SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
โครงงาน
เรื่อง
เครื่องบาบัดน้าเสียภายใน
ชุมชน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
สารบัญ
วัตถุประสงค์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หลักการและทฤษฎี
ลักษณะน้าเสีย
การบาบัดน้าเสีย
ระบบบาบัดน้าเสียแบบติดกับที่
ระบบบ่อเกรอะ
ลักษณะที่สาคัญของบ่อเกรอะ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
วิธีดาเนินงาน
สถานที่ดาเนินการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
แหล่งอ้างอิง
ผู้จัดทา
ที่มาและความสาคัญ
ปัญหามลพิษทางน้าในปัจจุบัน ส่วนมากมาจากการ
ระบายน้าเสียจากอุตสาหกรรม โรงงาน โรงแรม และ
เกษตรกรรม รวมถึงกิจกรรมต่างๆจากชุมชนที่ส่งผมต่อแหล่งน้า
เช่น การใช้น้าในการทาอาหารและปล่อยน้าเสีย น้ามันจากการ
ทาอาหาร เศษอาหาร ใช้ในการชาระล้างร่างกาย และสิ่งของ
เครื่องใช้แล้วก็ปล่อยน้าเสียลงสู่แม่น้า ซึ่งการกระทาเช่นนี้ส่งผล
ต่อประชาชนโดยเกิดจากมลพิษทางน้าในลาคลอง โดยไม่มีการ
กรองหรือการบาบัดก่อนปล่อยลงสู่แม่น้า จึงต้องมีการทา
โครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นการช่วยลดมลพิษทางน้าที่มีผลต่อ
ประชากรทั่วประเทศในปัจจุบันนี้
วัตถุประสงค์
1.เพื่อทราบสาเหตุ ปัจจัยของปัญหาน้าเน่าเสีย
2.เพื่อทราบลักษณะของน้าเน่าเสีย
3.เพื่อลดปัญหาน้าเน่าเสียภายในชุมชน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1
• ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2
• ผู้จัดทาสามารถทราบลักษณะของน้าเน่าเสีย
3
• สามารถระบุระบบบาบัดน้าเสียได้
อธิบายสาเหตุของน้าเน่าเสีย
อธิบายถึงลักษณะของน้าเน่าเสีย
อธิบายถึงสมมูลประชากร
ระบบบาบัดน้าเสีย ขอบเขตโครงงาน
หลักการและทฤษฎี
สาเหตุที่ก่อให้เกิดมลพิษทางน้า
1.เกิดจากน้าทิ้งและสิ่งปฏิกูลจากแหล่งชุมชน เช่น น้าที่ใช้ซักฟอกทาความสะอาดซึ่งส่วนใหญ่มีสารอินทรีย์
ปะปนมากับน้าทิ้งเหล่านั้นจนทาให้เกิดมลพิษทางน้า
2.น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมหากโรงงานมีการลักลอบปล่อยน้าเสียลงในแหล่งน้าทาให้น้าเน่าเสียได้ง่าย
เพราะมีปริมาณมากและสารปนเปื้ อนมีอัตราสูง
3.น้าเสียที่เกิดจากธรรมชาติ อาจเกิดจากการเน่าเสียเมื่อน้าอยู่ในสภาพนิ่งไม่มีการไหลเวียนถ่ายเท
4.เกิดจากพื้นที่ทาการเกษตร เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่นิยมใช้น้ายาปราบศัตรูพืชกันมากขึ้น จึงทาให้มีสาร
ตกค้างอยู่ตามต้นพืชและพื้นผิวดิน เมื่อฝนตกและพัดพาเอาสารพิษที่ตกค้างลงสู่แม่น้าลาคลองก็ทาให้เกิด
มลพิษทางน้าขึ้นได้
น้าเสียชุมชน (Domestic Wastewater) หมายถึง น้าเสียที่เกิดจากกิจกรรมประจาวันของประชาชนที่อาศัยอยู่ใน
ชุมชน และกิจกรรมที่เป็นอาชีพ ได้แก่ น้าเสียที่เกิดจากการประกอบอาหารและชาระล้างสิ่งสกปรกทั้งหลายภายใน
ครัวเรือน และอาคารประเภทต่าง ๆ เป็นต้น
ปริมาณน้าเสีย ที่ปล่อยทิ้งจากบ้านเรือน อาคาร จะมีค่าประมาณร้อยละ 80 ของปริมาณน้าใช้ หรืออาจประเมินได้
จากจานวนประชากรหรือพื้นที่อาคาร ดังแสดงในตาราง
ที่มาโครงการศึกษาเพื่อจัดลาดับความสาคัญการจัดการน้าเสียชุมชน, สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
2538
การบาบัดน้าเสีย
การเลือกระบบบาบัดน้าเสียขึ้นกับปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ลักษณะของน้าเสีย ระดับการบาบัดน้าเสียที่ต้องการ
สภาพทั่วไปของท้องถิ่น ค่าลงทุนก่อสร้างและค่า ดาเนินการดูแลและบารุงรักษา และขนาดของที่ดินที่ใช้ในการ
ก่อสร้าง เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อให้ระบบบาบัดน้าเสียที่เลือกมีความเหมาะสมกับแต่ละท้องถิ่น ซึ่งมี สภาพแวดล้อมที่
แตกต่างกัน โดยทั่วไปการจัดการน้าเสียชุมชน
แบ่งรูปแบบการจัดการน้าเสียเป็น 3 แบบคือ
1.ระบบ บาบัดน้าเสียรวม (Central Wastewater Treatment)
2.ระบบบาบัดน้าเสียแบบกลุ่มอาคาร (Cluster Wastewater Treatment)
3.ระบบบาบัดน้าเสียแบบติดกับที่ (Onsite Wastewater Treatment)
ลักษณะน้าเสีย
1. สารอินทรีย์ ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เช่น เศษข้าว ก๋วยเตี๋ยว น้าแกง เศษใบตอง พืชผัก ชิ้นเนื้อ เป็น
ต้น ซึ่งสามารถถูกย่อยสลายได้ โดยจุลินทรีย์ที่ใช้ออกซิเจน ทาให้ระดับออกซิเจนละลายน้า (Dissolved Oxygen)
ลดลงเกิดสภาพเน่าเหม็นได้ ปริมาณของสารอินทรีย์ในน้านิยมวัดด้วยค่าบีโอดี (BOD) เมื่อค่าบีโอดีในน้าสูง แสดง
ว่ามีสารอินทรีย์ปะปนอยู่มาก และสภาพเน่าเหม็นจะเกิดขึ้นได้ง่าย
2. สารอนินทรีย์ ได้แก่ แร่ธาตุต่าง ๆ ที่อาจไม่ทาให้เกิดน้าเน่าเหม็น แต่อาจเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต ได้แก่ คลอไรด์
, ซัลเฟอร์ เป็นต้น
3. โลหะหนักและสารพิษ อาจอยู่ในรูปของสารอินทรีย์หรืออนินทรีย์และสามารถสะสมอยู่ในวงจรอาหาร เกิดเป็น
อันตรายต่อสิ่งมีชีวิต เช่น ปรอท โครเมียม ทองแดง ปกติจะอยู่ในน้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม และสารเคมีที่ใช้
ในการกาจัดศัตรูพืชที่ปนมากับน้าทิ้งจากการเกษตร สาหรับในเขตชุมชนอาจมีสารมลพิษนี้มาจากอุตสาหกรรมใน
ครัวเรือนบางประเภท เช่น ร้านชุบโลหะ อู่ซ่อมรถ และน้าเสียจากโรงพยาบาล เป็นต้น
4. น้ามันและสารลอยน้าต่าง ๆ เป็นอุปสรรคต่อการสังเคราะห์แสง และกีดขวางการกระจายของออกซิเจนจากอากาศ
ลงสู่น้า นอกจากนั้นยังทาให้เกิดสภาพไม่น่าดู
ลักษณะน้าเสีย
5. ของแข็ง เมื่อจมตัวสู่ก้นลาน้า ทาให้เกิดสภาพไร้ออกซิเจนที่ท้องน้า ทาให้แหล่งน้าตื้นเขิน มีความขุ่นสูง มีผลกระทบต่อการดารงชีพของสัตว์น้า
6. สารก่อให้เกิดฟอง/สารซักฟอก ได้แก่ ผงซักฟอก สบู่ ฟองจะกีดกันการกระจายของออกซิเจนในอากาศสู่น้า และอาจเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตใน
น้า
7. จุลินทรีย์ น้าเสียจากโรงฟอกหนัง โรงฆ่าสัตว์ หรือโรงงานอาหารกระป๋อง จะมีจุลินทรีย์เป็นจานวนมากจุลินทรีย์เหล่านี้ใช้ออกซิเจนในการ
ดารงชีวิตสามารถลดระดับของออกซิเจนละลายน้า
ทาให้เกิดสภาพเน่าเหม็น นอกจากนี้จุลินทรีย์บางชนิดอาจเป็นเชื้อโรคที่เป็นอันตรายต่อประชาชน เช่น จุลินทรีย์ในน้าเสียจากโรงพยาบาล
8. ธาตุอาหาร ได้แก่ ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส เมื่อมีปริมาณสูงจะทาให้เกิดการเจริญเติบโตและเพิ่มปริมาณอย่างรวดเร็วของสาหร่าย (Algae
Bloom) ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญทาให้ระดับออกซิเจนในน้าลดลงต่ามากในช่วงกลางคืน อีกทั้งยังทาให้เกิดวัชพืชน้า ซึ่งเป็นปัญหาแก่การสัญจรทางน้า
9. กลิ่น เกิดจากก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งเกิดจากการย่อยสลายของสารอินทรีย์แบบไร้ออกซิเจน หรือกลิ่นอื่น ๆ จากโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ
เช่น โรงงานทาปลาป่น โรงฆ่าสัตว์ เป็นต้น
ระบบบาบัดน้าเสียแบบติดกับที่
(Onsite Wastewater Treatment)
หมายถึง ระบบบาบัดน้าเสียที่ติดตั้งเพื่อบาบัดน้า เสียจากอาคารเดี่ยว
ๆ เช่น บ้านพักอาศัย อาคารชุด โรงเรียน หรืออาคารสถานที่ทาการ เป็นต้น
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลด ความสกปรกของน้าเสียก่อนระบายออกสู่
สิ่งแวดล้อม ระบบ บาบัดน้าเสียแบบติดกับที่สาหรับบ้านพักอาศัยที่นิยมใช้กัน
ได้แก่ บ่อดักไขมัน (Grease Trap)
ระบบบ่อเกรอะ (Septic Tank)
ระบบบ่อกรองไร้อากาศ (Anaerobic Filter) เป็นต้น ระบบบ่อเกรอะ (Septic Tank) บ่อเกรอะมีลักษณะเป็นบ่อ
ปิด ซึ่งน้าซึมไม่ได้และไม่มีการเติมอากาศ ดังนั้นสภาวะในบ่อจึงเป็นแบบไร้อากาศ (Anaerobic) โดยทั่วไปมัก
ใช้สาหรับการบาบัดน้าเสียจากส้วม แต่จะใช้บาบัดน้าเสียจากครัวหรือน้าเสียอื่นๆ ด้วยก็ได้ ถ้าหากสิ่งที่ไหลเข้า
มาในบ่อเกรอะมีแต่อุจจาระหรือสารอินทรีย์ที่ย่อยง่าย หลังการย่อยแล้วก็จะกลายเป็นก๊าซกับน้าและกากตะกอน
(Septage) ในปริมาณที่น้อยจึงทาให้บ่อไม่เต็มได้ง่าย (อัตราการเกิดกากตะกอนประมาณ 1 ลิตร/คน/วัน) แต่
อาจต้องมีการสูบกากตะกอนในบ่อเกรอะ (Septage)
ออกเป็นครั้งคราว (ประมาณปีละหนึ่งครั้ง สาหรับบ่อเกรอะมาตรฐาน) แต่ถ้าหากมีการทิ้งสิ่งที่ย่อยหรือสลายยาก
เช่น พลาสติก ผ้าอนามัย กระดาษชาระ สิ่งเหล่านี้จะยังคงค้างอยู่ในบ่อและทาให้บ่อเต็มก่อนเวลาอันสมควร
เพื่อให้บ่อเกรอะสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากประสิทธิภาพในการบาบัดน้าเสียของบ่อเกรอะ
ไม่สูงนัก คือประมาณร้อยละ 40 - 60 ทาให้น้าทิ้งจากบ่อเกรอะยังคงมีค่าบีโอดีสูงเกินค่ามาตรฐานที่กฎหมาย
กาหนดไว้ จึงไม่สามารถปล่อยทิ้งแหล่งน้าธรรมชาติหรือท่อระบายน้าสาธารณะได้ จึงจาเป็นจะต้องผ่านระบบ
บาบัดขั้นสองเพื่อลดค่าบีโอดีต่อไป ลักษณะของบ่อเกรอะ
ลักษณะที่สาคัญของบ่อเกรอะ
คือ ต้องป้องกันตะกอนลอย (ฝ้าไข: Scum) และตะกอนจมไม่ให้ไหลไปยัง บ่อเกรอะขั้นสอง เช่น ใช้
แผ่นกั้นขวาง หรือท่อรูปตัวที (สามทาง) บ่อเกรอะมีใช้อยู่ตามอาคารสถานที่ทั่วไปจะสร้าง เป็นบ่อคอนกรีตในที่
หรือถ้าเป็นอาคารขนาดเล็กหรือบ้านพักอาศัยก็มักนิยมสร้างโดยใช้วงขอบซีเมนต์ซึ่งมี จาหน่ายตามร้านค้าวัสดุ
ก่อสร้างทั่วไป แต่ปัจจุบันมีการสร้างถังเกรอะสาเร็จรูป จาหน่ายโดยใช้หลักการเดียวกัน เกณฑ์การออกแบบ บ่อ
เกรอะที่รับน้าเสียเฉพาะน้าเสียจากส้วมของบ้านพักอาศัย ซึ่งหาขนาดได้จาก
สูตร
1.กรณีจานวนคนน้อยกว่า 5 คน ให้ใช้
ปริมาตรบ่อขนาดตั้งแต่ 1.5 ลูกบาศก์เมตรขึ้นไป
2. กรณีจานวนคนตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป
ปริมาตรบ่อ (ลูกบาศก์เมตร) = 1.5 + 0.1 คูณด้วย
(จานวน -5)
วิธีดาเนินงาน
หาหัวข้อที่จะ
ศึกษา
นาเสนอหัวข้อกับ
ครูผู้สอน
ศึกษารวบรวม
ข้อมูล
จัดทารายงาน นาเสนอครูผู้สอน ปรับปรุงและ
แก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
อินเตอร์เน็ต
หนังสือที่เกี่ยวข้อง
คอมพิวเตอร์
โทรศัพท์
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2.ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1
• กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
2
• กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
3
• กลุ่มสาระการเรียนรู้คอมพิวเตอร์
แหล่งอ้างอิง
บริษัทลุกซ์ รอยัล(2558).สาเหตุและผลกระทบ
จากมลพิษทางน้า, สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2562. (ออนไลน์)จาก
https://www.lux.co.th/cpt_blog/cause-and-impact-of-water-pollution/
บริษัท ไฮโดรเท็ค จากัด (มหาชน) (2558).ระบบบาบัดน้าเสีย, สืบค้นเมื่อ 17
กันยายน 2562. (ออนไลน์)จาก. https://www.hydrotek.co.th/wastwater-
treatment-plant/
ผู้จัดทา
น.ส.ฐิติพร ชัยวงค์ เลขที่ 11
น.ส.ขรัสวรา คาปวน เลขที่ 40
ชั้น ม. 6/6

More Related Content

Similar to Presentation1 (6)

น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2553
 
บทที่ 2 ขยะท้วมโลก
บทที่ 2 ขยะท้วมโลกบทที่ 2 ขยะท้วมโลก
บทที่ 2 ขยะท้วมโลก
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพัง
ขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพังขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพัง
ขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพัง
 

Presentation1