้กําหนดขนาดของเงา
9. Contour - ใช้กําหนดลักษณะของเงา
10. Noise – ใช้กําหนดค่าความแตกกระจายของเงา
Inner Shadow - ใช้สร้างเงาที่ขอบด้านในของภาพใน Layer และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา
1. Blend Mode -- ใช้กําหนดโหมดผสมสีให้กับเงาที่สร้างขึ้น เมื่อเงาไปทับกับสีอื่นๆ
2. Set color of shadow -- ใช้กําหนดสีของเงา
3. Opacity -- ใช้กําหนดค่าความโปร่งใสของเงา
4. Angle -- ใช้กําหนดทิศทางของเงา
5. Use Global Light -- ใช้กําหนดให้แสงและเงาในทุกๆ Style เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
6. Distance -- ใช้กําหนดระยะห่างระหว่างภาพและเงา
7. Choke -- ใช้กําหนดความคมชัดของขอบเงา
8. Size -- ใช้กําหนดขนาดของเงา
9. Contour -- ใช้กําหนดลักษณะของเงา
10. Noise – ใช้กําหนดค่าความแตกกระจายของเงา
Outer Glow - ใช้สร้างละอองเรืองแสงที่ขอบด้านนอกของภาพใน Layer และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา
1. Blend Mode - ใช้กําหนดโหมดผสมสีให้กับละอองที่สร้างขึ้น เมื่อละอองแสงไปทับกับสีอื่นๆ
2. Opacity - ใช้กําหนดค่าความโปร่งใสของละอองแสง
3. Noise - ใช้กําหนดค่าความแตกกระจายของละอองแสง
4. Set color of glow - ใช้กําหนดว่าละอองแสงเป็นสีเดียว และเลือกสีที่ต้องการ
5. Click to edit the gradient - ใช้กําหนดว่าละอองแสงเป็นแบบไล่สีกัน และเลือกสีที่ต้องการ
6. Technique - ใช้กําหนดรูปแบบของละอองเรืองแสง
7. Spread - ใช้กําหนดค่าความคมชัดของละอองแสง
8. Size - ใช้กําหนดขนาดของละอองแสง
9. Contour - ใช้กําหนดลักษณะของละอองแสง
10. Range – ใช้กําหนดระยะเริ่มต้นของการไล่นํ้าหนัก
Inner Glow - ใช้สร้างละอองเรืองแสงที่ขอบด้านในของภาพใน Layer และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา
1. Blend Mode - ใช้กําหนดโหมดผสมสีให้กับละอองที่สร้างขึ้น เมื่อละอองแสงไปทับกับสีอื่นๆ
2. Opacity - ใช้กําหนดค่าความโปร่งใสของละอองแสง
3. Noise - ใช้กําหนดค่าความแตกกระจายของละอองแสง
4. Set color of glow - ใช้กําหนดว่าละอองแสงเป็นสีเดียว และเลือกสีที่ต้องการ
5. Click to edit the gradient - ใช้กําหนดว่าละอองแสงเป็นแบบไล่สีกัน และเลือกสีที่ต้องการ
6. Technique - ใช้กําหนดรูปแบบของละอองเรืองแสง
7. Choke - ใช้กําหนดค่าความคมชัดของละอองแสง
8. Size - ใช้กําหนดขนาดของละอองแสง
9. Contour - ใช้กําหนดลักษณะของละอองแสง
10. Range – ใช้กําหนดระยะเริ่มต้นของการไล่นํ้าหนัก
Bevel and Emboss - ใช้สร้างแสงและเงาที่ขอบของภาพ เพื่อให้ภาพดูหนาขึ้น และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา
1. Style - ใช้กําหนดรูปแบบการทําแสงและเงาที่ขอบของภาพ
2. Technique - ใช้กําหนดรูปแบบของขอบแสงและเงา
3. Depth - ใช้กําหนดค่าความหนาของแสงและเงา
4. Direction - ใช้กําหนดว่าจะให้แสงและเงาอยู่ด้านล่างหรือด้านบน
5. Size - ใช้กําหนดขนาดของแสงและเงา
6. Angle - ใช้กําหนดทิศทางของแสงและเงา
7. Use Global Light - ใช้กําหนดให้แสงและเงาในทุกๆ Style เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
8. Attitude - ใช้กําหนดมุมกระทบของแสงและเงา
9. Gloss Contour - ใช้กําหนดลักษณะของแสงและเงา
10. Highlight Mode - ใช้กําหนดรายละเอียดส่วนที่เป็นแสงสว่าง ดังนี้โหมดผสมสี, สี, ค่าความโปร่งใส
11. Shadow Mode - ใช้กําหนดรายละเอียดส่วนที่เป็นเงามืด ดังนี้โหมดผสมสี, สี, ค่าความโปร่งใส
12. Contour - ใช้กําหนดลักษณะของแสงและเงา
13. Range - ใช้กําหนดระยะเริ่มต้นของการไล่นํ้าหนัก
14. Pattern - ใช้กําหนดลวดลายของแสงและเงา
15. Scale - ใช้กําหนดขนาดของลวดลาย
16. Depth – ใช้กําหนดค่าความชัดของลวดลาย
Satin - ใช้สร้างแสงและเงาเพื่อให้ภาพดูเป็นเหลื่อมเงา เหมือนผ้าซาติน และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา
1. Blend Mode - ใช้กําหนดโหมดผสมสี ให้กับผลจากการทํา Satin
2. Set color of effect - ใช้กําหนดค่าความโปร่งใสของ Satin
3. Angle - ใช้กําหนดมุมของการทํา Satin
4. Distance - ใช้กําหนดระยะห่างของ Satin กับขอบภาพ
5. Size - ใช้กําหนดขนาดของ Satin
6. Contour - ใช้กําหนดลักษณะของ Satin
Color Overlay - ใช้นําเฉดสีไปแทนที่ภาพ และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา
1. Blend Mode - ใช้กําหนดโหมดผสมสี เมื่อไปทับกับสีอื่น
2. Set color of overlay - ใช้กําหนดเฉดสีที่จะทําไปแทนที่ภาพ
3. Opacity – ใช้กําหนดค่าความโปร่งใส
Gradient Overlay - ใช้นําเฉดสีแบบไล่สีไปแทนที่ภาพ และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา
1. Blend Mode - ใช้กําหนดโหมดผสมสี เมื่อไปทับกับสีอื่น
2. Opacity - ใช้กําหนดค่าความโปร่งใส
3. Gradient - ใช้กําหนดรูปแบบของการไล่สี และเฉดสีที่จะนํามาไล่
4. Reverse - ใช้กําหนดให้สลับทิศทางการไล่สีกัน
5. Style - ใช้กําหนดรูปแบบการไล่สี
6. Angle - ใช้กําหนดทิศทางของการไล่สี
7. Scale – ใช้กําหนดขนาดของการไล่สี
Pattern Overlay - ใช้นําลวดลายไปแทนที่ภาพ และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา
1. Blend Mode - ใช้กําหนดโหมดผสมสี เมื่อไปทับกับสีอื่น
2. Opacity - ใช้กําหนดค่าความโปร่งใส
3. Pattern - ใช้กําหนดลวดลายที่จะนําไปแทนภาพ
4. Scale – ใช้กําหนดขนาดของลวดลาย
Stroke - ใช้สร้างเส้นขอบรอบๆภาพ และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา
1. Size - ใช้กําหนดค่าความหนาของเส้นขอบ
2. Position - ใช้กําหนดตําแหน่งที่จะวางเส้นขอบ
3. Blend Mode - ใช้กําหนดโหมดผสมสี เมื่อเส้นขอบไปทับกับสีอื่น
4. Opacity - ใช้กําหนดค่าความโปร่งใส
5. Fill Type – ใช้กําหนดรูปแบบของสี

More Related Content

Similar to Layer photoshop cs5

ใบความรู้หน่วยที่6ตัวอักษร+animation3
ใบความรู้หน่วยที่6ตัวอักษร+animation3ใบความรู้หน่วยที่6ตัวอักษร+animation3
ใบความรู้หน่วยที่6ตัวอักษร+animation3Pop Thakonwan
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop csคู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cssamnaknit
 
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop csคู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop cssurachet179
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6Khon Kaen University
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Khanittha Bumrunglan
 
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพNimanong Nim
 
Photoshop cs
Photoshop csPhotoshop cs
Photoshop csnoismart
 
การแทรกรูปภาพและอักษรประดิษฐ์
การแทรกรูปภาพและอักษรประดิษฐ์การแทรกรูปภาพและอักษรประดิษฐ์
การแทรกรูปภาพและอักษรประดิษฐ์phachanee
 
ฝ้าย
ฝ้ายฝ้าย
ฝ้ายphachanee
 
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่ม
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่มใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่ม
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่มWilasineejib
 
แนะนำ Adobe photo shop 7
แนะนำ Adobe photo shop 7แนะนำ Adobe photo shop 7
แนะนำ Adobe photo shop 7chaiwat vichianchai
 
เทคนิคโฟโต้
เทคนิคโฟโต้เทคนิคโฟโต้
เทคนิคโฟโต้weena22
 
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐานเครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐานกชพร มณีพงษ์
 

Similar to Layer photoshop cs5 (20)

ใบความรู้หน่วยที่6ตัวอักษร+animation3
ใบความรู้หน่วยที่6ตัวอักษร+animation3ใบความรู้หน่วยที่6ตัวอักษร+animation3
ใบความรู้หน่วยที่6ตัวอักษร+animation3
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop csคู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
 
Lesson 9
Lesson 9Lesson 9
Lesson 9
 
Photoshop lab1
Photoshop lab1Photoshop lab1
Photoshop lab1
 
Adobe photoshop cs
Adobe photoshop csAdobe photoshop cs
Adobe photoshop cs
 
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop csคู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
 
Photoshop
PhotoshopPhotoshop
Photoshop
 
Lesson 8
Lesson 8Lesson 8
Lesson 8
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
ใบความรู้ที่ 2เครื่องมือตกแต่งภาพ
 
Photoshop cs
Photoshop csPhotoshop cs
Photoshop cs
 
การแทรกรูปภาพและอักษรประดิษฐ์
การแทรกรูปภาพและอักษรประดิษฐ์การแทรกรูปภาพและอักษรประดิษฐ์
การแทรกรูปภาพและอักษรประดิษฐ์
 
ฝ้าย
ฝ้ายฝ้าย
ฝ้าย
 
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่ม
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่มใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่ม
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่ม
 
การยืมselection ในโปรเกรม photoshop
 การยืมselection ในโปรเกรม photoshop การยืมselection ในโปรเกรม photoshop
การยืมselection ในโปรเกรม photoshop
 
แนะนำ Adobe photo shop 7
แนะนำ Adobe photo shop 7แนะนำ Adobe photo shop 7
แนะนำ Adobe photo shop 7
 
Photoshop7
Photoshop7Photoshop7
Photoshop7
 
เทคนิคโฟโต้
เทคนิคโฟโต้เทคนิคโฟโต้
เทคนิคโฟโต้
 
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐานเครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
เครื่องมือและคำสั่งพื้นฐาน
 

More from Rattapadol Gunhakoon

รู้จักกับ Layers
รู้จักกับ Layersรู้จักกับ Layers
รู้จักกับ LayersRattapadol Gunhakoon
 
การสมัครเข้าใช้งาน Edmodo สำหรับนักเรียน
การสมัครเข้าใช้งาน Edmodo สำหรับนักเรียนการสมัครเข้าใช้งาน Edmodo สำหรับนักเรียน
การสมัครเข้าใช้งาน Edmodo สำหรับนักเรียนRattapadol Gunhakoon
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
การแก้ไขสีภาพด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
การแก้ไขสีภาพด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5การแก้ไขสีภาพด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
การแก้ไขสีภาพด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 

More from Rattapadol Gunhakoon (13)

รู้จักกับ Layers
รู้จักกับ Layersรู้จักกับ Layers
รู้จักกับ Layers
 
การใช้งาน Brush
การใช้งาน Brushการใช้งาน Brush
การใช้งาน Brush
 
Retouch ภาพบุคคล
Retouch ภาพบุคคลRetouch ภาพบุคคล
Retouch ภาพบุคคล
 
การสมัครเข้าใช้งาน Edmodo สำหรับนักเรียน
การสมัครเข้าใช้งาน Edmodo สำหรับนักเรียนการสมัครเข้าใช้งาน Edmodo สำหรับนักเรียน
การสมัครเข้าใช้งาน Edmodo สำหรับนักเรียน
 
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5การใช้งาน Adobe photoshop cs5
การใช้งาน Adobe photoshop cs5
 
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
Tool box เครื่องมือใน photoshop cs5
 
การแก้ไขสีภาพด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
การแก้ไขสีภาพด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5การแก้ไขสีภาพด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
การแก้ไขสีภาพด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
 
Filter photoshop cs5
Filter photoshop cs5Filter photoshop cs5
Filter photoshop cs5
 
Crop Tool photoshop cs5
 Crop Tool photoshop cs5 Crop Tool photoshop cs5
Crop Tool photoshop cs5
 
Selection tool Ps CS5
Selection tool Ps CS5Selection tool Ps CS5
Selection tool Ps CS5
 
Sharpen Ps CS5
Sharpen Ps CS5Sharpen Ps CS5
Sharpen Ps CS5
 
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
การปรับแต่งแสงด้วยเครื่องมือต่างๆ Photoshop cs5
 
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
 

Layer photoshop cs5

  • 1. Layer ใน Adobe Photoshop CS5 Layer คืออะไร สําหรับการตัดต่อภาพ สิ่งที่มีความจําเป็นคือการนําเอาเครื่องมือต่างๆ ของ Photoshop มาใช้งานร่วมกัน และสิ่งที่สําคัญอย่างยิ่ง คือ Layer (เลเยอร์) ที่จะช่วยให้เราจัดวางรูปภาพที่นํามาประกอบกันเพื่อสร้างผลงานใหม่ ออกมา Layer เปรียบเสมือนแผ่นพลาสติกใส เมื่อเราวาด หรือวางชิ้นส่วนภาพลงบน Layer แต่ละชั้นแล้วนํามาเรียง ซ้อนกันหลาย ๆ ชั้นจะทําให้ภาพทั้งหมดดูเหมือนเป็นชิ้นเดียวกัน โดยภาพใน Layer บนจะบัง Layer ที่อยู่ด้านล่าง เสมอ ยกเว้นบริเวณที่โปร่งใสซึ่งจะมองทะลุไปเห็นภาพใน Layer ถัดๆ ลงไปได้ - Layer ชื่อ Background จะเป็น Layer ของไฟล์ภาพที่สร้างใหม่ หรือเปิดรูปภาพขึ้นมา - Layer ชื่อ Layer 1, Layer 2, … คือ เลเยอร์ที่สร้างเพิ่ม หรือ Copy ภาพมาวางเพิ่ม ประโยชน์ของ Layer คือ ช่วยให้เราแก้ไขภาพเฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งได้ง่าย เช่น การย้ายตําแหน่ง, การปรับขนาด, ปรับสี/แสงเงา ซึ่ง จะทําได้อย่างอิสระจากกัน นอกจากนี้เรายังสามารถสลับลําดับ และซ่อน/แสดง Layer แต่ละชั้น ทําให้ทดลองจัด องค์ประกอบภาพแบบต่างๆ ได้หลากหลายก่อนที่จะเลือกภาพชุดสุดท้ายที่จะนําไปใช้จริง พาเนล Layers พาเนล Layers เป็นเครื่องมือหลักที่ใช้จัดการกับ Layer ไม่ว่าจะเป็นการ เพิ่ม/ลบ Layer, การเปลี่ยนลําดับ, การปรับความโปร่งใส เป็นต้น เมื่อเราจะใช้ Layer เราต้องระวังว่าคําสั่งต่างๆ ส่วนใหญ่ จะมีผลต่อภาพใน Layer ที่ กําลังเลือกเท่านั้น ดังนั้นจะต้องสังเกต และเลือกเลเยอร์ที่ถูกต้องก่อนการทํางานใดๆ
  • 2. Layer Style ใน Photoshop CS5 Layer style เป็นเครื่องมือในการช่วยเพิ่ม Effect ให้กับงานที่ทําใน Layer ทั้งงานตกแต่งภาพ และงาน สร้างสรรค์ตัวอักษรข้อความต่างๆ ให้มีลักษณะพิเศษ โดดเด่น และสวยงามมากยิ่งขึ้น เช่นการกําหนดแสง - เงา การ กําหนดความตื้น - ลึกของภาพเพื่อให้เกิดมิติ เป็นต้น Layer Style จะถูกสร้างขึ้นมาใหม่ซ้อนทับผสานลงไปกับรูปภาพในเลเยอร์หลัก โดยในขณะที่รูปภาพต้นฉบับ ยังคงมีรายละเอียดเหมือนเดิม photoshop มี layer styleที่หลากหลาย ก่อนการจะใช้งานก็ควรจะมีการทําความเข้าใจเกี่ยวกับ Effect ของเลเยอร์ ให้ได้รู้จักหน้าที่ และความสามารถ ของ Effect ต่างๆใน Layer Style เพื่อจะได้ใช้เครื่องมือเหล่านี้ สร้างสรรค์งานให้สวยงามอย่างที่ต้องการ
  • 3. หมายเหตุ : หากไม่มีเลเยอร์ให้กดปุ่ม F7 บนคีย์บอร์ด Trip : เมื่อนักเรียนวาดภาพใหม่หรือวางบรัชควรสร้างเลเยอร์ใหม่ทุกครั้ง ตําแหน่งของ Layer ปรับความเข้ม – จางของรูปภาพ ใช้สําหรับลบเลเยอร์ เมื่อคลิก 1 ครั้งจะเป็นการสร้างเลเยอร์ใหม่คลิกเพื่อเปิด Layer Style เมื่อคลิกที่รูปดวงตา เลเยอร์ที่เลือกไว้ จะมองไม่เห็น
  • 4. การเปิดใช้งาน Layer Style มี 3 วิธี วิธีที่ 1 คลิกขวาที่แถบเลเยอร์ เลือก Blending Option หรือคลิกเมาส์ที่สัญลักษณ์ ตรงแถบด้านล่าง ของเลเยอร์ แล้วเลือกรูปแบบ Effect ที่ต้องการ วิธีที่ 2 ดับเบิ้ลคลิกที่แถบเลเยอร์ วิธีที่ 3 ไปที่แถบ Tool Bar คลิกที่ Layer > Lsyer Style > เอฟเฟ็คที่ต้องการ จะมีไดอะล็อกซ์ของ Layer Style ขึ้นมาซึ่งมีเครื่องมือสร้าง Effect อยู่ 10 อย่าง ได้แก่ หมายเหตุ : หากไม่มีเลเยอร์ให้กดปุ่ม F7 บนคีย์บอร์ด หรือคลิกที่สัญลักษณ์นี้ คลิกขวาที่เลเยอร์ที่ต้องการใส่ Style แล้วเลือก เลือก Blending Option หรือดับเบิลคลิกที่บริเวณนี้
  • 5. Drop Shadow- เป็นการใส่เงาให้กับตัวอักษรหรือรูปภาพโดยเราสามารถกําหนดทิศทางและปรับระดับความเข้มของ เงาได้(ทําให้ตัวอักษรเหมือนดูลอยขึ้น) Inner Shadow - เป็นการใส่เงาให้กับตัวอักษรหรือรูปภาพเช่นเดียวกับDrop Shadow แต่แตกต่างกันตรงที่เป็นการใส่ เงาแบบภายในวัตถุ(ทําให้ตัวอักษรดูเหมือนยุบลง) Outer Glow - เป็นการใส่สีแบบฟุ้ งกระจายภายนอกวัตถุทําให้ตัวอักษรดูมีลักษณะเรืองแสงออกมา Inner Glow - มีลักษณะเช่นเดียวกันกับOuter Glow แต่เป็นการใส่สีแบบฟุ้ งกระจายภายในวัตถุ Bevel and Emboss - เป็นการทําให้ภาพมีลักษณะนูนในหลายๆรูปแบบโดยมีทั้งแบบนูนขึ้นและยุบลง Satin - เป็นการใส่สีเพิ่มลงไปให้กับตัวอักษรโดยมีลักษณะเป็นเหลือบเงาและมีหลายรูปแบบไว้ให้ปรับแต่งกัน Color Overlay - เป็นการเติมสีใหม่ทับลงไปในตัวอักษรเมื่อเรายกเลิกการใช้เอฟเฟ็กต์นี้แล้วสีเก่าจะยังคงอยู่ Gradient Overlay - เป็นการเติมสีให้ตัวอักษรในรูปแบบการไล่สีซึ่งเราสามารถกําหนดลักษณะได้ Pattern Overlay - เป็นการใส่ลวดลายแบบต่างๆลงไปในภาพ Stroke – เป็นการใส่เส้นขอบล้อมรอบให้กับตัวอักษรหรือภาพเราสามารถกําหนดสีและความหนาของเส้น
  • 7. เครื่องมือปรับแต่ง Effect ต่างๆ ใน Layer Style Drop Shadow - ใช้สร้างเงาที่ขอบด้านนอกของภาพใน Layer และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา 1. Blend Mode - ใช้กําหนดโหมดผสมสีให้กับเงาที่สร้างขึ้น เมื่อเงาไปทับกับสีอื่นๆ 2. Set color of shadow - ใช้กําหนดสีของเงา 3. Opacity - ใช้กําหนดค่าความโปร่งใสของเงา 4. Angle - ใช้กําหนดทิศทางของเงา 5. Use Global Light - ใช้กําหนดให้แสงและเงาในทุกๆ Style เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 6. Distance - ใช้กําหนดระยะห่างระหว่างภาพและเงา 7. Spread - ใช้กําหนดความคมชัดของขอบเงา 8. Size - ใช้กําหนดขนาดของเงา 9. Contour - ใช้กําหนดลักษณะของเงา 10. Noise – ใช้กําหนดค่าความแตกกระจายของเงา
  • 8. Inner Shadow - ใช้สร้างเงาที่ขอบด้านในของภาพใน Layer และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา 1. Blend Mode -- ใช้กําหนดโหมดผสมสีให้กับเงาที่สร้างขึ้น เมื่อเงาไปทับกับสีอื่นๆ 2. Set color of shadow -- ใช้กําหนดสีของเงา 3. Opacity -- ใช้กําหนดค่าความโปร่งใสของเงา 4. Angle -- ใช้กําหนดทิศทางของเงา 5. Use Global Light -- ใช้กําหนดให้แสงและเงาในทุกๆ Style เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 6. Distance -- ใช้กําหนดระยะห่างระหว่างภาพและเงา 7. Choke -- ใช้กําหนดความคมชัดของขอบเงา 8. Size -- ใช้กําหนดขนาดของเงา 9. Contour -- ใช้กําหนดลักษณะของเงา 10. Noise – ใช้กําหนดค่าความแตกกระจายของเงา
  • 9. Outer Glow - ใช้สร้างละอองเรืองแสงที่ขอบด้านนอกของภาพใน Layer และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา 1. Blend Mode - ใช้กําหนดโหมดผสมสีให้กับละอองที่สร้างขึ้น เมื่อละอองแสงไปทับกับสีอื่นๆ 2. Opacity - ใช้กําหนดค่าความโปร่งใสของละอองแสง 3. Noise - ใช้กําหนดค่าความแตกกระจายของละอองแสง 4. Set color of glow - ใช้กําหนดว่าละอองแสงเป็นสีเดียว และเลือกสีที่ต้องการ 5. Click to edit the gradient - ใช้กําหนดว่าละอองแสงเป็นแบบไล่สีกัน และเลือกสีที่ต้องการ 6. Technique - ใช้กําหนดรูปแบบของละอองเรืองแสง 7. Spread - ใช้กําหนดค่าความคมชัดของละอองแสง 8. Size - ใช้กําหนดขนาดของละอองแสง 9. Contour - ใช้กําหนดลักษณะของละอองแสง 10. Range – ใช้กําหนดระยะเริ่มต้นของการไล่นํ้าหนัก
  • 10. Inner Glow - ใช้สร้างละอองเรืองแสงที่ขอบด้านในของภาพใน Layer และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา 1. Blend Mode - ใช้กําหนดโหมดผสมสีให้กับละอองที่สร้างขึ้น เมื่อละอองแสงไปทับกับสีอื่นๆ 2. Opacity - ใช้กําหนดค่าความโปร่งใสของละอองแสง 3. Noise - ใช้กําหนดค่าความแตกกระจายของละอองแสง 4. Set color of glow - ใช้กําหนดว่าละอองแสงเป็นสีเดียว และเลือกสีที่ต้องการ 5. Click to edit the gradient - ใช้กําหนดว่าละอองแสงเป็นแบบไล่สีกัน และเลือกสีที่ต้องการ 6. Technique - ใช้กําหนดรูปแบบของละอองเรืองแสง 7. Choke - ใช้กําหนดค่าความคมชัดของละอองแสง 8. Size - ใช้กําหนดขนาดของละอองแสง 9. Contour - ใช้กําหนดลักษณะของละอองแสง 10. Range – ใช้กําหนดระยะเริ่มต้นของการไล่นํ้าหนัก
  • 11. Bevel and Emboss - ใช้สร้างแสงและเงาที่ขอบของภาพ เพื่อให้ภาพดูหนาขึ้น และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา 1. Style - ใช้กําหนดรูปแบบการทําแสงและเงาที่ขอบของภาพ 2. Technique - ใช้กําหนดรูปแบบของขอบแสงและเงา 3. Depth - ใช้กําหนดค่าความหนาของแสงและเงา 4. Direction - ใช้กําหนดว่าจะให้แสงและเงาอยู่ด้านล่างหรือด้านบน 5. Size - ใช้กําหนดขนาดของแสงและเงา 6. Angle - ใช้กําหนดทิศทางของแสงและเงา 7. Use Global Light - ใช้กําหนดให้แสงและเงาในทุกๆ Style เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 8. Attitude - ใช้กําหนดมุมกระทบของแสงและเงา 9. Gloss Contour - ใช้กําหนดลักษณะของแสงและเงา 10. Highlight Mode - ใช้กําหนดรายละเอียดส่วนที่เป็นแสงสว่าง ดังนี้โหมดผสมสี, สี, ค่าความโปร่งใส 11. Shadow Mode - ใช้กําหนดรายละเอียดส่วนที่เป็นเงามืด ดังนี้โหมดผสมสี, สี, ค่าความโปร่งใส 12. Contour - ใช้กําหนดลักษณะของแสงและเงา 13. Range - ใช้กําหนดระยะเริ่มต้นของการไล่นํ้าหนัก 14. Pattern - ใช้กําหนดลวดลายของแสงและเงา 15. Scale - ใช้กําหนดขนาดของลวดลาย 16. Depth – ใช้กําหนดค่าความชัดของลวดลาย
  • 12. Satin - ใช้สร้างแสงและเงาเพื่อให้ภาพดูเป็นเหลื่อมเงา เหมือนผ้าซาติน และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา 1. Blend Mode - ใช้กําหนดโหมดผสมสี ให้กับผลจากการทํา Satin 2. Set color of effect - ใช้กําหนดค่าความโปร่งใสของ Satin 3. Angle - ใช้กําหนดมุมของการทํา Satin 4. Distance - ใช้กําหนดระยะห่างของ Satin กับขอบภาพ 5. Size - ใช้กําหนดขนาดของ Satin 6. Contour - ใช้กําหนดลักษณะของ Satin
  • 13. Color Overlay - ใช้นําเฉดสีไปแทนที่ภาพ และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา 1. Blend Mode - ใช้กําหนดโหมดผสมสี เมื่อไปทับกับสีอื่น 2. Set color of overlay - ใช้กําหนดเฉดสีที่จะทําไปแทนที่ภาพ 3. Opacity – ใช้กําหนดค่าความโปร่งใส
  • 14. Gradient Overlay - ใช้นําเฉดสีแบบไล่สีไปแทนที่ภาพ และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา 1. Blend Mode - ใช้กําหนดโหมดผสมสี เมื่อไปทับกับสีอื่น 2. Opacity - ใช้กําหนดค่าความโปร่งใส 3. Gradient - ใช้กําหนดรูปแบบของการไล่สี และเฉดสีที่จะนํามาไล่ 4. Reverse - ใช้กําหนดให้สลับทิศทางการไล่สีกัน 5. Style - ใช้กําหนดรูปแบบการไล่สี 6. Angle - ใช้กําหนดทิศทางของการไล่สี 7. Scale – ใช้กําหนดขนาดของการไล่สี
  • 15. Pattern Overlay - ใช้นําลวดลายไปแทนที่ภาพ และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา 1. Blend Mode - ใช้กําหนดโหมดผสมสี เมื่อไปทับกับสีอื่น 2. Opacity - ใช้กําหนดค่าความโปร่งใส 3. Pattern - ใช้กําหนดลวดลายที่จะนําไปแทนภาพ 4. Scale – ใช้กําหนดขนาดของลวดลาย
  • 16. Stroke - ใช้สร้างเส้นขอบรอบๆภาพ และจะมี Dialog Layer Style ขึ้นมา 1. Size - ใช้กําหนดค่าความหนาของเส้นขอบ 2. Position - ใช้กําหนดตําแหน่งที่จะวางเส้นขอบ 3. Blend Mode - ใช้กําหนดโหมดผสมสี เมื่อเส้นขอบไปทับกับสีอื่น 4. Opacity - ใช้กําหนดค่าความโปร่งใส 5. Fill Type – ใช้กําหนดรูปแบบของสี