SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
มลพิษและสิ่งแวดล้อม
SC.202 SCIENCE, TECHNOLOGY AND WAY OF LIFE
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี กับการดาเนินชีวิต
มลพิษ
มลพิษ หมายถึง ของเสีย วัตถุอันตราย และมวลสารอื่น ๆ รวมทั้งกาก
ตะกอน หรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้นที่ถูกปล่อยทิ้งจากแหล่งกาเนิดมลพิษ
หรือที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพ
สิ่งแวดล้อม หรือภาวะที่เป็นพิษภัยอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนได้
และหมายความรวมถึง รังสี ความร้อน แสง เสียง กลิ่น ความสั่นสะเทือน หรือ
เหตุราคาญอื่น ๆ ที่เกิดหรือถูกปล่อยออกจากแหล่งกาเนิดมลพิษด้วย
ความหมายของสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวมนุษย์ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต
รวมทั้งที่เป็นรูปธรรม (สามารถจับต้องและมองเห็นได้) และนามธรรม
(ตัวอย่างเช่นวัฒนธรรมแบบแผน ประเพณี ความเชื่อ) มีอิทธิพลเกี่ยวโยงถึงกัน
เป็นปัจจัยในการเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ผลกระทบจากปัจจัยหนึ่งจะมีส่วน
เสริมสร้างหรือทาลายอีกส่วนหนึ่ง อย่างหลีกเลี่ยงมิได้สิ่งแวดล้อมเป็นวงจร
และวัฏจักรที่เกี่ยวข้องกันไปทั้งระบบ
สิ่งแวดล้อมแบ่งออกเป็นลักษณะกว้าง ๆ ได้ 2 ส่วนคือ
 1.สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ภูเขา ดิน น้า อากาศ ทรัพยากร
2.สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้นเช่น ชุมชนเมือง สิ่งก่อสร้างโบราณสถาน ศิลปกรรม
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย
ประเทศไทยเป็นประเทศที่อุดมไปด้วย ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งมีบทบาทสาคัญในการสนับสนุน
วิถีชีวิตของท้องถิ่นและขับเคลื่อนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ป่าไม้แหล่งต้นน้า สภาพแวดล้อม
ทางทะเลและทรัพยากรธรณีเป็นเครื่องมือสาคัญในการสนับสนุนอุตสาหกรรมการผลิต การส่งออก
และอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทย อย่างไรก็ตาม การพัฒนาเศรษฐกิจ อย่างรวดเร็วในช่วงหลาย
ทศวรรษที่ผ่านมามักเกิดขึ้นจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้อย่างไม่ยั่งยืน ลาดับความสาคัญทาง
เศรษฐกิจมักมีความสาคัญมากกว่าการอนุรักษ์ในหลาย ๆ กรณี ประเทศไทยเผชิญกับความเสื่อมโทรม
ของสิ่งแวดล้อมในหลายภูมิภาครวมทั้งการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพและประชากรสัตว์ป่า
ที่ลดลง การตัดไม้ทาลายป่า การกลายเป็นทะเลทราย การขาดแคลนน้า การเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศและมลพิษทางอากาศและทางน้า
การเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ภูมิทัศน์ของประเทศไทยประกอบด้วยแหล่งที่อยู่อาศัยหลากหลายชนิดที่สนับสนุนประชากรพืชและสัตว์
หลากหลายชนิดตัวอย่าง เช่น มีการค้นพบชนิดของพืชอย่างน้อย15,000 ชนิดในประเทศ 9 ประเทศไทยเป็น
ที่ตั้งของเทือกเขาที่แตกต่างกัน 15 แห่งและแหล่งต้นน้าสาคัญ 25 สายที่เชื่อมต่อกับแม่น้าโขง อ่าวไทยและ
ทะเลอันดามันสิ่งเหล่านี้สนับสนุนการกระจายพันธุ์พืชในวงกว้างรวมทั้งป่าเขตร้อน 3 ชนิดที่สาคัญ (ได้แก่ ป่า
ฝนมรสุม ป่าฝนและป่าชายเลน)
เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศทั่วโลกประเทศไทยมีความหลากหลายทางชีวภาพในระดับปานกลาง อย่างไรก็
ตามความหลากหลายทางชีวภาพนี้ถูกคุกคามจากการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติโดยไม่คานึงถึงความ
ยั่งยืนของการใช้ประโยชน์10 หลายสายพันธุ์ได้รับการจดทะเบียนใน รายชื่อสีแดงของสหภาพนานาชาติเพื่อ
การอนุรักษ์ธรรมชาติให้เป็นสายพันธุ์ที่ถูกคุกคามในฐานะที่เป็นเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์และมีบางรายชื่อระบุว่า
เป็นสิ่งสาคัญและมีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์หากไม่ได้ดาเนินการดูแลรักษาไว้ตัวอย่าง เช่น ในปี พ.ศ. 2560
ประเทศไทยมีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจานวน58 ชนิดที่ถูกคุกคาม นกจานวน 54 ชนิดที่ถูกคุกคามและปลาจานวน
106 ชนิดที่ถูกคุกคามและพืชจานวน 152 ชนิดที่ถูกคุกคามโดยรวมอยู่ในบัญชีรายชื่อดังกล่าวซึ่งค่อนข้างสูงเมื่อ
เทียบกับประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค
ปัญหาการตัดไม้ทาลายป่ า
สาเหตุการตัดไม้ทาลายป่ า
 1. การลักลอบตัดไม้ทาลายป่า ตัวการของปัญหานี้คือนายทุนพ่อค้าไม้ เจ้าของโรงเลื่อย เจ้าของ
โรงงานแปรรูปไม้ ผู้รับสัมปทานทาไม้และชาวบ้านทั่วไป ซึ่งการตัดไม้เพื่อเอาประโยชน์จากเนื้อ
ไม้ทั้งวิธีที่ถูกและผิดกฎหมาย ปริมาณป่าไม้ที่ถูกทาลายนี้นับวันจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ตามอัตราเพิ่ม
ของจานวนประชากร ยิ่งมีประชากรเพิ่มขึ้นเท่าใด ความต้องการในการใช้ไม้ก็เพิ่มมากขึ้น เช่น
ใช้ไม้ในการปลูกสร้างบ้านเรือนเครื่องมือเครื่องใช้ในการเกษตรกรรมเครื่องเรือนและถ่านในการ
หุงต้ม
2. การบุกรุกพื้นที่ป่าไม้เพื่อเข้าครอบครองที่ดิน เมื่อประชากรเพิ่มสูงขึ้น ความต้องการใช้
ที่ดินเพื่อปลูกสร้างที่อยู่อาศัยและที่ดินทากินก็อยู่สูงขึ้น เป็นผลผลักดันให้ราษฎรเข้าไปบุก
รุกพื้นที่ป่าไม้ แผ้วถางป่า หรือเผาป่าทาไร่เลื่อนลอย นอกจากนี้ยังมีนายทุนที่ดินที่จ้างวาน
ให้ราษฎรเข้าไปทาลายป่าเพื่อจับจองที่ดินไว้ขายต่อไป
3. การส่งเสริมการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจเพื่อการส่งออก เช่น มันสาปะหลัง
ปอ เป็นต้น โดยไม่ส่งเสริมการใช้ที่ดินอย่างเต็มประสิทธิภาพทั้ง ๆ ที่พื้นที่ป่าบาง
แห่งไม่เหมาะสมที่จะนามาใช้ในการเกษตร
4. การกาหนดแนวเขตพื้นที่ป่ากระทาไม่ชัดเจนหรือไม่กระทาเลยในหลาย ๆ พื้นที่ ทาให้
ราษฎรเกิดความสับสนทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา ทาให้เกิดการพิพาทในเรื่องที่ดินทากิน
และที่ดินป่าไม้อยู่ตลอดเวลาและมักเกิดการร้องเรียนต่อต้านในเรื่องกรรมสิทธิ์ที่ดิน
5. การจัดสร้างสาธารณูปโภคของรัฐ เช่น เขื่อน อ่างเก็บน้า เส้นทางคมนาคม การสร้าง
เขื่อนขวางลาน้าจะทาให้พื้นที่เก็บน้าหน้าเขื่อนที่อุดมสมบูรณ์ถูกตัดโค่นมาใช้ประโยชน์
ส่วนต้นไม้ขนาดเล็กหรือที่ทาการย้ายออกมาไม่ทันจะถูกน้าท่วมยืนต้นตาย เช่น การสร้าง
เขื่อนรัชชประภาเพื่อกั้นคลองพระแสงอันเป็นสาขาของแม่น้าพุมดวง-ตาปี ทาให้น้าท่วม
บริเวณป่าดงดิบซึ่งมีพันธุ์ไม้หนาแน่นประกอบด้วยสัตว์นานาชนิดนับแสนไร่ ต่อมาจึงเกิด
ปัญหาน้าเน่าไหลลงลาน้าพุมดวง
6. ไฟไหม้ป่ามักจะเกิดขึ้นในช่วงฤดูแล้ง ซึ่งอากาศแห้งและร้อนจัด ทั้งโดยธรรมชาติและจาก
การกระทาของมะม่วงที่อาจลักลอบเผาป่าหรือเผลอ จุดไฟทิ้งไว้โดยเฉพาะในป่าไม้เป็นจานวน
มาก
7. การทาเหมืองแร่ แหล่งแร่ที่พบในบริเวณที่มีป่าไม้ปกคลุมอยู่ มีความจาเป็นที่จะต้อง
เปิดหน้าดินก่อนจึงทาให้ป่าไม้ที่ขึ้นปกคลุมถูกทาลายลง เส้นทางขนย้ายแร่ในบางครั้ง
ต้องทาลายป่าไม้ลงเป็นจานวนมาก เพื่อสร้างถนน หนทาง การระเบิดหน้าดิน เพื่อให้
ได้มาซึ่งแร่ธาตุ ส่งผลถึงการทาลายป่า
สาเหตุจากมลพิษทางน้า
น้าคือปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของคนและสิ่งมีชีวิต
เป็นแหล่งกาเนิดของสัตว์น้าและพืชหลากหลายชนิด นอกจากนั้นน้ายังมีประโยชน์ในด้าน
เกษตรกรรม อุตสาหกรรม มีประโยชน์สาหรับครัวเรือน ในการดื่มกิน ใช้ประกอบอาหาร หรือ
ใช้ชาระล้างร่างกายและสิ่งสกปรกต่างๆ และน้ายังทาให้เกิดความอุดมสมบูรณ์แก่สิ่งมีชีวิต
คุณสมบัติของน้าที่เป็นประโยชน์สาหรับมนุษย์และสิ่งมีชีวิตมากที่สุดก็คือ น้าบริสุทธิ์ สะอาด
ปราศจากเชื้อโรคและสารพิษเจือปน
ในอดีตมนุษย์สามารถนาทรัพยากรน้าจากแหล่งน้าตามธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ได้ ต่างจาก
ปัจจุบันที่เกิดปัญหาด้านคุณภาพของน้า หรือเกิดมลพิษทางน้าจนไม่สามารถนาน้าจากแหล่งน้า
ตามธรรมชาติมาใช้ได้ ซึ่งปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ
สาเหตุที่ก่อให้เกิดมลพิษทางน้า
1.เกิดจากน้าทิ้งและสิ่งปฏิกูลจากแหล่งชุมชน เช่น น้าที่ใช้ซักฟอกทาความสะอาดซึ่งส่วน
ใหญ่มีสารอินทรีย์ปะปนมากับน้าทิ้งเหล่านั้นจนทาให้เกิดมลพิษทางน้า
2. น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมหากโรงงานมีการลักลอบปล่อยน้าเสียลงในแหล่งน้าทา
ให้น้าเน่าเสียได้ง่ายเพราะมีปริมาณมากและสารปนเปื้อนมีอัตราสูง
3.น้าเสียที่เกิดจากธรรมชาติ อาจเกิดจากการเน่าเสียเมื่อน้าอยู่ในสภาพนิ่งไม่มีการ
ไหลเวียนถ่ายเท
4.เกิดจากพื้นที่ทาการเกษตร เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่นิยมใช้น้ายาปราบศัตรูพืชกันมากขึ้น
จึงทาให้มีสารตกค้างอยู่ตามต้นพืชและพื้นผิวดิน เมื่อฝนตกและพัดพาเอาสารพิษที่ตกค้างลงสู่
แม่น้าลาคลองก็ทาให้เกิดมลพิษทางน้าขึ้นได้
ผลกระทบจากการตัดไม้ทาลายป่ า
ผลกระทบจากการทาลายป่าไม้จากการที่ปริมาณป่าไม้ลดลงย่อมก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลง ทางกายภาพ และมีผลต่อปัจจัยทางชีวภาพ มีผลกระทบต่อ สภาพดิน น้า
อากาศ สัตว์ป่า สิ่งแวดล้อมอื่นๆ เพราะทั้ง ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม จะมีความสัมพันธ์
กันไม่ทางตรงก็ทางอ้อม ในระบบนิเวศ ก่อให้เกิดสมดุลทางธรรมชาติ การทาลายป่าจึง
ก่อให้เกิดผลกระทบในด้านต่างๆ ดังนี้
1. เกิดการชะล้างพังทลายของดิน ป่าที่ถูกทาลายจะทาให้ไม่มีต้นไม้ วัชพืช หญ้าปกคลุม
ดิน เมื่อฝนตกลงมาน้าฝนจะกัดเซาะหน้าดินที่อุดมสมบูรณ์ให้ไหลไปกับกระแสน้า
2. เกิดน้าท่วมในฤดูฝน บริเวณป่าที่ถูกทาลายจะไม่มีต้นไม้ วัชพืช และหญ้าที่ปกคลุมหน้าดิน
ช่วยดูดซับน้าฝน ไว้ทาให้น้าไหลบ่าจากที่สูงอย่างรุนแรง และมีปริมาณมากทาให้เกิดน้า
ท่วมในพื้นที่ ตอนล่างอย่างฉับพลัน
3. เกิดความแห้งแล้งในฤดูแล้ง การทาลายป่าไม้ ต้นน้าลาธารทาให้ป่าไม้ถูกตัด แยก
ออกเป็นส่วนๆ เกิดการระเหยของน้าจากผิว ดินสูง แต่การซึม ผ่านผิวดินต่า ดินดูดซับและ
เก็บ น้าไว้ได้น้อย ส่งผลให้น้าไหลลงสู่ลาธารน้อยเกิด ความแห้งแล้งในฤดู
4. เกิดปัญหาโลกร้อนขึ้น เนื่องจากป่าไม้เป็นแหล่งของการหมุนเวียนสาร ระหว่างออกซิเจน
คาร์บอนไดออกไซด์ น้าและสารอื่นๆ ในระบบนิเวศที่ สาคัญ การทาลายป่ามีส่วนทาให้เกิดการ
สะสมของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในบรรยากาศเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้
อุณหภูมิของโลกสูง
5. คุณภาพของน้าเสื่อมลง เมื่อฝนตกในบริเวณป่าไม้ที่ถูกทาลายก็จะพัดพาเอาดินโคลน
ตะกอนลงสู่ แหล่งน้าทาให้น้าขุ่นและเกิดการตื้นเขินส่งผล ให้คุณภาพน้าทั้งทางด้าน กายภาพ
ชีวภาพ และเคมีด้อยลง ไม่สามารถใช้น้าในการอุปโภค บริโภค ได้
6. พืชและสัตว์ป่ามีจานวนและชนิดลดลง ป่าไม้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของ พืชและสัตว์ป่า การ
ตัดไม้ทาลายป่าเป็น การทาลายแหล่งอาหาร ที่อยู่อาศัย และความหลากหลายทางชีวภาพ ทา
ให้พืชและสัตว์ป่าหลายชนิดมีปริมาณ ลดลงจนเกือบสูญพันธ์
ผลกระทบของมลพิษทางน้า
1.ด้านระบบนิเวศ น้าเสียเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตทั้งในน้าและบริเวณใกล้เคียง ทาให้เสียความ
สมดุลทางธรรมชาติ เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม น้าเสียทาให้สัตว์น้าลด
ปริมาณลง หรืออาจทาลายพืชและสัตวน้าเล็กๆ ที่เป็นอาหารของปลาและตัวอ่อน ก่อให้เกิดผล
เสียหายต่อการประมงและเศรษฐกิจ และอาจทาให้ปลาสูญพันธุ์ได้
2. ด้านการสาธารณสุข น้าเสียเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรค ทาให้เกิดโรคระบาด เช่น โรค
อหิวาตกโรค ไทฟอยด์ บิด เป็นแหล่งเพาะเชื้อยุงซึ่งเป็นพาหะของโรคบางชนิด เช่น มาเลเรีย
ไข้เลือดออก และสารมลพิษที่ปะปนในแหล่งน้า ถ้าเราบริโภคทาให้เกิดโรคต่างๆ เช่น โรคมิ
นามาตะ เกิดจากการรับประทานปลาที่มีสารปรอทสูง โรคอิไต-อิไต เกิดจากการได้รับสาร
แคดเมียม
3.ด้านการเกษตร น้าเสียมีผลทั้งต่อการเพาะปลูก และการเลี้ยงสัตว์ น้าเสียที่ก่อให้เกิดความ
เสียหายต่อการเกษตรส่วนใหญ่เป็นน้าเสียที่มีความเป็นกรดเป็นด่างสูง น้าที่มีปริมาณเกลืออนินท
รีย์หรือสารพิษสูง ฯลฯ ซึ่งเกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมปล่อยน้าเสียและเกิดจากผลของการทา
เกษตรกรรมนั่นเอง เช่น การชลประทาน สร้างเขื่อนกักเก็บน้าไว้ใช้เพื่อการเกษตร ทั้งนี้เนื่องจาก
คุณสมบัติน้าในธรรมชาติประกอบด้วยเกลืออนินทรีย์เจือปนอยู่ โดยเฉพาะเกลือคลอไรด์ ขณะที่
ใช้น้าเพื่อการเกษตร น้าจะระเหยเป็นไอโดยธรรมชาติ ปริมาณเกลืออนินทรีย์ซึ่งได้ระเหยจะ
ตกค้างในดิน เมื่อมีการสะสมมากเข้า ปริมาณเกลือในดินสูงขึ้น ทาให้ดินเค็ม ไม่เหมาะแก่การ
เพาะปลูก ปริมาณเกลืออนินทรีย์ที่ตกค้างอาจถูกชะล้างภายหลังฝนตก หรือโดยระบายน้าจากการ
ชลประทาน เกลืออนินทรีย์ก็จะถูกถ่ายทอดลงสู่แม่น้าลาคลองในที่สุด
4. ด้านการผลิตน้าเพื่อบริโภคและอุปโภค น้าเสียกระทบกระเทือนต่อการผลิตน้าดื่มน้าใช้
อย่างยิ่ง แหล่งน้าสาหรับผลิตประปาได้มาจากแม่น้า ลาคลอง เมื่อแหล่งน้าเน่าเสียเป็นผล
ให้คุณภาพน้าลดลง ค่าใช้จ่ายในกระบวนการผลิตเพื่อให้น้ามีคุณภาพเข้าเกณฑ์มาตรฐาน
สาหรับน้าดื่มก็จะเพิ่มสูงขึ้น
5.ด้านทัศนียภาพ โดยเฉพาะแหล่งน้าที่ใช้ในการคมนาคม และเป็นแหล่งท่องเที่ยว
พักผ่อนหย่อนใจ เช่น ใช้เล่นเรือ ตกปลา ว่ายน้า เป็นต้น
มลพิษทางอากาศ
 คือการปนเปื้อนของสารเคมี สารประกอบทางกายภาพ และสารทางชีววิทยาใน
สิ่งแวดล้อม จนก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงของชั้นบรรยากาศ ส่วนใหญ่มักเกิดจาก
การเผาผลาญของเครื่องยนต์ ยานพาหนะ การทาอุตสาหกรรม หรือแม้แต่ไฟป่า
โดยสารในมลพิษทางอากาศที่ส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์ ได้แก่ อนุภาคขนาดเล็กที่ถูก
กาจัดไม่หมด ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ โอโซน ไนโตรเจนไดออกไซด์ และซัลเฟอร์
ไดออกไซด์
มลพิษทางอากาศแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
มลพิษทางอากาศภายนอก เป็นมลพิษที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมภายนอกอาคาร อาทิ
อนุภาคที่เกิดจากการเผาไหม้ของพลังงานเชื้อเพลิง เช่น น้ามัน ถ่านหิน เป็นต้น
ก๊าซพิษ ได้แก่ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไนโตรเจนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ หรือไอระเหยจาก
สารเคมีต่าง ๆ
โอโซนระดับพื้นดิน ซึ่งเป็นโอโซนชนิดที่ไม่ดีต่อสุขภาพ และเป็นส่วนประกอบสาคัญของหมอก
ควันที่เป็นพิษในบริเวณตัวเมืองควันจากยาสูบ ซึ่งประกอบไปด้วยสารเคมีที่เป็นพิษและสารก่อ
ความระคายเคือง ส่งผลให้ผู้สูดดมเสี่ยงติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจและโรคหอบหืด
มลพิษทางอากาศภายใน เป็นมลพิษที่เกิดขึ้นภายในอาคารหรือที่พักอาศัย เช่น
อนุภาคจากการเผาไหม้ของก๊าซหุงต้ม เช่น คาร์บอนมอนอกไซด์ เรดอน เป็นต้นสารเคมีที่ใช้
ภายในบ้านสารเคมีที่ใช้ในการก่อสร้าง เช่น แร่ใยหิน ฟอร์มาดิไฮด์ ตะกั่ว เป็นต้น
สารก่อภูมิแพ้ต่าง ๆ จากภายในและนอกอาคาร เช่น ฝุ่น สารก่อภูมิแพ้จากแมลงสาบแลหนู เป็น
ต้นควันจากยาสูบ ราและเกสรดอกไม้
มลพิษทางอากาศส่งผลอย่างไรต่อสุขภาพ ?
 มลพิษทางอากาศอาจส่งผลให้เกิดการระคายเคืองตามอวัยวะต่าง ๆ เช่น ตา คอ และปอดโดยหากอยู่
ในพื้นที่ที่มีมลพิษทางอากาศสูงอาจมีอาการแสบตา ไอ และแน่นหน้าอกได้
 อย่างไรก็ตาม อาการที่เกิดขึ้นจากมลพิษทางอากาศของแต่ละคนอาจแสดงออกแตกต่างกัน เด็ก ๆ มัก
รู้สึกถึงความผิดปกติจากมลพิษทางอากาศได้ช้ากว่าผู้ใหญ่ แต่จะมีอาการป่วยที่รุนแรงมากกว่าเช่น
หลอดลมอักเสบ และอาการปวดหู ผู้ใหญ่บางรายอาจมีอาการรุนแรงหรือไม่มีอาการใดๆ แสดงให้
เห็น ส่วนผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคปอด โรคหอบหืด หรือโรคถุงลมโป่งพอง อาจไวต่อการสัมผัสกับ
มลพิษทางอากาศรวมทั้งมีอาการได้ง่ายและรุนแรงกว่าคนทั่วไป
 ในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา มีการศึกษาพบว่ามลพิษทางอากาศส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพร้ายแรงหลาย
ประการ เช่น โรคเกี่ยวระบบทางเดินหายใจอย่างหอบหืดหรือความผิดปกติในการทางานของปอด
โรคที่เกี่ยวกับหัวใจและหลอดเลือดการคลอดก่อนกาหนดหรือแม้แต่การเสียชีวิตนอกจากนี้ ล่าสุด
องค์การอนามัยโลกได้เปิดเผยว่ามลพิษทางอากาศภายนอกยังเป็นสารที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็งอีกด้วย
ขอบคุณครับ
นาย ประชา กอเซ็มมูซอ 600404482832
นาย ณัชัันน แก้วัวงษ 600404485673

More Related Content

Similar to มลพิษและสิ่งแวดล้อม

il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมNATTAWANKONGBURAN
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติApinun Nadee
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 
ขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพัง
ขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพังขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพัง
ขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพังMooThong Chaisiri Chong
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมSutisa Tantikulwijit
 
มลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน มลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน Ningnoi Ohlunla
 
มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำมลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำssuser5709e6
 
ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1Aobinta In
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชdnavaroj
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมพัน พัน
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 

Similar to มลพิษและสิ่งแวดล้อม (20)

il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
ขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพัง
ขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพังขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพัง
ขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพัง
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 
มลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน มลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน
 
มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำมลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำ
 
ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1
 
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
ผลที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
Solid waste pollution
Solid waste pollutionSolid waste pollution
Solid waste pollution
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 

มลพิษและสิ่งแวดล้อม