SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
รำ�ลาบิคจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ภาคกลาง
พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม:	 เทศบาลตำ�บลทับสะแก
		 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ที่มาของกิจกรรม
	 เทศบาลตำ�บลทับสะแกเป็นองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นแห่งหนึ่งในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีพืชผลที่
ทำ�รายได้ส่วนใหญ่ได้มาจากมะพร้าว นอกจากมะพร้าว
จะเป็นพืชผลที่สร้างรายได้แล้ว ยังนำ�มาแปรรูปเป็น
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้อีกมากมาย และในพื้นที่เทศบาลได้
มีการนำ�เอากะลามะพร้าวมาประกอบกิจกรรมการแสดง
และการรำ�กะลาอีกด้วย การรำ�กะลาเป็นการแสดงรำ�
พื้นบ้านของชาวทับสะแก โดยนำ�กะลามะพร้าวแห้ง
มาขัดให้มันและตกแต่งอย่างสวยงามเพื่อใช้ประกอบ
จังหวะเพลง การรรำ�กะลาเป็นภูมิปัญญาที่สืบทอด
กันมาจากครั้งอดีต มีท่าเคลื่อนไหวร่างกายที่อ่อนช้อย
สวยงามใช้ทุกส่วนของร่างกายในการแสดงอย่าง
สอดคล้องรับกับดนตรีที่บรรเลง ถือว่าเป็นการออกกำ�ลัง
กายอย่างหนึ่ง ในอดีตการรำ�กะลาเป็นกิจกรรมรื่นเริง
ที่ชาวบ้านนิยมทำ�กันในวันว่างเพื่อผ่อนคลายอารมณ์
และสร้างความสนุกสนานสามัคคีในชุมชน เทศบาล
ตำ�บลทับสะแก จึงมีแนวคิดที่จะส่งเสริมให้ประชาชน
รุ่นหลังได้ออกกำ�ลังกายเพื่อสุขภาพ ผสมผสานกับ
การอนุรักษ์วัฒนธรรม ภูมิปัญญาชาวบ้านต่างๆ เอา
ไว้จึงได้จัดทำ�”โครงการมหกรรมรำ�ลาบิคเพื่อสุขภาพ
และอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น” โดยการนำ�เอารูปแบบ
และท่าทางการรำ�กะลามาประยุกต์ให้เป็นรูปแบบการ
ออกกำ�ลังกายที่เหมาะสมสำ�หรับทุกเพศทุกวัยและ
เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น จึงได้พิจารณาการนำ�
ท่ารำ�กะลามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม สำ�หรับใช้เป็น
ท่าออกกำ�ลังกายสำ�หรับเด็ก เยาวชน ประชาชนและ
ผู้สูงอายุ อีกทั้งยังเป็นการผ่อนคลายความเครียด
ได้อีกทางหนึ่ง
แนวทางการดำ�เนินกิจกรรม
	 การดำ�เนินกิจกรรม “รำ�ลาบิค” นั้น หลังจาก
ได้รับการอนุมัติจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
ก็ได้จัดให้มีการประชุมคณะทำ�งานของเทศบาลตำ�บล
ทับสะแก ร่วมกับคณะกรรมการชุมชนทั้ง 10 ชุมชนที่
อยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบ พร้อมทำ�การประชาสัมพันธ์
กิจกรรมดังกล่าวให้ประชาชนรับทราบ หลังจากเสร็จ
สิ้นกิจกรรมการประชุม ตัวแทนของแต่ละชุมชนจึง
ทำ�การสรรหาผู้มีความรู้ และเชี่ยวชาญในการออก
กำ�ลังกาย และภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อมาเป็นวิทยากร
ฝึกสอนประชาชนในพื้นที่ของตน และต่อด้วยการฝึก
อบรมกิจกรรมให้กับประชาชน เมื่อถึงกำ�หนดเวลาตาม
แผนดำ�เนินกิจกรรมโครงการ จึงจัดให้มีหมหกรรมรำ�
ลาบิคเพื่อสุขภาพและอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นขึ้น
ทั้งนี้ทางผู้ดำ�เนินการโครงการได้วางแผนที่จะจัดให้มี
กิจกรรมดังกล่าวในทุกปี เพื่อให้ประชาชนในชุมชน
มีความรัก สามัคคี และร่วมอนุรักษ์สืบสานศิลปะ
วัฒนธรรมให้คงอยู่สืบไป
	 เป้าหมาย: ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชน
ทุกเพศทุกวัยออกกำ�ลังกายในรูปแบบแอโรบิคประยุกต์
เพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ควบคู่กับการปลูกจิตสำ�นึก
ให้รักวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการดำ�เนิน
งานร่วมกันของภาคีเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพและกีฬา
ประโยชน์
	 1.	ประชาชนใส่ใจเรื่องสุขภาพ และออกกำ�ลังกาย
มากขึ้น
	 2.	มีจิตสำ�นึกดี และความภาคภูมิใจในวัฒนธรรม
และภูมิปัญญาท้องถิ่น
	 3.	เกิดสัมพันธภาพที่ดีระหว่างคนในชุมชน
	 4.	ประชาชนในชุมชนและท้องถิ่นมีความรัก
สามัคคีต่อกัน
	 5.	สามารถสร้างแกนนำ�ต้นแบบที่สามารถถ่ายทอด
การออกกำ�ลังกาย และเผยแพร่ให้แก่ผู้ที่สนใจ
เวลาที่ใช้เล่น: ประมาณ 60 นาที
อุปกรณ์:
	 1.	กะลาผ่าซีก 2 ชิ้น ต่อผู้เล่น 1 คน
2. เพลงประกอบท่าเต้น 3. สนาม/พื้นที่โล่งๆ
4. ผ้าขาวม้า
จำ�นวนผู้เล่น: ไม่จำ�กัดจำ�นวน
รำ�ลาบิค
การรำ�ลาบิค ถือเป็นกีฬาพื้นบ้านชนิดหนึ่ง
ซึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างการรำ�กะลากับการ
ออกกำ�ลังกายแบบแอโรบิก โดยใช้เพลงดนตรีประกอบ
ท่าเต้นที่มีจังหวะสนุกสนานและมีเนื้อร้องบอกเล่า
ความเป็นมาของตำ�บลทับสะแก จึงทำ�ให้เกิดความ
ภาคภูมิใจของคนในตำ�บลนี้จนนำ�มาซึ่งการประยุกต์
จนได้ท่ารำ�ทั้งหมด 34 ท่า ซึ่งในแต่ละท่านั้นเกิดจาก
การนำ�วิถีชีวิตของคนพื้นบ้านมาประกอบเป็นท่าทางการ
เคลื่อนไหวโดยใช้ทุกส่วนของร่างกายที่สอดคล้องกับดนตรี
ที่บรรเลง ผสมผสานกับการอนุรักษ์วัฒนธรรม และ
ภูมิปัญญาที่สืบทอดต่อๆ กันมา ซึ่งเริ่มตั้งแต่การขุดดิน
การปลูกหน่อมะพร้าว การรดน้ำ�ให้ปุ๋ย เมื่อมะพร้าวโต
จะใช้ลิงกังหรือตะขอในการเก็บเกี่ยวผล ใช้หลาวเหล็ก
ในการปอก และใช้กระต่ายในการขูด ส่วนกะลา
มะพร้าวนำ�มาใช้ประโยชน์ได้นานาชนิด
ท่าเริ่มต้น ก่อนเข้าเนื้อร้อง
	 ผู้รำ�จะยืนตัวตรง มือ 2 ข้างเท้าสะเอว ปลาย
เท้าห่างกันพอประมาณ เมื่อดนตรีเริ่มบรรเลง ผู้รำ�
จะยืนโยกไปมาอยู่กับที่ เริ่มจากขวาไปซ้ายสลับกันไป
มาจำ�นวน 5 ครั้ง จากนั้น ผู้รำ�จะยื่นแขนขวาออกไป
ข้างหน้าในลักษณะเหยียดตรง มือหงายขึ้น แล้วตาม
ด้วยการเหยียดแขนซ้ายออกไป ใช้ฝ่ามือซ้ายประกบ
ลงบนฝ่ามือขวาโดยการคว่ำ�มือซ้ายลงบนมือขวาอยู่ใน
ท่าลักษณะคล้ายการดัดนิ้วมือ พร้อมกับโยกตัวไปมา
ตามจังหวะเพลงที่บรรเลง จากนั้นจะเป็นท่าการสลับ
แขนโดยการใช้มือขวาวางคว่ำ�ลงบนฝ่ามือซ้าย พร้อม
กับโยกตัวไปมาตามจังหวะเพลง
	 1.	รูปภาพท่ายืนตรง มือท้าวเอว โยกตัวไปมา
ซ้ายและขวา
	 2.	ยื่นแขนไปข้างหน้าให้แขนตึง จากนั้นใช้มือ
ซ้ายกดปลายนิ้วมือขวา ย่อตัวเล็กน้อยในขณะโยกตัว
ไปมา
	 3.	ยื่นแขนไปข้างหน้าให้แขนทั้งสองข้างตึง
จากนั้นใช้มือขวากดปลายนิ้วมือซ้าย ย่อตัวลงเล็กน้อย
โยกตัวไปมา
ท่าเต้นเมื่อเข้าเนื้อร้อง
	 ท่าที่ 1 ผู้รำ�ยืนตัวตรงขาชิดกัน ยกมือพนม
บริเวณหน้าอกพร้อมกับก้มไหว้ 1 ครั้ง
25
ท่าที่ 2 ผู้รำ�ยืนตัวตรง ปลายเท้าห่างกันเพียง
เล็กน้อย มือ 2 ข้างเท้าเอว พร้อมกับโยกตัวไปมา
สลับกันเริ่มจากขวาไปซ้ายทำ�สลับกันไปเรื่อยๆ ใน
ขณะโยกตัวให้ย่อตัวลงเล็กน้อย
	 ท่าที่ 3 ท่านี้จะคล้ายๆ กับการชกลม ผู้รำ�ยืน
ตัวตรง เท้าห่างกันเล็กน้อย เหยียดแขนไปข้างหน้า
สลับขวาซ้ายอย่างละครั้งเริ่มจากขวาและไปซ้าย
ในขณะยืดแขนไปข้างหน้าให้ย่อตัวเล็กน้อย (เต้นท่า
นี้จนกว่าจะเข้าเนื้อร้อง)
	 ท่าที่ 4 ผู้รำ�ยกแขนทั้ง 2 ข้างขึ้น พร้อมกับ
ตั้งข้อศอกให้ขนานกับลำ�ตัว จากนั้นยกข้อศอกชิดกัน
กางเข้าและออกสลับกัน เท้าทั้ง 2 ขยับไปตามจังหวะ
แบบยกแล้วชิดสลับกันไปมาเมื่อแขนทั้ง 2 ข้าง
กางเข้าหากัน
26
ท่าที่ 5 ผู้รำ�ยกแขนลงให้แขนทั้ง 2 ข้างตั้งฉาก
กับลำ�ตัว จากนั้นให้ขยับแขนทั้ง 2 ข้างไปข้างหลัง
และข้างหน้าพร้อมๆ กัน เท้าทั้ง 2 ข้างขยับไปมา
โดยการยกแล้วชิดสลับกัน ตามจังหวะเพลง
	 ท่าที่ 6 ท่าขุดดิน ผู้รำ�บิดลำ�ตัวไปทางซ้าย
เล็กน้อย พร้อมกับก้าวเท้าซ้ายออกไปด้านข้าง ตาม
ด้วยเท้าขวาในลักษณะยกแล้วชิด พร้อมกับเหวี่ยงแขน
ทั้งสองข้างออกไปข้างลำ�ตัวพร้อมๆ กันคล้ายกับ
ท่าขุดดิน พร้อมกับออกเสียง
	 ท่าที่ 7 ท่าปลูกหน่อมะพร้าว	 ผู้รำ�ก้มตัวลง
เล็กน้อย ยื่นแขนทั้งสองข้างออกไปด้านหน้า โดย
หงายฝ่ามือขึ้น พร้อมกับส่ายไปมาซ้ายและขวา
ตามจังหวะดนตรี โดยใช้การก้าวเท้าในลักษณะของ
การยกแล้วชิด
	 ท่าที่ 8 ท่ากลบดิน ในท่านี้เป็นท่ารำ�ต่อเนื่องจาก
ท่าที่ 7 เรียกว่า “ท่ากลบดิน” เมื่อนำ�มะพร้าวลงหลุม
แล้วจะต้องทำ�การกลบดิน ท่านี้มีลักษณะคล้ายกับ
ท่าปลูกมะพร้าวทั้งการเคลื่อนไหวของร่างกายและ
การก้าวเท้า แตกต่างกันเพียงการหงายฝ่ามือขึ้น ให้
เปลี่ยนเป็นคว่ำ�มือลงพร้อมกับส่ายไปมาตามจังหวะ
ดนตรีและการก้าวเท้าในลักษณะของการยกแล้วชิด
สลับกัน (เท้าซ้ายชิดเท้าขวา, เท้าขวาชิดเท้าซ้าย)
27
ท่าที่ 9 ในท่านี้ผู้รำ�กลับมายืนตัวตรง ให้แขน
ทั้ง 2 ข้างตั้งฉากกัน จากนั้นให้ขยับแขนทั้ง 2 ข้าง
ไปข้างหน้าและหลังพร้อมๆ กัน โดยที่เท้าทั้ง 2 ข้าง
ขยับไปมาโดยการยกแล้วชิดสลับกัน ตามจังหวะเพลง
(เต้นท่านี้จนกว่าจะเข้าเนื้อร้อง)
	 ท่าที่ 10 ท่ารดน้ำ� ผู้รำ�หันเฉียงไปทางซ้าย
เล็กน้อยพร้อมเหวี่ยงแขนทั้ง 2 ข้างจากฝั่งขวาออกไป
ข้างลำ�ตัวทางฝั่งซ้ายพร้อมๆ กันเป็นลักษณะของ
การเหวี่ยงแล้วดึงกลับมาในตำ�แหน่งเดิน ตามจังหวะ
การก้าวเท้า
	 ท่าที่ 11 ผู้รำ�ยกแขนลงให้แขนทั้ง 2 ข้างตั้งฉาก
กับลำ�ตัว (คล้ายๆท่าขับมอเตอร์ไซค์) จากนั้นให้ขยับ
แขนทั้ง 2 ข้างไปข้างหน้าและหลังพร้อมๆกัน เท้า
ทั้ง 2 ข้างขยับไปมาจากซ้ายไปขวาและขวามาซ้าย
โดยการยกแล้วชิดสลับกัน ตามจังหวะเพลง
	 ท่าที่ 12 ท่านี้มีลักษณะคล้ายกับท่าวิ่งไปข้าง
หน้าและเดินถอยหลัง ผู้รำ�อยู่ในท่าตัวตรง มองไป
ข้างหน้า จากนั้นให้ก้าวเท้าขวานำ�ไปข้างหน้า 1 ก้าว
แล้วถอยไปข้างหลัง 1 ก้าวโดยใช้เท้าขวาเช่นกันเป็น
ท่าของการเดินหน้าและถอยหลังก้าวตามจังหวะดนตรี
แขนทั้ง 2 ข้างแกว่งขึ้นลง คล้ายๆ กับท่าวิ่ง
ท่าก้าวเท้าไปข้างหน้า (ใช้เท้าขวานำ�)
ท่าก้าวเท้าไปข้างหลัง (ใช้เท้าขวาก้าวไปข้างหลัง)
28
ท่าที่ 13 ท่าสอยมะพร้าว ในท่านี้จะเป็นท่า
ต่อเนื่องจากท่าที่ 12 ซึ่งมีลักษณะการก้าวเท้าคล้ายกับ
ท่าวิ่ง ซึ่งท่านี้ก็เช่นเดียวกันยังคงเคลื่อนไหวในลักษณะ
เดียวกันนี้ โดยที่ผู้รำ�ก้าวเท้าขวานำ�ไปข้างหน้า 1
ก้าวให้เท้าซ้ายยกส้นเท้าเล็กน้อย ลักษณะเดียวกับ
การโน้มตัวไปข้างหน้า เมื่อก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า
พร้อมกันให้ยกมือทั้ง 2 ข้างขึ้นมาพร้อมกับกำ�มือ
ไว้โดยให้ตำ�แหน่งมือขวาอยู่สูงกว่ามือซ้ายเยื้องกัน
เล็กน้อย คล้ายๆ กับการจับไม้เพื่อสอยมะพร้าวจาก
ที่สูง พร้อมกับร้องดังๆ ว่า....เฮ้ จากนั้นโยกตัวถอย
ไปข้างหลัง 1 ก้าวโดยใช้เท้าขวาขยับไปทางด้านหลัง
ทำ�สลับไปมาจากหลังไปหน้าและหน้ามาหลัง
	 *การก้าวเท้าในท่านี้ให้ใช้เท้าขวานำ�ก่อนทุกครั้ง
ทั้งการเดินหน้าและถอยหลัง*
	 ท่าที่ 14 ท่าปอกมะพร้าว ในท่านี้จะเป็นท่าต่อ
เนื่องจากท่าที่ 13 ซึ่งมีลักษณะการก้าวเท้าคล้ายกับ
ท่าวิ่งเช่นเดียวกัน คือ ก้าวท้าวขวานำ�ไปข้างหน้า
1 ก้าว โดยให้เท้าซ้ายยกส้นเท้าเล็กน้อยเป็นลักษณะ
ของการทิ้งน้ำ�หนักไปข้างหน้า ทำ�พร้อมกับยื่นมือ
ทั้งสองข้างออกไปให้อยู่ระดับอก โดยให้ฝ่ามือทั้งสองข้าง
คว่ำ�ลง ปลายนิ้วงองุ้มเล็กน้อย กดฝ่ามือทั้งสอง
ข้างลงและยกขึ้นอย่างรวดเร็ว 2 ครั้ง จากนั้นให้ใช้
ขาขวาถอยกลับไปทางด้านหลัง 1 ก้าว ทำ�สลับไปมา
ทั้งหน้าและหลังเช่นนี้อย่างต่อเนื่องตามจังหวะเพลง
	 ท่าที่ 15 ผู้รำ�ยืนตัวตรง ให้ปลายเท้าห่างกันเล็กน้อย
มือทั้งสองข้างเท้าสะเอว ส่ายสะโพกไปมา โดยไม่ขยับ
เท้าทั้งสองข้าง (ส่ายสะโพกโดยการยืนอยู่กับที่)
29
ท่าที่ 16 ท่าขูดมะพร้าว ผู้รำ�ยืนตัวตรง ให้ปลายเท้า
ห่างกันเล็กน้อย ส่ายสะโพกไปมา โดยให้เท้าทั้งสอง
ข้างอยู่กับที่ คว่ำ�ฝ่ามือทั้งสองข้างลงจากนั้นนำ�มา
ประสานกันโดยใช้มือขวาทับมือซ้าย พร้อมกับหัน
หน้าไปทางขวา กดข้อมือลงและยกขึ้นอย่างรวดเร็ว
อย่างละ 2 ครั้ง จากนั้นให้ผู้รำ�หันไปทางซ้าย ทำ�ท่า
ลักษณะเดียวกันกับทางขวา ทำ�สลับไปมาทั้งขวาและ
ซ้ายไปเรื่อยๆ
	 ท่าที่ 17 (ใช้กะลาเป็นอุปรณ์ประกอบการเต้นรำ�)
เมื่อทำ�การขูดมะพร้าวแล้ว จะเหลือกะลา ผู้รำ�หยิบ
กะลาที่ทำ�การผ่าซีกจำ�นวน 2 ซีกมาใช้เป็นอุปกรณ์
ประกอบการเต้นที่เรียกว่า “การเซิ้งกะลา” โดยใช้
มือซ้ายและมือขวาถือกะลาอย่างละซีก เอาด้านนอก
กะลาหันเข้าหาลำ�ตัว ย่ำ�เท้าอยู่กับที่สลับซ้ายและขวา
นำ�กะลามาไว้ในตำ�แหน่งบริเวณสะโพก จากนั้น
ผู้รำ�จะเซิ้งกะลาโดยควงกะลาแบบหมุนวนเป็นวงกลม
ไปข้างหน้า ตามจังหวะเพลง เต้นอย่างนี้ไปเรื่อยๆ
จนกว่าจะเข้าเนื้อเพลงจึงจะเปลี่ยนท่าเต้น
	 ท่าที่ 18 ผู้รำ�ยืนตรงขาชิดกัน นำ�มือที่ถือกะลา
ไว้ทั้งสองข้างมาพนมไว้ระดับอก จากนั้นผู้รำ�จะโน้มตัว
ทำ�ท่าสวัสดี 1 ครั้ง
	 ท่าที่ 19 ผู้รำ�ยืนตัวตรง ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ตามจังหวะ
เพลง นำ�กะลาที่อยู่ในมือทั้งสองข้างมากระทบกัน
โดยการยกแขนซ้ายและขวาขึ้นและลงอย่างรวดเร็ว
เพื่อให้กะลาเกิดการกระทบกันจนเกิดเสียง จากนั้น
ผู้รำ�จะเดินย่ำ�เท้าไปเรื่อยๆเพื่อแปรขบวน โดยนำ�กะลา
มากระทบกันให้เกิดเสียงตามจังหวะเพลง
30
ท่าที่ 20 ผู้รำ�เดินก้าวเท้าไปตามจังหวะเพลง
ในลักษณะการยกแล้วชิด เริ่มจากการยกเท้าซ้ายไป
ชิดเท้าขวา ในขณะที่เท้าชิดกัน ผู้รำ�จะเอียงลำ�ตัว
เล็กน้อย ยกกะลาขึ้นมาอยู่ในตำ�แหน่งระหว่างหัวไหล่
กับกกหูเพื่อนำ�มากระทบกันจนเกิดมีเสียง เมื่อก้าว
เท้าซ้ายให้เอียงตัวไปทางขวา ศรีษะเอียงตามลำ�ตัว
(ท่าคล้ายๆ กับการเอาหูไปใกล้ๆ กะลาเพื่อฟังเสียง
กะลากระทบกัน) การเต้นท่านี้หลักการจำ�ง่ายๆ คือ
เมื่อก้าวเท้าเพื่อยกชิดให้เอียงลำ�ตัวไปในทิศทางตรงกัน
ข้ามกับข้างที่ยก เช่น เมื่อยกเท้าขวาไปชิดเท้าซ้ายให้
เอียงตัวไปทางซ้าย พร้อมกับเคาะกะลา ในตำ�แหน่งเดิม
	 ท่าที่ 21 ผู้รำ�ยืนย่ำ�เท้าอยู่กับที่ แบบสลับเท้า
ซ้ายและขวาพร้อมกับโยกตัวไปมา เมื่อยกเท้าข้างใด
ผู้รำ�จะนำ�กะลามาเคาะฝั่งนั้น เช่น ยกเท้าซ้าย ก็จะ
นำ�กะลามาเคาะฝั่งซ้าย
	 ท่าที่ 22 ผู้รำ�จับคู่หันหน้าเข้าหากัน ย่ำ�เท้า
อยู่กับที่ ยกแขนซ้ายขวาขึ้นลงสลับกัน พร้อมกับ
เคาะกะลาตามจังหวะเพลง
31
ท่าที่ 23 ในท่านี้จะเป็นการจับคู่กับผู้ที่รำ�ด้วยกัน
โดยการหันหน้าเข้าหากัน ในขั้นแรกให้ผู้รำ�ย่ำ�เท้า
อยู่กับที่ จากนั้นผู้รำ�จะก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า 1 ก้าว
เพื่อเดินหน้าเข้าหากัน ในจังหวะนั้นผู้รำ�จะยกกะลา
มากระทบกันกับคู่รำ�ของตนเอง โดยให้ส่วนนอกสัมผัส
กันจนเกิดเสียง เท้าซ้าย ยกส้นเท้าขึ้นเล็กน้อยคล้ายๆ
กับการทิ้งน้ำ�หนักตัวไปทางด้านหน้า เมื่อผู้รำ�ทั้งคู่นำ�
กะลามากระทบกันจนเกิดเสียงแล้ว ก็จะยกเท้าขวา
ถอยไปด้านหลัง 1 ก้าวพร้อมกัน โดยให้เท้าขวาอยู่
ต่ำ�กว่าเท้าซ้ายทิ้งระยะห่างกัน 1 ก้าว ในจังหวะที่
ก้าวถอยหลัง ผู้รำ�จะนำ�กะลามากระทบกันตรงบริเวณ
ก้นของตนเอง 1 ครั้ง จากนั้นจะใช้เท้าขวาก้าวไป
ข้างหน้า 1 ก้าวพร้อมกับนำ�กะลาของตนเองไปกระทบ
กับคู่ของตนที่อยู่ตรงหน้า ทำ�เช่นนี้สลับกันไปเรื่อยๆ
	 ท่าที่ 24 ผู้รำ�กลับมายืนในท่าปกติโดยไม่จับคู่
พร้อมกับย่ำ�เท้าอยู่กับที่ ในระหว่างที่ย่ำ�เท้านั้นผู้รำ�จะ
เคาะกะลาตามจังหวะเพลง โดยการใช้แขนขวาและ
แขนซ้ายสลับขึ้นลงตามจังหวะของเพลง ให้ส่วนนอก
ของกะลาทั้งสองอันกระทบกันจนเกิดเสียง
	 ท่าที่ 25 ในท่านี้ผู้รำ�จะต้องฝึกการก้าวเท้าเดิน
หน้าและถอยหลังโดยเริ่มที่เท้าขวาเป็นจังหวะที่ 1
ทุกครั้ง เมื่อผู้รำ�ก้าวเท้าขวาออกไปข้างหน้า 1 ก้าว
ให้เท้าซ้ายยกส้นเท้าเล็กน้อย พร้อมกันนี้ในจังหวะที่
ก้าวเท้าขวาสัมผัสกับพื้น ผู้รำ�จะต้องชูแขนทั้ง 2 ข้าง
ขึ้นเหนือศรีษะพร้อมกับนำ�กะลามากระทบกันจนเกิด
เสียง 1 ครั้ง จากนั้นผู้รำ�จะใช้เท้าขวาถอยหลังไป
1 ก้าว ให้ตำ�แหน่งเท้าขวาอยู่ต่ำ�กับเท้าซ้ายโดยเว้น
ระยะประมาณ 1 ก้าว ในจังหวะที่เท้าขวาสัมผัสกับพื้น
ผู้รำ�จะนำ�กะลามากระทบกันจนเกิดเสียงตรงเวณบริเวณ
ก้น 1 ครั้ง ทำ�อย่างนี้สลับกันไปเรื่อยๆ
	 ท่าที่ 26 ในท่านี้ผู้รำ�จะย่ำ�เท้าอยู่กับที่ ในระหว่าง
ที่ย่ำ�เท้านั้นก็จะเคาะกะลาตามจังหวะเพลงไปด้วย
โดยการใช้แขนขวาและแขนซ้ายสลับขึ้นลงตามจังหวะ
ของเพลง ให้ส่วนนอกของกะลาทั้งสองอันกระทบกัน
จนเกิดเสียง
32
ท่าที่ 27 ผู้รำ�ยกเข่าขึ้นและลง สลับกันทั้งซ้าย
และขวา จากนั้นจะใช้กะลามากระทบกันตามจังหวะ
ของเพลงที่บรรเลง สลับไปมาทั้งซ้ายและขวา เมื่อ
ผู้รำ�ยกเข่าซ้ายขึ้นก็จะนำ�กะลามากระทบกันบริเวณ
ทางฝั่งด้านซ้าย ในขณะที่กะลากระทบกันผู้รำ�จะใช้
การเอียงลำ�ตัวไปด้วยเพื่อให้ดูสวยงามมากยิ่งขึ้น
	 ท่าที่ 28 ผู้รำ�ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ พร้อมกับเคาะกะลา
ตามจังหวะเพลง โดยใช้การหมุนควงกะลาไปข้างหน้า
ให้ด้านนอกของกะลาทั้งสองอันมากระทบกันจนเกิด
เสียง
	 ท่าที่ 29 ในท่านี้ผู้รำ�จะต้องเตะเท้าไปข้างหน้า
สลับไปมาทั้งซ้ายและขวาข้างละ 1 ครั้ง พร้อมกับ
ยกแขนขึ้นเหนือศรีษะ และกางแขนเข้า-ออกสลับ
กัน คล้ายๆ กับท่าโบกมือไปมา ในจังหวะที่กางแขน
เข้า ผู้รำ�จะใช้กะลามากระทบกันจนเกิดเสียงดัง
1 ครั้ง พร้อมกับเตะเท้าออกไปข้าง หน้า 1 ครั้ง เมื่อ
ผู้รำ�กางแขนออกซึ่งจะเป็นจังหวะเดียวกับการดึงเท้า
ข้างที่เตะกลับจะเป็นจังหวะของการสลับเปลี่ยนเท้า
หลักการจำ�อย่างง่าย เมื่อกะลากะทบกัน 1 ครั้ง
ให้เตะขาออกไป 1 ครั้ง เมื่อกางแขนออกจะเป็นการ
ทำ�ในจังหวะการสลับเปลี่ยนเท้า
	 ท่าที่ 30 ผู้รำ�ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ พร้อมกับเคาะกะลา
ตามจังหวะเพลง โดยใช้การหมุนควงกะลาไปข้างหน้า
ให้แขนทั้สองข้างสลับขึ้นและลงตามจังหวะเพลง ใช้
ด้านนอกของกะลาทั้งสองอันมากระทบกันจนเกิดเสียง
	 ท่าที่ 31 ผู้รำ�ในท่านี้จะต้องใช้การสืบเท้าไปด้าน
ข้างสลับกันทั้งซ้ายและขวาข้างละ สองจังหวะ โดย
ใช้เท้าอีกข้างขยับตามไปทางด้านข้าง ท่านี้จะคล้ายๆ
กับการสไลด์ตัวไปด้านข้าง จากนั้นในระหว่างการสืบ
เท้าจะต้องใช้มือทั้งสองข้างกางเข้าและออกไปด้านข้าง
ลำ�ตัว เพื่อให้กะลามากระทบกันในจังหวะเท้าชิด ทำ�ให้
เกิดเสียงตามจังหวะของการสืบเท้าด้วย
ท่าการเคลื่อนไหวร่างกายไปทางขวา
	 ให้ผู้รำ�สืบเท้าขวาไปทางขวา 1 ครั้ง ตามด้วย
เท้าซ้ายสืบตามมา 1 ก้าว จากนั้นผู้รำ�จะวางเท้า
ซ้ายลงในตำ�แหน่งชิดกับเท้าขวา เหมือนกับการยก
แล้วชิด ในขณะที่เท้าชิดกันผู้รำ�จะนำ�กะลามากระทบกัน
1 ครั้ง เมื่อเท้าทั้งสองข้างชิดติดกันแล้ว ผู้รำ�จะสืบเท้า
ขวาออกไปทางขวาอีก 1 ครั้งซึ่งเป็นการสืบเท้าจังหวะ
ที่ 2 ในระหว่างนี้ผู้รำ�จะทำ�พร้อมกับกางแขนออกไป
ข้างลำ�ตัว จากนั้นจะสืบเท้าซ้ายตามมาเพื่อยกแล้วชิด
33
เท้าขวาในขณะที่เท้าชิดกัน ผู้รำ�จะนำ�กะลามากระทบ
กันจนเกิดเสียง 1 ครั้ง ในการรำ�ท่านี้ผู้รำ�จะต้องฟัง
จังหวะในเพลงบรรเลงประกอบด้วย
ท่าการเคลื่อนไหวร่างกายไปทางซ้าย
	 ให้ผู้รำ�สืบเท้าซ้ายไปทางซ้าย 1 ครั้ง ตามด้วย
เท้าขวาสืบตามมา 1 ก้าว จากนั้นผู้รำ�จะวางเท้า
ขวาลงในตำ�แหน่งชิดกับเท้าซ้าย เหมือนกับการยก
แล้วชิด ในขณะที่เท้าชิดกันผู้รำ�จะนำ�กะลามากระ
ทบกันจนเกิดเสียง 1 ครั้ง เมื่อเท้าทั้งสองข้างชิดติด
กันแล้ว ผู้รำ�จะสืบเท้าซ้ายออกไปทางซ้ายอีก 1 ครั้ง
ซึ่งเป็นการสืบเท้าจังหวะที่ 2 ในระหว่างนี้ผู้รำ�จะทำ�
พร้อมกับกางแขนออกไปข้างลำ�ตัว จากนั้นจะสืบเท้าขวา
ตามมาเพื่อยกแล้วชิด เมื่อเท้าขวาชิดกับเท้าซ้ายแล้ว
ผู้รำ�จะนำ�กะลามากระทบกัน 1 ครั้ง ในท่านี้ผู้รำ�
จะต้องทำ�สลับไปมาทั้งทางซ้ายและขวาโดยใช้การ
สืบเท้าออกไปด้านข้างอย่างละ 2 จังหวะ โดยการทำ�
สลับอย่างนี้ไปเรื่อยๆ
	 ท่าที่ 32 ผู้รำ�ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ พร้อมกับเคาะกะลา
ตามจังหวะเพลง หรือการเซิ้งกะลา โดยใช้การหมุน
ควงกะลาไปข้างหน้าให้แขนทั้สองข้างสลับขึ้นและ
ลงตามจังหวะเพลง ใช้กะลากระทบกันจนเกิดเสียง
ตามจังหวะเพลง
	 ท่าที่ 33 ผู้รำ�ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ หมุนตัวไปทางขวา
เล็กน้อย จากนั้นนำ�กะลามาเคาะกะลา และหมุนตัว
ไปทางซ้าย นำ�กะลามาเคาะตามตามจังหวะเพลง
ทำ�สลับกันไปเรื่อยๆ
34
ท่าที่ 34 ผู้รำ�ยืนตรง กางแขนออก บิดตัวไปทาง
ขวา แล้วหมุนตัวกลับมาทางซ้าย หันกลับมาทำ�ท่า
สวัสดี
35

Act3

  • 2. พื้นที่ต้นแบบของกิจกรรม: เทศบาลตำ�บลทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่มาของกิจกรรม เทศบาลตำ�บลทับสะแกเป็นองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นแห่งหนึ่งในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีพืชผลที่ ทำ�รายได้ส่วนใหญ่ได้มาจากมะพร้าว นอกจากมะพร้าว จะเป็นพืชผลที่สร้างรายได้แล้ว ยังนำ�มาแปรรูปเป็น ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้อีกมากมาย และในพื้นที่เทศบาลได้ มีการนำ�เอากะลามะพร้าวมาประกอบกิจกรรมการแสดง และการรำ�กะลาอีกด้วย การรำ�กะลาเป็นการแสดงรำ� พื้นบ้านของชาวทับสะแก โดยนำ�กะลามะพร้าวแห้ง มาขัดให้มันและตกแต่งอย่างสวยงามเพื่อใช้ประกอบ จังหวะเพลง การรรำ�กะลาเป็นภูมิปัญญาที่สืบทอด กันมาจากครั้งอดีต มีท่าเคลื่อนไหวร่างกายที่อ่อนช้อย สวยงามใช้ทุกส่วนของร่างกายในการแสดงอย่าง สอดคล้องรับกับดนตรีที่บรรเลง ถือว่าเป็นการออกกำ�ลัง กายอย่างหนึ่ง ในอดีตการรำ�กะลาเป็นกิจกรรมรื่นเริง ที่ชาวบ้านนิยมทำ�กันในวันว่างเพื่อผ่อนคลายอารมณ์ และสร้างความสนุกสนานสามัคคีในชุมชน เทศบาล ตำ�บลทับสะแก จึงมีแนวคิดที่จะส่งเสริมให้ประชาชน รุ่นหลังได้ออกกำ�ลังกายเพื่อสุขภาพ ผสมผสานกับ การอนุรักษ์วัฒนธรรม ภูมิปัญญาชาวบ้านต่างๆ เอา ไว้จึงได้จัดทำ�”โครงการมหกรรมรำ�ลาบิคเพื่อสุขภาพ และอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น” โดยการนำ�เอารูปแบบ และท่าทางการรำ�กะลามาประยุกต์ให้เป็นรูปแบบการ ออกกำ�ลังกายที่เหมาะสมสำ�หรับทุกเพศทุกวัยและ เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น จึงได้พิจารณาการนำ� ท่ารำ�กะลามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม สำ�หรับใช้เป็น ท่าออกกำ�ลังกายสำ�หรับเด็ก เยาวชน ประชาชนและ ผู้สูงอายุ อีกทั้งยังเป็นการผ่อนคลายความเครียด ได้อีกทางหนึ่ง แนวทางการดำ�เนินกิจกรรม การดำ�เนินกิจกรรม “รำ�ลาบิค” นั้น หลังจาก ได้รับการอนุมัติจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ก็ได้จัดให้มีการประชุมคณะทำ�งานของเทศบาลตำ�บล ทับสะแก ร่วมกับคณะกรรมการชุมชนทั้ง 10 ชุมชนที่ อยู่ในพื้นที่ความรับผิดชอบ พร้อมทำ�การประชาสัมพันธ์ กิจกรรมดังกล่าวให้ประชาชนรับทราบ หลังจากเสร็จ สิ้นกิจกรรมการประชุม ตัวแทนของแต่ละชุมชนจึง ทำ�การสรรหาผู้มีความรู้ และเชี่ยวชาญในการออก กำ�ลังกาย และภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อมาเป็นวิทยากร ฝึกสอนประชาชนในพื้นที่ของตน และต่อด้วยการฝึก อบรมกิจกรรมให้กับประชาชน เมื่อถึงกำ�หนดเวลาตาม แผนดำ�เนินกิจกรรมโครงการ จึงจัดให้มีหมหกรรมรำ� ลาบิคเพื่อสุขภาพและอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นขึ้น ทั้งนี้ทางผู้ดำ�เนินการโครงการได้วางแผนที่จะจัดให้มี กิจกรรมดังกล่าวในทุกปี เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรัก สามัคคี และร่วมอนุรักษ์สืบสานศิลปะ วัฒนธรรมให้คงอยู่สืบไป เป้าหมาย: ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชน ทุกเพศทุกวัยออกกำ�ลังกายในรูปแบบแอโรบิคประยุกต์ เพื่อสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง ควบคู่กับการปลูกจิตสำ�นึก ให้รักวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการดำ�เนิน งานร่วมกันของภาคีเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพและกีฬา ประโยชน์ 1. ประชาชนใส่ใจเรื่องสุขภาพ และออกกำ�ลังกาย มากขึ้น 2. มีจิตสำ�นึกดี และความภาคภูมิใจในวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น 3. เกิดสัมพันธภาพที่ดีระหว่างคนในชุมชน 4. ประชาชนในชุมชนและท้องถิ่นมีความรัก สามัคคีต่อกัน 5. สามารถสร้างแกนนำ�ต้นแบบที่สามารถถ่ายทอด การออกกำ�ลังกาย และเผยแพร่ให้แก่ผู้ที่สนใจ เวลาที่ใช้เล่น: ประมาณ 60 นาที อุปกรณ์: 1. กะลาผ่าซีก 2 ชิ้น ต่อผู้เล่น 1 คน 2. เพลงประกอบท่าเต้น 3. สนาม/พื้นที่โล่งๆ 4. ผ้าขาวม้า จำ�นวนผู้เล่น: ไม่จำ�กัดจำ�นวน รำ�ลาบิค
  • 3. การรำ�ลาบิค ถือเป็นกีฬาพื้นบ้านชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นการผสมผสานระหว่างการรำ�กะลากับการ ออกกำ�ลังกายแบบแอโรบิก โดยใช้เพลงดนตรีประกอบ ท่าเต้นที่มีจังหวะสนุกสนานและมีเนื้อร้องบอกเล่า ความเป็นมาของตำ�บลทับสะแก จึงทำ�ให้เกิดความ ภาคภูมิใจของคนในตำ�บลนี้จนนำ�มาซึ่งการประยุกต์ จนได้ท่ารำ�ทั้งหมด 34 ท่า ซึ่งในแต่ละท่านั้นเกิดจาก การนำ�วิถีชีวิตของคนพื้นบ้านมาประกอบเป็นท่าทางการ เคลื่อนไหวโดยใช้ทุกส่วนของร่างกายที่สอดคล้องกับดนตรี ที่บรรเลง ผสมผสานกับการอนุรักษ์วัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาที่สืบทอดต่อๆ กันมา ซึ่งเริ่มตั้งแต่การขุดดิน การปลูกหน่อมะพร้าว การรดน้ำ�ให้ปุ๋ย เมื่อมะพร้าวโต จะใช้ลิงกังหรือตะขอในการเก็บเกี่ยวผล ใช้หลาวเหล็ก ในการปอก และใช้กระต่ายในการขูด ส่วนกะลา มะพร้าวนำ�มาใช้ประโยชน์ได้นานาชนิด ท่าเริ่มต้น ก่อนเข้าเนื้อร้อง ผู้รำ�จะยืนตัวตรง มือ 2 ข้างเท้าสะเอว ปลาย เท้าห่างกันพอประมาณ เมื่อดนตรีเริ่มบรรเลง ผู้รำ� จะยืนโยกไปมาอยู่กับที่ เริ่มจากขวาไปซ้ายสลับกันไป มาจำ�นวน 5 ครั้ง จากนั้น ผู้รำ�จะยื่นแขนขวาออกไป ข้างหน้าในลักษณะเหยียดตรง มือหงายขึ้น แล้วตาม ด้วยการเหยียดแขนซ้ายออกไป ใช้ฝ่ามือซ้ายประกบ ลงบนฝ่ามือขวาโดยการคว่ำ�มือซ้ายลงบนมือขวาอยู่ใน ท่าลักษณะคล้ายการดัดนิ้วมือ พร้อมกับโยกตัวไปมา ตามจังหวะเพลงที่บรรเลง จากนั้นจะเป็นท่าการสลับ แขนโดยการใช้มือขวาวางคว่ำ�ลงบนฝ่ามือซ้าย พร้อม กับโยกตัวไปมาตามจังหวะเพลง 1. รูปภาพท่ายืนตรง มือท้าวเอว โยกตัวไปมา ซ้ายและขวา 2. ยื่นแขนไปข้างหน้าให้แขนตึง จากนั้นใช้มือ ซ้ายกดปลายนิ้วมือขวา ย่อตัวเล็กน้อยในขณะโยกตัว ไปมา 3. ยื่นแขนไปข้างหน้าให้แขนทั้งสองข้างตึง จากนั้นใช้มือขวากดปลายนิ้วมือซ้าย ย่อตัวลงเล็กน้อย โยกตัวไปมา ท่าเต้นเมื่อเข้าเนื้อร้อง ท่าที่ 1 ผู้รำ�ยืนตัวตรงขาชิดกัน ยกมือพนม บริเวณหน้าอกพร้อมกับก้มไหว้ 1 ครั้ง 25
  • 4. ท่าที่ 2 ผู้รำ�ยืนตัวตรง ปลายเท้าห่างกันเพียง เล็กน้อย มือ 2 ข้างเท้าเอว พร้อมกับโยกตัวไปมา สลับกันเริ่มจากขวาไปซ้ายทำ�สลับกันไปเรื่อยๆ ใน ขณะโยกตัวให้ย่อตัวลงเล็กน้อย ท่าที่ 3 ท่านี้จะคล้ายๆ กับการชกลม ผู้รำ�ยืน ตัวตรง เท้าห่างกันเล็กน้อย เหยียดแขนไปข้างหน้า สลับขวาซ้ายอย่างละครั้งเริ่มจากขวาและไปซ้าย ในขณะยืดแขนไปข้างหน้าให้ย่อตัวเล็กน้อย (เต้นท่า นี้จนกว่าจะเข้าเนื้อร้อง) ท่าที่ 4 ผู้รำ�ยกแขนทั้ง 2 ข้างขึ้น พร้อมกับ ตั้งข้อศอกให้ขนานกับลำ�ตัว จากนั้นยกข้อศอกชิดกัน กางเข้าและออกสลับกัน เท้าทั้ง 2 ขยับไปตามจังหวะ แบบยกแล้วชิดสลับกันไปมาเมื่อแขนทั้ง 2 ข้าง กางเข้าหากัน 26
  • 5. ท่าที่ 5 ผู้รำ�ยกแขนลงให้แขนทั้ง 2 ข้างตั้งฉาก กับลำ�ตัว จากนั้นให้ขยับแขนทั้ง 2 ข้างไปข้างหลัง และข้างหน้าพร้อมๆ กัน เท้าทั้ง 2 ข้างขยับไปมา โดยการยกแล้วชิดสลับกัน ตามจังหวะเพลง ท่าที่ 6 ท่าขุดดิน ผู้รำ�บิดลำ�ตัวไปทางซ้าย เล็กน้อย พร้อมกับก้าวเท้าซ้ายออกไปด้านข้าง ตาม ด้วยเท้าขวาในลักษณะยกแล้วชิด พร้อมกับเหวี่ยงแขน ทั้งสองข้างออกไปข้างลำ�ตัวพร้อมๆ กันคล้ายกับ ท่าขุดดิน พร้อมกับออกเสียง ท่าที่ 7 ท่าปลูกหน่อมะพร้าว ผู้รำ�ก้มตัวลง เล็กน้อย ยื่นแขนทั้งสองข้างออกไปด้านหน้า โดย หงายฝ่ามือขึ้น พร้อมกับส่ายไปมาซ้ายและขวา ตามจังหวะดนตรี โดยใช้การก้าวเท้าในลักษณะของ การยกแล้วชิด ท่าที่ 8 ท่ากลบดิน ในท่านี้เป็นท่ารำ�ต่อเนื่องจาก ท่าที่ 7 เรียกว่า “ท่ากลบดิน” เมื่อนำ�มะพร้าวลงหลุม แล้วจะต้องทำ�การกลบดิน ท่านี้มีลักษณะคล้ายกับ ท่าปลูกมะพร้าวทั้งการเคลื่อนไหวของร่างกายและ การก้าวเท้า แตกต่างกันเพียงการหงายฝ่ามือขึ้น ให้ เปลี่ยนเป็นคว่ำ�มือลงพร้อมกับส่ายไปมาตามจังหวะ ดนตรีและการก้าวเท้าในลักษณะของการยกแล้วชิด สลับกัน (เท้าซ้ายชิดเท้าขวา, เท้าขวาชิดเท้าซ้าย) 27
  • 6. ท่าที่ 9 ในท่านี้ผู้รำ�กลับมายืนตัวตรง ให้แขน ทั้ง 2 ข้างตั้งฉากกัน จากนั้นให้ขยับแขนทั้ง 2 ข้าง ไปข้างหน้าและหลังพร้อมๆ กัน โดยที่เท้าทั้ง 2 ข้าง ขยับไปมาโดยการยกแล้วชิดสลับกัน ตามจังหวะเพลง (เต้นท่านี้จนกว่าจะเข้าเนื้อร้อง) ท่าที่ 10 ท่ารดน้ำ� ผู้รำ�หันเฉียงไปทางซ้าย เล็กน้อยพร้อมเหวี่ยงแขนทั้ง 2 ข้างจากฝั่งขวาออกไป ข้างลำ�ตัวทางฝั่งซ้ายพร้อมๆ กันเป็นลักษณะของ การเหวี่ยงแล้วดึงกลับมาในตำ�แหน่งเดิน ตามจังหวะ การก้าวเท้า ท่าที่ 11 ผู้รำ�ยกแขนลงให้แขนทั้ง 2 ข้างตั้งฉาก กับลำ�ตัว (คล้ายๆท่าขับมอเตอร์ไซค์) จากนั้นให้ขยับ แขนทั้ง 2 ข้างไปข้างหน้าและหลังพร้อมๆกัน เท้า ทั้ง 2 ข้างขยับไปมาจากซ้ายไปขวาและขวามาซ้าย โดยการยกแล้วชิดสลับกัน ตามจังหวะเพลง ท่าที่ 12 ท่านี้มีลักษณะคล้ายกับท่าวิ่งไปข้าง หน้าและเดินถอยหลัง ผู้รำ�อยู่ในท่าตัวตรง มองไป ข้างหน้า จากนั้นให้ก้าวเท้าขวานำ�ไปข้างหน้า 1 ก้าว แล้วถอยไปข้างหลัง 1 ก้าวโดยใช้เท้าขวาเช่นกันเป็น ท่าของการเดินหน้าและถอยหลังก้าวตามจังหวะดนตรี แขนทั้ง 2 ข้างแกว่งขึ้นลง คล้ายๆ กับท่าวิ่ง ท่าก้าวเท้าไปข้างหน้า (ใช้เท้าขวานำ�) ท่าก้าวเท้าไปข้างหลัง (ใช้เท้าขวาก้าวไปข้างหลัง) 28
  • 7. ท่าที่ 13 ท่าสอยมะพร้าว ในท่านี้จะเป็นท่า ต่อเนื่องจากท่าที่ 12 ซึ่งมีลักษณะการก้าวเท้าคล้ายกับ ท่าวิ่ง ซึ่งท่านี้ก็เช่นเดียวกันยังคงเคลื่อนไหวในลักษณะ เดียวกันนี้ โดยที่ผู้รำ�ก้าวเท้าขวานำ�ไปข้างหน้า 1 ก้าวให้เท้าซ้ายยกส้นเท้าเล็กน้อย ลักษณะเดียวกับ การโน้มตัวไปข้างหน้า เมื่อก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า พร้อมกันให้ยกมือทั้ง 2 ข้างขึ้นมาพร้อมกับกำ�มือ ไว้โดยให้ตำ�แหน่งมือขวาอยู่สูงกว่ามือซ้ายเยื้องกัน เล็กน้อย คล้ายๆ กับการจับไม้เพื่อสอยมะพร้าวจาก ที่สูง พร้อมกับร้องดังๆ ว่า....เฮ้ จากนั้นโยกตัวถอย ไปข้างหลัง 1 ก้าวโดยใช้เท้าขวาขยับไปทางด้านหลัง ทำ�สลับไปมาจากหลังไปหน้าและหน้ามาหลัง *การก้าวเท้าในท่านี้ให้ใช้เท้าขวานำ�ก่อนทุกครั้ง ทั้งการเดินหน้าและถอยหลัง* ท่าที่ 14 ท่าปอกมะพร้าว ในท่านี้จะเป็นท่าต่อ เนื่องจากท่าที่ 13 ซึ่งมีลักษณะการก้าวเท้าคล้ายกับ ท่าวิ่งเช่นเดียวกัน คือ ก้าวท้าวขวานำ�ไปข้างหน้า 1 ก้าว โดยให้เท้าซ้ายยกส้นเท้าเล็กน้อยเป็นลักษณะ ของการทิ้งน้ำ�หนักไปข้างหน้า ทำ�พร้อมกับยื่นมือ ทั้งสองข้างออกไปให้อยู่ระดับอก โดยให้ฝ่ามือทั้งสองข้าง คว่ำ�ลง ปลายนิ้วงองุ้มเล็กน้อย กดฝ่ามือทั้งสอง ข้างลงและยกขึ้นอย่างรวดเร็ว 2 ครั้ง จากนั้นให้ใช้ ขาขวาถอยกลับไปทางด้านหลัง 1 ก้าว ทำ�สลับไปมา ทั้งหน้าและหลังเช่นนี้อย่างต่อเนื่องตามจังหวะเพลง ท่าที่ 15 ผู้รำ�ยืนตัวตรง ให้ปลายเท้าห่างกันเล็กน้อย มือทั้งสองข้างเท้าสะเอว ส่ายสะโพกไปมา โดยไม่ขยับ เท้าทั้งสองข้าง (ส่ายสะโพกโดยการยืนอยู่กับที่) 29
  • 8. ท่าที่ 16 ท่าขูดมะพร้าว ผู้รำ�ยืนตัวตรง ให้ปลายเท้า ห่างกันเล็กน้อย ส่ายสะโพกไปมา โดยให้เท้าทั้งสอง ข้างอยู่กับที่ คว่ำ�ฝ่ามือทั้งสองข้างลงจากนั้นนำ�มา ประสานกันโดยใช้มือขวาทับมือซ้าย พร้อมกับหัน หน้าไปทางขวา กดข้อมือลงและยกขึ้นอย่างรวดเร็ว อย่างละ 2 ครั้ง จากนั้นให้ผู้รำ�หันไปทางซ้าย ทำ�ท่า ลักษณะเดียวกันกับทางขวา ทำ�สลับไปมาทั้งขวาและ ซ้ายไปเรื่อยๆ ท่าที่ 17 (ใช้กะลาเป็นอุปรณ์ประกอบการเต้นรำ�) เมื่อทำ�การขูดมะพร้าวแล้ว จะเหลือกะลา ผู้รำ�หยิบ กะลาที่ทำ�การผ่าซีกจำ�นวน 2 ซีกมาใช้เป็นอุปกรณ์ ประกอบการเต้นที่เรียกว่า “การเซิ้งกะลา” โดยใช้ มือซ้ายและมือขวาถือกะลาอย่างละซีก เอาด้านนอก กะลาหันเข้าหาลำ�ตัว ย่ำ�เท้าอยู่กับที่สลับซ้ายและขวา นำ�กะลามาไว้ในตำ�แหน่งบริเวณสะโพก จากนั้น ผู้รำ�จะเซิ้งกะลาโดยควงกะลาแบบหมุนวนเป็นวงกลม ไปข้างหน้า ตามจังหวะเพลง เต้นอย่างนี้ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะเข้าเนื้อเพลงจึงจะเปลี่ยนท่าเต้น ท่าที่ 18 ผู้รำ�ยืนตรงขาชิดกัน นำ�มือที่ถือกะลา ไว้ทั้งสองข้างมาพนมไว้ระดับอก จากนั้นผู้รำ�จะโน้มตัว ทำ�ท่าสวัสดี 1 ครั้ง ท่าที่ 19 ผู้รำ�ยืนตัวตรง ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ตามจังหวะ เพลง นำ�กะลาที่อยู่ในมือทั้งสองข้างมากระทบกัน โดยการยกแขนซ้ายและขวาขึ้นและลงอย่างรวดเร็ว เพื่อให้กะลาเกิดการกระทบกันจนเกิดเสียง จากนั้น ผู้รำ�จะเดินย่ำ�เท้าไปเรื่อยๆเพื่อแปรขบวน โดยนำ�กะลา มากระทบกันให้เกิดเสียงตามจังหวะเพลง 30
  • 9. ท่าที่ 20 ผู้รำ�เดินก้าวเท้าไปตามจังหวะเพลง ในลักษณะการยกแล้วชิด เริ่มจากการยกเท้าซ้ายไป ชิดเท้าขวา ในขณะที่เท้าชิดกัน ผู้รำ�จะเอียงลำ�ตัว เล็กน้อย ยกกะลาขึ้นมาอยู่ในตำ�แหน่งระหว่างหัวไหล่ กับกกหูเพื่อนำ�มากระทบกันจนเกิดมีเสียง เมื่อก้าว เท้าซ้ายให้เอียงตัวไปทางขวา ศรีษะเอียงตามลำ�ตัว (ท่าคล้ายๆ กับการเอาหูไปใกล้ๆ กะลาเพื่อฟังเสียง กะลากระทบกัน) การเต้นท่านี้หลักการจำ�ง่ายๆ คือ เมื่อก้าวเท้าเพื่อยกชิดให้เอียงลำ�ตัวไปในทิศทางตรงกัน ข้ามกับข้างที่ยก เช่น เมื่อยกเท้าขวาไปชิดเท้าซ้ายให้ เอียงตัวไปทางซ้าย พร้อมกับเคาะกะลา ในตำ�แหน่งเดิม ท่าที่ 21 ผู้รำ�ยืนย่ำ�เท้าอยู่กับที่ แบบสลับเท้า ซ้ายและขวาพร้อมกับโยกตัวไปมา เมื่อยกเท้าข้างใด ผู้รำ�จะนำ�กะลามาเคาะฝั่งนั้น เช่น ยกเท้าซ้าย ก็จะ นำ�กะลามาเคาะฝั่งซ้าย ท่าที่ 22 ผู้รำ�จับคู่หันหน้าเข้าหากัน ย่ำ�เท้า อยู่กับที่ ยกแขนซ้ายขวาขึ้นลงสลับกัน พร้อมกับ เคาะกะลาตามจังหวะเพลง 31
  • 10. ท่าที่ 23 ในท่านี้จะเป็นการจับคู่กับผู้ที่รำ�ด้วยกัน โดยการหันหน้าเข้าหากัน ในขั้นแรกให้ผู้รำ�ย่ำ�เท้า อยู่กับที่ จากนั้นผู้รำ�จะก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า 1 ก้าว เพื่อเดินหน้าเข้าหากัน ในจังหวะนั้นผู้รำ�จะยกกะลา มากระทบกันกับคู่รำ�ของตนเอง โดยให้ส่วนนอกสัมผัส กันจนเกิดเสียง เท้าซ้าย ยกส้นเท้าขึ้นเล็กน้อยคล้ายๆ กับการทิ้งน้ำ�หนักตัวไปทางด้านหน้า เมื่อผู้รำ�ทั้งคู่นำ� กะลามากระทบกันจนเกิดเสียงแล้ว ก็จะยกเท้าขวา ถอยไปด้านหลัง 1 ก้าวพร้อมกัน โดยให้เท้าขวาอยู่ ต่ำ�กว่าเท้าซ้ายทิ้งระยะห่างกัน 1 ก้าว ในจังหวะที่ ก้าวถอยหลัง ผู้รำ�จะนำ�กะลามากระทบกันตรงบริเวณ ก้นของตนเอง 1 ครั้ง จากนั้นจะใช้เท้าขวาก้าวไป ข้างหน้า 1 ก้าวพร้อมกับนำ�กะลาของตนเองไปกระทบ กับคู่ของตนที่อยู่ตรงหน้า ทำ�เช่นนี้สลับกันไปเรื่อยๆ ท่าที่ 24 ผู้รำ�กลับมายืนในท่าปกติโดยไม่จับคู่ พร้อมกับย่ำ�เท้าอยู่กับที่ ในระหว่างที่ย่ำ�เท้านั้นผู้รำ�จะ เคาะกะลาตามจังหวะเพลง โดยการใช้แขนขวาและ แขนซ้ายสลับขึ้นลงตามจังหวะของเพลง ให้ส่วนนอก ของกะลาทั้งสองอันกระทบกันจนเกิดเสียง ท่าที่ 25 ในท่านี้ผู้รำ�จะต้องฝึกการก้าวเท้าเดิน หน้าและถอยหลังโดยเริ่มที่เท้าขวาเป็นจังหวะที่ 1 ทุกครั้ง เมื่อผู้รำ�ก้าวเท้าขวาออกไปข้างหน้า 1 ก้าว ให้เท้าซ้ายยกส้นเท้าเล็กน้อย พร้อมกันนี้ในจังหวะที่ ก้าวเท้าขวาสัมผัสกับพื้น ผู้รำ�จะต้องชูแขนทั้ง 2 ข้าง ขึ้นเหนือศรีษะพร้อมกับนำ�กะลามากระทบกันจนเกิด เสียง 1 ครั้ง จากนั้นผู้รำ�จะใช้เท้าขวาถอยหลังไป 1 ก้าว ให้ตำ�แหน่งเท้าขวาอยู่ต่ำ�กับเท้าซ้ายโดยเว้น ระยะประมาณ 1 ก้าว ในจังหวะที่เท้าขวาสัมผัสกับพื้น ผู้รำ�จะนำ�กะลามากระทบกันจนเกิดเสียงตรงเวณบริเวณ ก้น 1 ครั้ง ทำ�อย่างนี้สลับกันไปเรื่อยๆ ท่าที่ 26 ในท่านี้ผู้รำ�จะย่ำ�เท้าอยู่กับที่ ในระหว่าง ที่ย่ำ�เท้านั้นก็จะเคาะกะลาตามจังหวะเพลงไปด้วย โดยการใช้แขนขวาและแขนซ้ายสลับขึ้นลงตามจังหวะ ของเพลง ให้ส่วนนอกของกะลาทั้งสองอันกระทบกัน จนเกิดเสียง 32
  • 11. ท่าที่ 27 ผู้รำ�ยกเข่าขึ้นและลง สลับกันทั้งซ้าย และขวา จากนั้นจะใช้กะลามากระทบกันตามจังหวะ ของเพลงที่บรรเลง สลับไปมาทั้งซ้ายและขวา เมื่อ ผู้รำ�ยกเข่าซ้ายขึ้นก็จะนำ�กะลามากระทบกันบริเวณ ทางฝั่งด้านซ้าย ในขณะที่กะลากระทบกันผู้รำ�จะใช้ การเอียงลำ�ตัวไปด้วยเพื่อให้ดูสวยงามมากยิ่งขึ้น ท่าที่ 28 ผู้รำ�ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ พร้อมกับเคาะกะลา ตามจังหวะเพลง โดยใช้การหมุนควงกะลาไปข้างหน้า ให้ด้านนอกของกะลาทั้งสองอันมากระทบกันจนเกิด เสียง ท่าที่ 29 ในท่านี้ผู้รำ�จะต้องเตะเท้าไปข้างหน้า สลับไปมาทั้งซ้ายและขวาข้างละ 1 ครั้ง พร้อมกับ ยกแขนขึ้นเหนือศรีษะ และกางแขนเข้า-ออกสลับ กัน คล้ายๆ กับท่าโบกมือไปมา ในจังหวะที่กางแขน เข้า ผู้รำ�จะใช้กะลามากระทบกันจนเกิดเสียงดัง 1 ครั้ง พร้อมกับเตะเท้าออกไปข้าง หน้า 1 ครั้ง เมื่อ ผู้รำ�กางแขนออกซึ่งจะเป็นจังหวะเดียวกับการดึงเท้า ข้างที่เตะกลับจะเป็นจังหวะของการสลับเปลี่ยนเท้า หลักการจำ�อย่างง่าย เมื่อกะลากะทบกัน 1 ครั้ง ให้เตะขาออกไป 1 ครั้ง เมื่อกางแขนออกจะเป็นการ ทำ�ในจังหวะการสลับเปลี่ยนเท้า ท่าที่ 30 ผู้รำ�ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ พร้อมกับเคาะกะลา ตามจังหวะเพลง โดยใช้การหมุนควงกะลาไปข้างหน้า ให้แขนทั้สองข้างสลับขึ้นและลงตามจังหวะเพลง ใช้ ด้านนอกของกะลาทั้งสองอันมากระทบกันจนเกิดเสียง ท่าที่ 31 ผู้รำ�ในท่านี้จะต้องใช้การสืบเท้าไปด้าน ข้างสลับกันทั้งซ้ายและขวาข้างละ สองจังหวะ โดย ใช้เท้าอีกข้างขยับตามไปทางด้านข้าง ท่านี้จะคล้ายๆ กับการสไลด์ตัวไปด้านข้าง จากนั้นในระหว่างการสืบ เท้าจะต้องใช้มือทั้งสองข้างกางเข้าและออกไปด้านข้าง ลำ�ตัว เพื่อให้กะลามากระทบกันในจังหวะเท้าชิด ทำ�ให้ เกิดเสียงตามจังหวะของการสืบเท้าด้วย ท่าการเคลื่อนไหวร่างกายไปทางขวา ให้ผู้รำ�สืบเท้าขวาไปทางขวา 1 ครั้ง ตามด้วย เท้าซ้ายสืบตามมา 1 ก้าว จากนั้นผู้รำ�จะวางเท้า ซ้ายลงในตำ�แหน่งชิดกับเท้าขวา เหมือนกับการยก แล้วชิด ในขณะที่เท้าชิดกันผู้รำ�จะนำ�กะลามากระทบกัน 1 ครั้ง เมื่อเท้าทั้งสองข้างชิดติดกันแล้ว ผู้รำ�จะสืบเท้า ขวาออกไปทางขวาอีก 1 ครั้งซึ่งเป็นการสืบเท้าจังหวะ ที่ 2 ในระหว่างนี้ผู้รำ�จะทำ�พร้อมกับกางแขนออกไป ข้างลำ�ตัว จากนั้นจะสืบเท้าซ้ายตามมาเพื่อยกแล้วชิด 33
  • 12. เท้าขวาในขณะที่เท้าชิดกัน ผู้รำ�จะนำ�กะลามากระทบ กันจนเกิดเสียง 1 ครั้ง ในการรำ�ท่านี้ผู้รำ�จะต้องฟัง จังหวะในเพลงบรรเลงประกอบด้วย ท่าการเคลื่อนไหวร่างกายไปทางซ้าย ให้ผู้รำ�สืบเท้าซ้ายไปทางซ้าย 1 ครั้ง ตามด้วย เท้าขวาสืบตามมา 1 ก้าว จากนั้นผู้รำ�จะวางเท้า ขวาลงในตำ�แหน่งชิดกับเท้าซ้าย เหมือนกับการยก แล้วชิด ในขณะที่เท้าชิดกันผู้รำ�จะนำ�กะลามากระ ทบกันจนเกิดเสียง 1 ครั้ง เมื่อเท้าทั้งสองข้างชิดติด กันแล้ว ผู้รำ�จะสืบเท้าซ้ายออกไปทางซ้ายอีก 1 ครั้ง ซึ่งเป็นการสืบเท้าจังหวะที่ 2 ในระหว่างนี้ผู้รำ�จะทำ� พร้อมกับกางแขนออกไปข้างลำ�ตัว จากนั้นจะสืบเท้าขวา ตามมาเพื่อยกแล้วชิด เมื่อเท้าขวาชิดกับเท้าซ้ายแล้ว ผู้รำ�จะนำ�กะลามากระทบกัน 1 ครั้ง ในท่านี้ผู้รำ� จะต้องทำ�สลับไปมาทั้งทางซ้ายและขวาโดยใช้การ สืบเท้าออกไปด้านข้างอย่างละ 2 จังหวะ โดยการทำ� สลับอย่างนี้ไปเรื่อยๆ ท่าที่ 32 ผู้รำ�ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ พร้อมกับเคาะกะลา ตามจังหวะเพลง หรือการเซิ้งกะลา โดยใช้การหมุน ควงกะลาไปข้างหน้าให้แขนทั้สองข้างสลับขึ้นและ ลงตามจังหวะเพลง ใช้กะลากระทบกันจนเกิดเสียง ตามจังหวะเพลง ท่าที่ 33 ผู้รำ�ย่ำ�เท้าอยู่กับที่ หมุนตัวไปทางขวา เล็กน้อย จากนั้นนำ�กะลามาเคาะกะลา และหมุนตัว ไปทางซ้าย นำ�กะลามาเคาะตามตามจังหวะเพลง ทำ�สลับกันไปเรื่อยๆ 34
  • 13. ท่าที่ 34 ผู้รำ�ยืนตรง กางแขนออก บิดตัวไปทาง ขวา แล้วหมุนตัวกลับมาทางซ้าย หันกลับมาทำ�ท่า สวัสดี 35