SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
ใบความรู้หน่วยที่ 4
การใช้งานเลเยอร์ (Layer)
1. รู้จักกับเลเยอร์ (Layer)
การสร้างชิ้นงานหนึ่ง ๆ นั้น เราสามารถนาเอาชิ้นส่วนต่าง ๆ มาวางซ้อนกันโดยใช้
เลเยอร์รวมทั้งสามารถใส่องค์ประกอบภาพเพิ่มเติม เช่น รูปวาดและข้อความ โดยวางไว้คน
ละเลเยอร์ ซึ่งจะทาให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ง่ายในภายหลัง นอกจากนี้การปรับแต่งภาพด้วย
เทคนิคและเอฟเฟ็คต์ต่าง ๆ ก็ทาได้โดยอาศัยคุณสมบัติของเลเยอร์เช่นกัน
1.1 เลเยอร์ (Layer) และออบเจ็ค (Object)
ในการสร้างชิ้นงานด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop นั้น แต่ละองค์ประกอบที่เรา
สร้างขึ้นจะเรียกว่า ออบเจ็ค (Object) จะถูกจัดสร้างไว้ในส่วนที่แยกจากกันเหมือนกับการวาด
ลงในแผ่นใส เรียกว่า เลเยอร์ (Layer) จากนั้นจึงนามาวางเรียงซ้อนกันเป็นชั้น ๆ เพื่อให้ได้
ชิ้นงานที่สมบูรณ์ในชิ้นงานหนึ่ง ๆ สามารถมีได้หลายเลเยอร์และแต่ละเลเยอร์ก็สามารถมีได้
หลาย ๆ ออบเจ็ค โดยโปรแกรมจะใช้พาเนล Layers ในการแสดงลาดับชั้นของเลเยอร์และออบ
เจ็คเหล่านั้น และให้เราจัดการกับเลเยอร์เหล่านั้นได้โดยง่าย
ตัวอย่างเช่นในภาพวิวทิวทัศน์อาจประกอบด้วยท้องฟ้า , ภูเขา , และดวงอาทิตย์ เป็น
ต้นในทางปฏิบัติแล้วเราควรที่จะแยกองค์ประกอบแต่ละส่วนนั้นออกจากกันโดยสร้างลงในแต่
ละเลเยอร์แล้วนามาวางซ้อนทับกันตามลาดับหน้า-หลังเพื่อให้ได้ภาพที่สมบูรณ์ ทั้งนี้ก็เพื่อให้
แต่ส่วนเป็นอิสระต่อกัน ทาให้เราสามารถจัดการกับส่วนที่ต้องการได้อย่างสะดวกโดยไม่กระทบ
กับส่วนอื่น ตัวอย่างเช่น การปรับตาแหน่งดวงอาทิตย์ไปยังตาแหน่งต่าง ๆ ในขณะที่
องค์ประกอบอื่นอยู่กับที่ เป็นต้น
1.2 เปิดใช้พาเนล Layers
พาเนล Layers จะเป็นส่วนที่ใช้แสดงเลเยอร์และออบเจ็คทั้งหมดในชิ้นงานนั้น โดย
แสดงตามลาดับการซ้อนทับจากล่างไปบน
หากขณะนั้นไม่ปรากฏพาเนล Layers ให้เลือกคาสั่ง Window > Layers
ในที่นี้ลองเปิดไฟล์ภาพขึ้นมา 1 ไฟล์ แล้วดูที่พาเนล Layers จะปรากฎเลเยอร์
Background ที่เก็บรูปภาพนั้นอยู่
1.3 พาเนลเลเยอร์
เป็นเครื่องมือหลักที่ใช้จัดการกับเลเยอร์ เช่น การเลือก เพิ่ม/ลบ เปลี่ยนลาดับ ฯลฯ
เมื่อใช้เลเยอร์คุณจะต้องระวังว่าคาสั่งต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะมีผลต่อภาพในเลเยอร์ที่กาลังเลือก
เท่านั้น ดังนั้นจึงต้องสังเกตและเลือกเลเยอร์ที่ถูกต้องก่อนการทางานใด ๆ โดยดูจากพาเนลนี้
การเปิด-ปิดพาเนล ทาได้โดยเลือกคาสั่ง Window > Layers
1.4 เลเยอร์ Background
เมื่อเปิดไฟล์ภาพทั่วไปขึ้นมาใช้งาน ภาพนั้นจะอยู่ในเลเยอร์ชื่อ Background ซึ่ง
เป็นเลเยอร์พิเศษที่แตกต่างจากเลเยอร์ธรรมดา คือ
- จะอยู่ด้านล่างสุดของพาเนลเสมอ และมีได้เพียงเลเยอร์เดียว
- ไม่สามารถทาให้โปร่งใส ย้ายตาแหน่ง หรือเปลี่ยนชื่อ
- ไม่สามารถใช้เอฟเฟ็คต์และเลเยอร์มาสก์
ใน Adobe Photoshop สามารถสร้างเลเยอร์ธรรมดาซ้อนบนเลเยอร์ Background
เพื่อใช้สาหรับวาดภาพใหม่ หรือก๊อปปี้ชิ้นส่วนภาพจากที่อื่นมาวางซ้อนลงไป ตลอดจน
สามารถแปลงเลเยอร์ Background เป็นเลเยอร์ธรรมดาหรือกลับกันก็ได้
ปุ่มเมนูของพาเนล
ตั้งค่าความโปร่งใสของเลเยอร์
ตั้งค่าความเข้มของภาพ
เลเยอร์ที่กาลังใช้งาน
ชื่อเลเยอร์
สร้างเลเยอร์ใหม่
สร้างโฟลเดอร์ให้เลเยอร์เติมสี/ปรับสีภาพ
สร้างช่อง Mask
สร้างเอฟเฟค
ตัวอย่างออบเจ็คในเลเยอร์
ซ่อน/แสดงเลเยอร์
เปลี่ยนโหมดการผสมสี
ลบเลเยอร์
1.5 เปลี่ยนเลเยอร์ Background ให้เป็นเลเยอร์ปกติ
โดยปกติแล้วรูปภาพที่เราเปิดขึ้นมาครั้งแรกในพาเนล Layers นี้จะมีชื่อว่า
Background ซึ่งจะเป็นเลเยอร์พื้นโดยอัตโนมัติ ไม่สามารถเคลื่อนย้ายไปไหนได้ เพราะว่า
เลเยอร์นี้จะถูกล็อคไว้โดยอัตโนมัติ สังเกตที่รูป ต่อท้ายชื่อเลเยอร์
ในการเพิ่มเลเยอร์แต่ละครั้ง เลเยอร์ Background จะเป็นเลเยอร์ที่อยู่ล่างสุด เลเยอร์
ที่เพิ่มเข้ามาใหม่จะขึ้นมาอยู่บนต่อกันไปเรื่อย ๆ การเปลี่ยนเลเยอร์ Background ให้เป็นเลเยอร์
ปกติจะกระทาได้โดย
1. ดับเบิลคลิกที่เลเยอร์ Background หรือ คลิกขวาที่เลเยอร์ Background แล้วเลือก
คาสั่ง Layer from Background
2. ตั้งชื่อเลเยอร์ในช่อง Name
3. เลือก OK
ถ้าต้องการเปลี่ยนจากเลเยอร์ปกติให้เป็น Background เหมือนเดิมทาได้โยเลือกคาสั่ง
Layer > New > Background From Layer
ล็อคเลเยอร์
ช่องสาหรับเปลี่ยนชื่อ
เลเยอร์ที่ได้หลังจากการเปลี่ยน

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (11)

5.1
5.15.1
5.1
 
6.6
6.66.6
6.6
 
6.4
6.46.4
6.4
 
5.3
5.35.3
5.3
 
5.5
5.55.5
5.5
 
6.3
6.36.3
6.3
 
6.1
6.16.1
6.1
 
Job2.1
Job2.1Job2.1
Job2.1
 
ใบงานที่ 2.2
ใบงานที่ 2.2ใบงานที่ 2.2
ใบงานที่ 2.2
 
ใบงานที่ 2.3
ใบงานที่ 2.3ใบงานที่ 2.3
ใบงานที่ 2.3
 
ใบงานที่ 2.4
ใบงานที่ 2.4ใบงานที่ 2.4
ใบงานที่ 2.4
 

More from Wachi Kook

ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1Wachi Kook
 
ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1Wachi Kook
 
ใบงานที่ 3.2
ใบงานที่ 3.2ใบงานที่ 3.2
ใบงานที่ 3.2Wachi Kook
 
ใบงานที่ 3.1
ใบงานที่ 3.1ใบงานที่ 3.1
ใบงานที่ 3.1Wachi Kook
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 7
แบบทดสอบก่อนเรียน 7แบบทดสอบก่อนเรียน 7
แบบทดสอบก่อนเรียน 7Wachi Kook
 
แบบทดสอบหลังเรียน 7++
แบบทดสอบหลังเรียน 7++แบบทดสอบหลังเรียน 7++
แบบทดสอบหลังเรียน 7++Wachi Kook
 
แบบทดสอบหลังเรียน 6++
แบบทดสอบหลังเรียน 6++แบบทดสอบหลังเรียน 6++
แบบทดสอบหลังเรียน 6++Wachi Kook
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 6
แบบทดสอบก่อนเรียน 6แบบทดสอบก่อนเรียน 6
แบบทดสอบก่อนเรียน 6Wachi Kook
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 5
แบบทดสอบก่อนเรียน 5แบบทดสอบก่อนเรียน 5
แบบทดสอบก่อนเรียน 5Wachi Kook
 
แบบทดสอบหลังเรียน 5++
แบบทดสอบหลังเรียน 5++แบบทดสอบหลังเรียน 5++
แบบทดสอบหลังเรียน 5++Wachi Kook
 

More from Wachi Kook (20)

2.6new
2.6new2.6new
2.6new
 
ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1
 
ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1ใบงานที่ 4.1
ใบงานที่ 4.1
 
ใบงานที่ 3.2
ใบงานที่ 3.2ใบงานที่ 3.2
ใบงานที่ 3.2
 
ใบงานที่ 3.1
ใบงานที่ 3.1ใบงานที่ 3.1
ใบงานที่ 3.1
 
2.1
2.12.1
2.1
 
2.1
2.12.1
2.1
 
2.1
2.12.1
2.1
 
2.2
2.22.2
2.2
 
2.2
2.22.2
2.2
 
Job1.2
Job1.2Job1.2
Job1.2
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 7
แบบทดสอบก่อนเรียน 7แบบทดสอบก่อนเรียน 7
แบบทดสอบก่อนเรียน 7
 
แบบทดสอบหลังเรียน 7++
แบบทดสอบหลังเรียน 7++แบบทดสอบหลังเรียน 7++
แบบทดสอบหลังเรียน 7++
 
แบบทดสอบหลังเรียน 6++
แบบทดสอบหลังเรียน 6++แบบทดสอบหลังเรียน 6++
แบบทดสอบหลังเรียน 6++
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 6
แบบทดสอบก่อนเรียน 6แบบทดสอบก่อนเรียน 6
แบบทดสอบก่อนเรียน 6
 
แบบทดสอบก่อนเรียน 5
แบบทดสอบก่อนเรียน 5แบบทดสอบก่อนเรียน 5
แบบทดสอบก่อนเรียน 5
 
แบบทดสอบหลังเรียน 5++
แบบทดสอบหลังเรียน 5++แบบทดสอบหลังเรียน 5++
แบบทดสอบหลังเรียน 5++
 
Job7.2
Job7.2Job7.2
Job7.2
 
Job7.1
Job7.1Job7.1
Job7.1
 
Job6.3
Job6.3Job6.3
Job6.3
 

4.1

  • 1. ใบความรู้หน่วยที่ 4 การใช้งานเลเยอร์ (Layer) 1. รู้จักกับเลเยอร์ (Layer) การสร้างชิ้นงานหนึ่ง ๆ นั้น เราสามารถนาเอาชิ้นส่วนต่าง ๆ มาวางซ้อนกันโดยใช้ เลเยอร์รวมทั้งสามารถใส่องค์ประกอบภาพเพิ่มเติม เช่น รูปวาดและข้อความ โดยวางไว้คน ละเลเยอร์ ซึ่งจะทาให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ง่ายในภายหลัง นอกจากนี้การปรับแต่งภาพด้วย เทคนิคและเอฟเฟ็คต์ต่าง ๆ ก็ทาได้โดยอาศัยคุณสมบัติของเลเยอร์เช่นกัน 1.1 เลเยอร์ (Layer) และออบเจ็ค (Object) ในการสร้างชิ้นงานด้วยโปรแกรม Adobe Photoshop นั้น แต่ละองค์ประกอบที่เรา สร้างขึ้นจะเรียกว่า ออบเจ็ค (Object) จะถูกจัดสร้างไว้ในส่วนที่แยกจากกันเหมือนกับการวาด ลงในแผ่นใส เรียกว่า เลเยอร์ (Layer) จากนั้นจึงนามาวางเรียงซ้อนกันเป็นชั้น ๆ เพื่อให้ได้ ชิ้นงานที่สมบูรณ์ในชิ้นงานหนึ่ง ๆ สามารถมีได้หลายเลเยอร์และแต่ละเลเยอร์ก็สามารถมีได้ หลาย ๆ ออบเจ็ค โดยโปรแกรมจะใช้พาเนล Layers ในการแสดงลาดับชั้นของเลเยอร์และออบ เจ็คเหล่านั้น และให้เราจัดการกับเลเยอร์เหล่านั้นได้โดยง่าย ตัวอย่างเช่นในภาพวิวทิวทัศน์อาจประกอบด้วยท้องฟ้า , ภูเขา , และดวงอาทิตย์ เป็น ต้นในทางปฏิบัติแล้วเราควรที่จะแยกองค์ประกอบแต่ละส่วนนั้นออกจากกันโดยสร้างลงในแต่ ละเลเยอร์แล้วนามาวางซ้อนทับกันตามลาดับหน้า-หลังเพื่อให้ได้ภาพที่สมบูรณ์ ทั้งนี้ก็เพื่อให้ แต่ส่วนเป็นอิสระต่อกัน ทาให้เราสามารถจัดการกับส่วนที่ต้องการได้อย่างสะดวกโดยไม่กระทบ กับส่วนอื่น ตัวอย่างเช่น การปรับตาแหน่งดวงอาทิตย์ไปยังตาแหน่งต่าง ๆ ในขณะที่ องค์ประกอบอื่นอยู่กับที่ เป็นต้น
  • 2. 1.2 เปิดใช้พาเนล Layers พาเนล Layers จะเป็นส่วนที่ใช้แสดงเลเยอร์และออบเจ็คทั้งหมดในชิ้นงานนั้น โดย แสดงตามลาดับการซ้อนทับจากล่างไปบน หากขณะนั้นไม่ปรากฏพาเนล Layers ให้เลือกคาสั่ง Window > Layers ในที่นี้ลองเปิดไฟล์ภาพขึ้นมา 1 ไฟล์ แล้วดูที่พาเนล Layers จะปรากฎเลเยอร์ Background ที่เก็บรูปภาพนั้นอยู่ 1.3 พาเนลเลเยอร์ เป็นเครื่องมือหลักที่ใช้จัดการกับเลเยอร์ เช่น การเลือก เพิ่ม/ลบ เปลี่ยนลาดับ ฯลฯ เมื่อใช้เลเยอร์คุณจะต้องระวังว่าคาสั่งต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะมีผลต่อภาพในเลเยอร์ที่กาลังเลือก เท่านั้น ดังนั้นจึงต้องสังเกตและเลือกเลเยอร์ที่ถูกต้องก่อนการทางานใด ๆ โดยดูจากพาเนลนี้ การเปิด-ปิดพาเนล ทาได้โดยเลือกคาสั่ง Window > Layers
  • 3. 1.4 เลเยอร์ Background เมื่อเปิดไฟล์ภาพทั่วไปขึ้นมาใช้งาน ภาพนั้นจะอยู่ในเลเยอร์ชื่อ Background ซึ่ง เป็นเลเยอร์พิเศษที่แตกต่างจากเลเยอร์ธรรมดา คือ - จะอยู่ด้านล่างสุดของพาเนลเสมอ และมีได้เพียงเลเยอร์เดียว - ไม่สามารถทาให้โปร่งใส ย้ายตาแหน่ง หรือเปลี่ยนชื่อ - ไม่สามารถใช้เอฟเฟ็คต์และเลเยอร์มาสก์ ใน Adobe Photoshop สามารถสร้างเลเยอร์ธรรมดาซ้อนบนเลเยอร์ Background เพื่อใช้สาหรับวาดภาพใหม่ หรือก๊อปปี้ชิ้นส่วนภาพจากที่อื่นมาวางซ้อนลงไป ตลอดจน สามารถแปลงเลเยอร์ Background เป็นเลเยอร์ธรรมดาหรือกลับกันก็ได้ ปุ่มเมนูของพาเนล ตั้งค่าความโปร่งใสของเลเยอร์ ตั้งค่าความเข้มของภาพ เลเยอร์ที่กาลังใช้งาน ชื่อเลเยอร์ สร้างเลเยอร์ใหม่ สร้างโฟลเดอร์ให้เลเยอร์เติมสี/ปรับสีภาพ สร้างช่อง Mask สร้างเอฟเฟค ตัวอย่างออบเจ็คในเลเยอร์ ซ่อน/แสดงเลเยอร์ เปลี่ยนโหมดการผสมสี ลบเลเยอร์
  • 4. 1.5 เปลี่ยนเลเยอร์ Background ให้เป็นเลเยอร์ปกติ โดยปกติแล้วรูปภาพที่เราเปิดขึ้นมาครั้งแรกในพาเนล Layers นี้จะมีชื่อว่า Background ซึ่งจะเป็นเลเยอร์พื้นโดยอัตโนมัติ ไม่สามารถเคลื่อนย้ายไปไหนได้ เพราะว่า เลเยอร์นี้จะถูกล็อคไว้โดยอัตโนมัติ สังเกตที่รูป ต่อท้ายชื่อเลเยอร์ ในการเพิ่มเลเยอร์แต่ละครั้ง เลเยอร์ Background จะเป็นเลเยอร์ที่อยู่ล่างสุด เลเยอร์ ที่เพิ่มเข้ามาใหม่จะขึ้นมาอยู่บนต่อกันไปเรื่อย ๆ การเปลี่ยนเลเยอร์ Background ให้เป็นเลเยอร์ ปกติจะกระทาได้โดย 1. ดับเบิลคลิกที่เลเยอร์ Background หรือ คลิกขวาที่เลเยอร์ Background แล้วเลือก คาสั่ง Layer from Background 2. ตั้งชื่อเลเยอร์ในช่อง Name 3. เลือก OK ถ้าต้องการเปลี่ยนจากเลเยอร์ปกติให้เป็น Background เหมือนเดิมทาได้โยเลือกคาสั่ง Layer > New > Background From Layer ล็อคเลเยอร์ ช่องสาหรับเปลี่ยนชื่อ เลเยอร์ที่ได้หลังจากการเปลี่ยน