SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาเรื่อง “พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตเทศบาลตาบล
หัวกุญแจ อาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี” ผู้ศึกษาได้กาหนดประเด็นศึกษา เพื่อใช้เป็นกรอบพื้นฐานและ
ประกอบแนวทางการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตเทศบาลตาบล
หัวกุญแจ รวมตลอดถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ดังนี้
1. แนวความคิดเกี่ยวกับขยะมูลฝอย
2. แนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย
3. กฎหมายและนโยบายการจัดการขยะมูลฝอย
4. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับขยะมูลฝอย และการจัดการขยะมูลฝอย
5. ข้อมูลสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญของเทศบาลหัวกุญแจ
6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แนวความคิดเกี่ยวกับขยะมูลฝอย
1. นิยามเกี่ยวกับขยะมูลฝอย
มีผู้ให้ความหมายของ “ขยะมูลฝอย” ไว้ดังนี้
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานฉบับ พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายของคาว่ามูลฝอย
หมายถึง เศษสิ่งของที่ทิ้งแล้ว หยากเยื่อ และขยะ หมายถึง หยากเยื่อ มูลฝอย
พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ให้คาจากัดความของคาว่ามูลฝอย ไว้ดังนี้
มูลฝอย (Waste) หมายถึง สิ่งของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตและอุปโภค ซึ่ง
เสื่อมสภาพจนใช้การไม่ได้หรือไม่ต้องการใช้แล้วบางชนิดเป็นของแข็งหรือกากของเสีย (solid waste)
มีผลเสียต่อสุขภาพทางกายและจิตใจ เนื่องจากความสกปรก เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค ทาให้เกิดมลพิษและ
ทัศนะอุจาด
มูลฝอย (Solid Waste) หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า ถุงพลาสติก
ภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ หรือซากสัตว์ รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์
หรือที่อื่น
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (2550, หน้า 3) ได้ให้ความหมายของคาว่า ขยะมูลฝอย
หมายถึง สิ่งเหลือใช้และสิ่งปฏิกูลที่อยู่ในรูปของแข็ง ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์และสัตว์ ทั้งจากการ
บริโภค การผลิต การขับถ่าย การดารงชีวิตและอื่น ๆ
สิ่งปฏิกูล หมายถึง สิ่งสกปรก ของสกปรก ของเน่าเปื่อย อุจจาระหรือปัสสาวะ และ
หมายรวมถึงสิ่งอื่นใดซึ่งเป็นสิ่งโสโครกหรือมีกลิ่นเหม็น
ขยะมูลฝอย หมายถึง สิ่งเหลือใช้และสิ่งปฏิกูลที่อยู่ในรูปของแข็ง ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์
และสัตว์ทั้งจากบริโภค การผลิต การขับถ่าย การดารงชีวิต และอื่น ๆ (สานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2548, หน้า 80)
กรมควบคุมมลพิษ (กรมควบคุมมลพิษ, 2540, หน้า 6) ได้ให้คานิยามเกี่ยวกับขยะ
ประกอบด้วย
ขยะมูลฝอยชุมชน (municipal solid waste) หมายความถึง ขยะมูลฝอยที่เกิดจากกิจกรรม
ต่าง ๆ ในชุมชน เช่น บ้านพักอาศัย ธุรกิจร้านค้า สถานประกอบการ ตลาดสด สถาบันต่าง ๆ รวมทั้งเศษ
วัสดุก่อสร้าง ทั้งนี้ไม่รวมของเสียอันตรายและมูลฝอยติดเชื้อ
ของเสียอันตราย (hazardous waste) หมายความถึง ของเสียที่มีองค์ประกอบของวัตถุ
อันตราย ได้แก่ วัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ และวัตถุเปอร์ออกไซด์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทาให้เกิด
โรค วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการ
ระคายเคือง วัตถุอย่างอื่นไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์ หรือสิ่งอื่นใดที่อาจทาให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช
ทรัพย์สิน หรือสิ่งแวดล้อม
มูลฝอยติดเชื้อ (infectious waste) หมายความถึง ขยะมูลฝอยที่เป็นผลมาจากกระบวนการให้
การรักษาพยาบาล การตรวจวินิจฉัย การให้ภูมิคุ้มกันโรค การศึกษาวิจัยที่ดาเนินการทั้งในคนและสัตว์ ซึ่ง
มีเหตุอันควรสงสัยว่าหรืออาจมีเชื้อโรค อันได้แก่
ก. ซากหรือชิ้นส่วนของคนหรือสัตว์ที่เป็นผลมาจากการผ่าตัด การตรวจชันสูตรศพ การใช้
สัตว์ทดลองเกี่ยวกับโรคติดต่อ
ข. วัสดุมีคม หรือ วัสดุที่ใช้ในการให้บริการทางการแพทย์ การวิจัยในห้องปฏิบัติการ เช่น
เข็ม ใบมีด กระบอกฉีดยา สาลี ผ้าก๊อต ผ้าต่าง ๆ ท่อยาง และอื่น ๆ ซึ่งสัมผัสหรือสงสัยว่าจะสัมผัสกับ
เลือด ส่วนประกอบของเลือด หรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเลือด หรือสารน้าจากร่างกายหรือวัคซีนที่ทาจากเชื้อ
โรคที่มีชีวิต
ค. ขยะมูลฝอยอื่น ๆ ทุกประเภทที่มาจากห้องติดเชื้อร้ายแรง ห้องปฏิบัติการเชื้ออันตรายสูง
ขยะมูลฝอย คือ ของเหลือทิ้งจากขบวนการผลิตและการใช้สอยของมนุษย์ ซึ่งเป็นปัญหาของ
โลกสมัยใหม่ การเติบโตของเมืองที่มีขนาดใหญ่อย่างรวดเร็ว อาจจะมีขยะมูลฝอยที่มีลักษณะแตกต่างกัน
ไปตามแหล่งกาเนิด เช่น มูลฝอยจากบ้านเรือนส่วนใหญ่จะเป็นเศษอาหารที่เหลือจากการปรุงอาหารและ
การบริโภค รวมทั้งเศษอาหาร พลาสติกและของที่ไม่ใช้แล้ว มูลฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรมก็มีลักษณะ
ต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงตามประเภทของอุตสาหกรรมนั้น ๆ มูลฝอยที่ถูกทิ้งอยู่ตามถนน แม่น้า ลา
คลอง ที่สาธารณะต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นใบไม้ เศษกระดาษ ถุงพลาสติก เศษดิน เป็นต้น ซึ่งมูลฝอย
เหล่านี้หากไม่ได้กาจัดอย่างถูกวิธี นอกจากจะทาให้ชุมชนขาดความสะอาดเรียบร้อย ยังทาให้เกิดปัญหา
มลพิษต่อสภาพแวดล้อมอย่างมากมาย เช่น การปนเปื้อนของแหล่งน้า และการปนเปื้อนของอากาศ
เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ และแพร่กระจายของเชื้อโรค ตลอดจนก่อให้เกิดความราคาญต่าง ๆ จากกลิ่น ฝุ่น
ละออง ตลอดจนเป็นต้นเหตุของอัคคีภัยได้อีกด้วย (จังหวัดลพบุรี, 2552)
ขยะมูลฝอยหรือสิ่งของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตและอุปโภคซึ่งเสื่อมสภาพจนใช้การไม่ได้
แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ตามลักษณะการกาจัดขยะแบบผสมผสานได้แก่ ประเภทขยะขายได้ นากลับมา
ใช้ใหม่ได้ ประเภทขยะแห้งสาหรับเป็นเชื้อเพลิงทดแทน ประเภทขยะเปียก (สาหรับทาปุ๋ย และสาหรับ
เป็นอาหารสัตว์) และประเภทขยะอันตราย (สาหรับรีไซเคิล ขายได้และที่ส่งกาจัด หรือขายไม่ได้) (สม
ไทย วงษ์เจริญ, 2551, หน้า 41)
2. ประเภทขยะมูลฝอย และแหล่งกาเนิดขยะมูลฝอย
ประเภทขยะมูลฝอย
ขยะมูลฝอย สามารถแบ่งออกได้หลายประเภทตามเกณฑ์ที่ใช้แบ่ง ในที่นี้ขอแบ่งประเภทขยะ
ออกเป็น 4 ประเภทดังนี้ (กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, 2550, หน้า 19)
1. ขยะทั่วไป (general waste) เป็นขยะจากสานักงาน ถนนหนทาง การก่อสร้าง ได้แก่
กระดาษ เศษไม้ กิ่งไม้ ฟาง ข้าว แก้ว กระเบื้อง ยาง เศษอิฐ กรวด ทราย ถุงพลาสติก เศษปูน อิฐหัก หิน
ทราย ขยะประเภทนี้ไม่เกิดการย่อยสลายและเน่าเหม็น การกาจัดขยะทั่วไป ควรคัดแยกขยะที่สามารถ
นามาใช้ใหม่ได้ก่อนการกาจัด
2. ขยะย่อยสลายได้ หรือขยะอินทรีย์ (organic waste) เป็นขยะจากครัวเรือน ภัตตาคาร โรง
อาหาร ตลาดสด และการเกษตรกรรม ได้แก่ เศษอาหาร เศษผัก เศษเนื้อ เศษผลไม้ ซากสัตว์ มูลสัตว์
ขยะประเภทนี้จะเป็นพวกย่อยสลายและเน่าเปื่อยได้ง่าย เพราะว่าเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีความชื้น
ค่อนข้างสูง ประกอบกับขยะประเภทนี้ มีกลิ่นเหม็น การกาจัดขยะประเภทนี้ควรพิจารณาความเป็นไปได้
ในการหมักทาปุ๋ยก่อน
3. ขยะรีไซเคิล หรือขยะที่สามารถนาไปขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ อโลหะ
4. ขยะติดเชื้อและขยะอันตราย (hazardous waste) เป็นขยะจากสถานพยาบาลหรือ
อื่น ๆ ซึ่งต้องใช้กรรมวิธีในการทาลายเป็นพิเศษ ได้แก่ วัสดุที่ผ่านการใช้ในโรงพยาบาล แบตเตอรี่
กระป๋องสี พลาสติก ฟิล์มถ่ายรูป ถ่านไฟฉาย เป็นต้น การกาจัดขยะติดเชื้อจากโรงพยาบาลจะทาลายโดย
การเผาในเตาเผา ส่วนขยะอันตรายอื่น ๆ ต้องดาเนินการอย่างระมัดระวัง
แหล่งกาเนิดขยะมูลฝอย
แหล่งชุมชน กิจกรรมอุตสาหกรรม และกิจกรรมเกษตร จัดได้ว่าเป็นแหล่งกาเนิดของขยะมูล
ฝอยที่สาคัญ เมื่อประชากรเพิ่มขึ้นขยะมูลฝอยก็จะเพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว ประกอบกับมีการพัฒนา
อุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว ก็ยิ่งทาให้มีขยะมูลฝอยใหม่ ๆ เกิดขึ้นมากมาย ขยะมูลฝอยเหล่านี้มีทั้งขยะมูล
ฝอยทั่วไปและของเสียอันตราย แต่ละประเภทมีลักษณะแตกต่างกัน ขยะเป็นสิ่งที่เหลือใช้ หรือสิ่งที่ไม่
ต้องการอีกต่อไป สามารถแบ่งตามแหล่งกาเนิดได้ดังนี้ (เทศบาลเมืองทุ่งสง, 2553)
1. ของเสียจากอุตสาหกรรม ของเสียอันตรายทั่วประเทศไทยร้อยละ 73 มาจากระบบ
อุตสาหกรรมส่วนใหญ่ยังไม่มีการจัดการที่เหมาะสมโดยทิ้งกระจายอยู่ตามสิ่งแวดล้อมและทิ้งร่วมกับมูล
ฝอย รัฐบาลได้ ก่อตั้งศูนย์กาจัดกากอุตสาหกรรมขึ้นแห่งแรกที่แขวงแสมดา เขตบางขุนเทียน เริ่มเปิด
บริการตั้งแต่ 2531 ซึ่งก็เพียงสามารถกาจัดของเสียได้บางส่วน
2. ของเสียจากโรงพยาบาลและสถานที่ศึกษาวิจัย ของเสียจากโรงพยาบาลเป็นของเสียอันตราย
อย่างยิ่ง เช่น ขยะติดเชื้อ เศษอวัยวะจากผู้ป่วย และการรักษาพยาบาล รวมทั้งของเสียที่ปนเปื้อนสาร
กัมมันตรังสี สารเคมี ได้ทิ้งสู่สิ่งแวดล้อมโดยปะปนกับมูลฝอย สิ่งปฏิกูลเป็นการเพิ่มความเสี่ยงในการ
แพร่กระจายของเชื้อโรคและสารอันตราย
3. ของเสียจากภาคเกษตรกรรม เช่น ยาฆ่าแมลง ปุ๋ย มูลสัตว์ น้าทิ้งจากการทาปศุสัตว์ ฯลฯ
4. ของเสียจากบ้านเรือนแหล่งชุมชน เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ แก้ว เศษอาหาร
พลาสติก โลหะ หินไม้ กระเบื้อง หนัง ยาง ฯลฯ
5. ของเสียจากสถานประกอบการในเมือง เช่น ภัตตาคาร ตลาดสด วัด สถานเริงรมย์
3. องค์ประกอบที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขยะมูลฝอย
ปริมาณและลักษณะของขยะมูลฝอยขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้ (เทศบาลเมืองทุ่งสง,ออนไลน์,
2553)
1. ลักษณะชุมชนหรือที่ตั้งของท้องถิ่น ชุมชนการค้า (ตลาด ศูนย์การค้า) จะมีปริมาณขยะมูล
ฝอยมากกว่าชุมชนที่อยู่อาศัย ส่วนบริเวณเกษตรกรรม จะมีปริมาณขยะมูลฝอยอีกรูปแบบหนึ่ง
2. ความหนาแน่นของประชากรในชุมชน บริเวณที่อยู่อาศัยหนาแน่นปริมาณขยะเก็บมากกว่า
บริเวณที่มีประชากรอาศัยอยู่น้อย เช่น บริเวณ แฟลต คอนโดมิเนียม ทาวน์เฮาส์ ซึ่งมีผู้อยู่อาศัยหลาย
ครอบครัว ปริมาณขยะมีมาก
3. ฤดูกาล มีผลต่อการเปลี่ยนปลงของปริมาณขยะเป็นอย่างมาก เช่น ฤดูที่ผลไม้มาก ปริมาณ
ขยะมูลฝอยจาพวกเปลือก เม็ดของผลไม้จะมีมาก เพราะเหลือจากการบริโภคของประชาชน ถ้าผลไม้ยิ่ง
ออกสู่ตลาดเป็นจานวนมาก ยิ่งทาให้มีเปลือกและเศษผลไม้ทิ้งมากในปีนั้น
4. สภาวะเศรษฐกิจ ชุมชนที่มีฐานะดี ย่อมมีกาลังซื้อสินค้าสูงกว่าชุมชนที่มีฐานะเศรษฐกิจต่า
จึงมีขยะมูลฝอยมากตามไปด้วย ชุมชนที่มีฐานะเศรษฐกิจดี จะมีขยะมูลฝอยจากบรรจุภัณฑ์ เช่น กล่อง
กระป๋อง โฟม ถุงพลาสติก ส่วนพวกฐานะที่ไม่ดีมักเป็นเศษอาหาร เศษผัก
5. อุปนิสัยของประชาชนในชุมชน ประชาชนที่มีอุปนิสัยรักษาความสะอาด เป็นระเบียบ
เรียบร้อยจะมีปริมาณขยะมูลฝอยในการเก็บขนมากกว่าประชาชนที่มีอุปนิสัยมักง่ายและไม่เป็นระเบียบ
ซึ่งจะทิ้งขยะมูลฝอยกระจัดกระจาย ไม่รวบรวมเป็นที่เป็นทาง ปริมาณขยะมูลฝอยที่จะเก็บขนจึงน้อยลง
แต่ไปมากอยู่ตามลาคลอง ถนนสาธารณะ ถนน ที่สาธารณะ เป็นต้น ตัวแปรอีก ตัวหนึ่งคือ
พฤติกรรมการบริโภคและค่านิยมของคนแต่ละกลุ่ม มีผลต่อลักษณะของขยะมูลฝอย เช่น กลุ่ม
วัยรุ่นนิยมอาหารกระป๋อง น้าขวด อาหารใส่โฟม พลาสติก กล่องกระดาษ
6. การจัดการบริการเก็บขยะมูลฝอย องค์ประกอบนี้ก็เป็นผลอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลง
ปริมาณขยะมูลฝอย ถ้าบริการเก็บขยะมูลฝอยไม่สม่าเสมอประชาชนก็ไม่กล้านาขยะมูลฝอยออกมา ความ
ไม่สะดวกในการจัดเก็บขยะมูลฝอย เพราะรถขนขยะมูลฝอยไม่สามารถเข้าชุมชนได้ เนื่องจากถนนหรือ
ตรอก ซอยแคบมาก ต้องใช้ภาชนะขนถ่ายอีกทอดหนึ่ง ก็ทาให้ปริมาณขยะมูลฝอยเหลือจากการเก็บอีก
มาก
7. ความเจริญของอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี เนื่องจากคนบริโภคอาหารสาเร็จรูปกันมากขึ้น
ทั้งภาชนะฟุ่มเฟือย ขวด กระป๋อง กล่อง ถุงพลาสติก ฯลฯ กันมาก
4. ปริมาณขยะมูลฝอยในประเทศไทย
ขยะมูลฝอย ในปี 2552 คาดว่าทั่วประเทศมีขยะมูลฝอยเกิดขึ้นประมาณ 15 ล้านตันหรือวันละ
41,240 ตัน ซึ่งใกล้เคียงกับปี 2551 โดยเขตกรุงเทพมหานคร (กทม.) มีปริมาณขยะมูลฝอยประมาณวัน
ละ 8,900 ตัน (ร้อยละ 21) (ประมาณการจากการเก็บขนของกรุงเทพมหานคร เดือนมกราคม -
กันยายน 2552) ในเขตเทศบาลเมืองและเมืองพัทยามีประมาณวันละ 15,560 ตัน (ร้อยละ 38) และใน
เขตองค์การบริหารส่วนตาบล ประมาณวันละ 16,780 ตัน (ร้อยละ 41) ขยะมูลฝอยทั่วประเทศได้รับการ
กาจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการประมาณ 17,645 ตันต่อวัน หรือ ร้อยละ 43 ของปริมาณ
ขยะมูลฝอยทั่วประเทศ
การใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย ในปี 2552 คาดว่าจะมีขยะมูลฝอยนากลับมาใช้ประโยชน์
ประมาณ 3.5 ล้านตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 23 ของปริมาณขยะมูลฝอยทั่วประเทศ (ประมาณการจาก
ข้อมูลเดือนมกราคม - กันยายน 2552) โดยร้อยละ 90 เป็นเศษแก้ว กระดาษ เหล็ก อลูมิเนียม
ร้อยละ 7 เป็นการนาขยะอินทรีย์ และร้อยละ 3 เป็นการนาขยะมูลฝอยมาผลิตพลังงานไฟฟ้าและ
เชื้อเพลิงทดแทน (กรมควบคุมมลพิษ, 2552, ธันวาคม)
5. ปริมาณขยะมูลฝอยในภาคตะวันออก
ตารางที่ 1 แสดงปริมาณขยะมูลฝอย อัตราการผลิตและประสิทธิภาพการเก็บขนขยะมูลฝอยของ
เทศบาล 98 แห่งในเขตพื้นที่ภาคตะวันออก
จังหวัด
ประชากร จานวน
เทศบาล
ปริมาณ
ขยะที่
เกิดขึ้น
(ตัน/ วัน)
ปริมาณขยะ
ที่เก็บได้
(ตัน/ วัน)
ประสิทธิ
ภาพการ
เก็บขน(%)
อัตราการ
ผลิตขยะ
(กก./ คน/วัน)
ทะเบียน
ราษฎร
แฝง
ชลบุรี 573,828 3,349,000 27 915.40 870.00 95 0.85
ตราด 52,626 64,297 9 49.00 49.00 100 0.41
จันทบุรี 154,977 80,605 16 175.70 161.65 92 0.74
ระยอง 206,403 132,800 16 314.50 287.25 91 0.92
สระแก้ว 66,495 29,270 8 82.00 76.00 93 0.85
ฉะเชิงเทรา 125,581 71,167 22 198.20 190.35 96 1.00
รวม 1,179,91
0
3,727,139 98 1,734.80 1,634.25 94.20 0.35
ที่มา: สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 13 (ชลบุรี), 2548
6. ปริมาณขยะมูลฝอยในจังหวัดชลบุรี
ตารางที่ 2 แสดงปริมาณขยะมูลฝอยรวมจังหวัดชลบุรี
ข้อมูล
ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล รวมทั้งหมด
จานวน
ตัน/ วัน
ร้อยละ จานวน
ตัน/ วัน
ร้อยละ จานวน
ตัน/ วัน
ร้อยละ
ปริมาณขยะมูลฝอยรวม 803.35 100.00 518.26 100.00 1,321.61 100.00
ปริมาณขยะมูลฝอยที่
เก็บได้
723.15 90.02 445.70 86.00 1,168.85 88.44
ปริมาณขยะมูลฝอยที่
ตกค้าง
80.20 9.98 72.56 14.00 152.76 11.56
ที่มา: สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 13 (ชลบุรี), 2549
องค์ประกอบของขยะมูลฝอยจังหวัดชลบุรี
ตารางที่ 3 แสดงองค์ประกอบของขยะมูลฝอยจังหวัดชลบุรี
ประเภทของขยะมูลฝอย ร้อยละโดยน้าหนัก
มูลฝอยเปียก (เศษอาหารสด) 59.68
กระดาษ 7.41
พลาสติก 18.85
เศษผ้า 2.29
แก้ว 3.36
โลหะ 2.78
ไม้ 0.77
หนัง/ ยาง 0.59
อื่น ๆ 4.01
รวมทั้งหมด 100.00
ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ, 2547
7. ผลกระทบจากขยะมูลฝอยต่อสิ่งแวดล้อม
ขยะมูลฝอยก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์หลายประการ
ดังต่อไปนี้คือ(เทศบาลเมืองทุ่งสง, 2553)
1. เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลง และพาหะของโรค เนื่องจากเชื้อจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนมากับ
ขยะมูลฝอยมีโอกาสที่จะขยายพันธุ์เพิ่มจานวนมากยิ่งขึ้นได้ เพราะขยะมูลฝอยมีทั้งความชื้นและ
สารอินทรีย์ที่จุลินทรีย์ใช้เป็นอาหาร ขยะพวกอินทรีย์สารที่ทิ้งค้างไว้ จะเกิดการเน่าเปื่อยกลายเป็นแหล่ง
เพาะพันธุ์ของแมลงวัน นอกจากนั้นพวกขยะที่ปล่อยทิ้งไว้นาน ๆ จะเป็นที่อยู่อาศัยของหนู โดยหนูจะเข้า
มาทารังขยายพันธุ์ เพราะมีทั้งอาหารและที่หลบซ่อน ดังนั้นขยะที่ขาดการเก็บรวบรวม และการกาจัด จึง
ทาให้เกิดเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ที่สาคัญของเชื้อโรค แมลงวัน หนู แมลงสาบ ซึ่งเป็นพาหะนาโรคมาสู่คน
2. เป็นบ่อเกิดของโรค เนื่องจากการเก็บรวบรวมและการกาจัดขยะมูลฝอยไม่ดี หรือปล่อยปละ
ละเลยทาให้มีขยะมูลฝอยเหลือทิ้งค้างไว้ในชุมชน จะเป็นบ่อเกิดของเชื้อโรคต่าง ๆ เช่น ตับอักเสบ เชื้อ
ไทฟอยด์ เชื้อโรคเอดส์ ฯลฯ เป็นแหล่งกาเนิดและอาหารของสัตว์ต่าง ๆ ที่เป็นพาหะนาโรคมาสู่คน เช่น
แมลงวัน แมลงสาบ และหนู เป็นต้น
3. ก่อให้เกิดความราคาญ ขยะมูลฝอย การเก็บรวบรวมได้ไม่หมดก็จะเกิดเป็นกลิ่นรบกวน
กระจายอยู่ทั่วไปในชุมชน นอกจากนั้นฝุ่นละอองที่เกิดจากการเก็บรวบรวมการขนถ่าย และการกาจัดขยะ
ก็ยังคงเป็นเหตุราคาญที่มักจะได้รับการร้องเรียนจากประชาชนในชุมชนอยู่เสมอ อีกทั้งอุดจาดตาน่า
ขยะแขยง
4. ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ขยะมูลฝอยเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดมลพิษของน้า
มลพิษของดิน และมลพิษของอากาศ เนื่องจากขยะส่วนที่ขาดการเก็บรวบรวม หรือไม่นามากาจัดให้ถูกวิธี
ปล่อยทิ้งค้างไว้ในพื้นที่ของชุมชน เมื่อมีฝนตกลงมาจะไหลชะนาความสกปรก เชื้อโรค สารพิษจากขยะ
ไหลลงสู่แหล่งน้า ทาให้แหล่งน้าเกิดเน่าเสียได้ และนอกจากนี้ขยะมูลฝอยยังส่งผลกระทบต่อคุณภาพดิน
ซึ่งจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับคุณลักษณะของขยะมูลฝอย ถ้าขยะมีซากถ่านไฟฉาย ซากแบตเตอรี่ ซาก
หลอดฟลูออเรสเซนต์มาก ก็จะส่งผลต่อปริมาณโลหะหนักพวกปรอท แคดเมียม ตะกั่ว ในดินมาก ซึ่งจะ
ส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ในดิน และสารอินทรีย์ในขยะมูลฝอยเมื่อมีการย่อยสลาย จะทาให้เกิดสภาพ
ความเป็นกรดในดิน และเมื่อฝนตกมาชะกองขยะมูลฝอยจะ ทาให้น้าเสียจากกองขยะมูลฝอยไหล
ปนเปื้อนดินบริเวณรอบ ๆ ทาให้เกิดมลพิษของดินได้ การปนเปื้อนของดิน ยังเกิดจากการนามูลฝอยไปฝัง
กลบ หรือการยักยอกนาไปทิ้งทาให้ของเสียอันตรายปนเปื้อนในดิน ถ้ามีการเผาขยะมูลฝอยกลางแจ้งทา
ให้เกิดควันมีสารพิษทาให้คุณภาพของอากาศเสีย ส่วนมลพิษทางอากาศจากขยะมูลฝอยนั้น อาจเกิดขึ้น
ได้ทั้งจากมลสารที่มีอยู่ในขยะและพวกแก๊สหรือไอระเหย ที่สาคัญก็คือ กลิ่นเหม็นที่เกิดจากการเน่าเปื่อย
และสลายตัวของอินทรีย์สารเป็นส่วนใหญ่
5. ทาให้เกิดการเสี่ยงต่อสุขภาพ ขยะมูลฝอยที่ทิ้งและรวบรวมโดยขาดประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งขยะมูลฝอยพวกของเสียอันตราย ถ้าขาดการจัดการที่เหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
สุขภาพของประชาชนได้ง่าย เช่น โรคทางเดินอาหารที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่มีแมลงวันเป็นพาหะ หรือ
ได้รับสารพิษที่มากับของเสียอันตราย
6. เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ ขยะมูลฝอยปริมาณมาก ๆ ย่อมต้องสิ้นเปลืองงบประมาณใน
การจัดการเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ผลกระทบจากขยะมูลฝอยไม่ว่าจะเป็นน้าเสีย อากาศเสีย
ดินปนเปื้อนเหล่านี้ย่อมส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ
7. ทาให้ขาดความสง่างาม การเก็บขนและกาจัดที่ดีจะช่วยให้ชุมชนเกิดความสวยงาม มี
ความเป็นระเบียบเรียบร้อยอันส่อแสดงถึงความเจริญและวัฒนธรรมของชุมชน ฉะนั้นหากเก็บขนไม่ดี ไม่
หมด กาจัดไม่ดี ย่อมก่อให้เกิดความไม่น่าดู ขาดความสวยงาม บ้านเมืองสกปรก และความไม่เป็นระเบียบ
ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
8. ปัญหาจากสภาพสิ่งแวดล้อมขยะมูลฝอย
ขยะมูลฝอย เป็นตัวการสาคัญประการหนึ่ง ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม เมื่อมีขยะมูลฝอย
จานวนมาก แต่ชุมชนไม่สามารถเก็บขนและกาจัดขยะมูลฝอยได้อย่างหมดจดหรือจัดการขยะมูลฝอย
อย่างไม่ถูกสุขลักษณะ ดังนั้นขยะมูลฝอยจึงเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ดังนี้ คือ
(เทศบาลเมืองทุ่งสง, 2553)
1. อากาศเสีย เกิดจากการเผาขยะมูลฝอยกลางแจ้ง ก่อให้เกิดควันและสารพิษทางอากาศทาให้
คุณภาพอากาศเสื่อมโทรม
2. น้าเสีย เกิดจากกองขยะมูลฝอยบนพื้น เมื่อฝนตกลงมาบนกองขยะมูลฝอยจะเกิดน้าเสีย มี
ความสกปรกมาก ซึ่งจะไหลลงสู่แหล่งน้า ทาให้เกิดภาวะมลพิษของแหล่งน้า
3. แหล่งพาหะนาโรค เกิดจากการกองขยะมูลฝอยบนพื้นเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและ
แมลงวัน เป็นต้น ซึ่งเป็นพาหะนาโรคติดต่อทาให้มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
4. เหตุราคาญและความไม่น่าดู เกิดจากการเก็บขนขยะมูลฝอยไม่หมด รวมทั้งการกองขยะมูล
ฝอยบนพื้นซึ่งจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวนประชาชนและเกิดภาพไม่สวยงาม ไม่เป็นสุนทรียภาพ
9. สาเหตุปัญหาจากมุมมองผู้ที่เกี่ยวข้อง
กรมควบคุมมลพิษ ได้สรุปสาเหตุปัญหาขยะมูลฝอย จากมุมมองผู้เกี่ยวข้อง (กรมควบคุม
มลพิษ, 2552) ไว้ดังนี้
1. ขยะมูลฝอยเพิ่มมากขึ้น และการนามารีไซเคิลยังมีอยู่อย่างจากัด
2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่ให้ความสาคัญในการจัดการขยะมูลฝอย
3. หน่วยงานส่วนกลางขาดขบวนการกากับให้ท้องถิ่นดาเนินการจัดการขยะมูลฝอยให้มี
ประสิทธิภาพ
4. ขาดการส่งเสริมอย่างจริงจังให้ประชาชน ชุมชนมีส่วนร่วม
5. ขาดการส่งเสริมอย่างจริงจังให้ภาคเอกชนเข้ามาดาเนินการ
10. แนวทางการแก้ไขปัญหา
10.1 เร่งรัด ให้ท้องถิ่น เทศบาล สุขาภิบาล ทุกแห่ง ทาแผนการจัดการขยะมูลฝอย
ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวในการดาเนินการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่การเก็บรวบรวม การขนส่ง การ
บาบัด และการกาจัดขั้นสุดท้าย ตลอดจนการเร่งจัดหาที่ดินสาหรับใช้กาจัดขยะมูลฝอยได้อย่างเพียงพอ
ในระยะยาว และดาเนินการให้มีการกาจัดอย่างถูกสุขลักษณะ
10.2 เร่งรัด ให้มีการก่อสร้างโรงงานกาจัดขยะมูลฝอยให้ได้มาตรฐานและ มี
ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เมืองศูนย์กลางความเจริญในภูมิภาค
และเมืองท่องเที่ยวที่สาคัญ
10.3 ควรมีนโยบายและมาตรการ ตลอดจนแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยและ สิ่ง
ปฏิกูลของประเทศเพื่อเป็นกรอบให้ท้องถิ่นนาไปดาเนินการ
10.4 ส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการลดปริมาณขยะมูลฝอย ที่ต้องเป็นภาระใน การ
กาจัด
- การใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีอายุการใช้งานนาน (increased product lifetime) เป็นการ
พยายามเลือกใช้สินค้าที่มีความคงทนถาวร มีอายุการใช้งานนาน หากชารุดแล้วควรมีการซ่อมแซมให้ใช้
งานได้นานที่สุดก่อนที่จะทิ้งไป
- ลดการบริโภค (decreased consumption) วัสดุที่กาจัดยาก หรือมีปัญหาต่อ
สิ่งแวดล้อม
1) ส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการนาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ ได้แก่ การ
นาทรัพยากรจากขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ (material recovery) และนามาผลิตเป็น พลังงานเป็น
พลังงาน (energy recovery) เป็นการนาขยะมูลฝอยที่มีทรัพยากรหลายอย่างมาผ่านกระบวนการ ทาให้
เกิดประโยชน์ เช่น การนามาทาปุ๋ย นามาเผาเพื่อให้ได้พลังงานความร้อน
2) สนับสนุน ให้มีการปลูกฝังทัศนคติ และสร้างค่านิยมของประชาชนในการร่วมมือ
รักษาความสะอาด โดยให้มีการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ในระดับประชาชนทั่วไป
และในหลักสูตรการเรียนการสอน และให้มีการประชาสัมพันธ์และรณรงค์อย่างต่อเนื่อง โดยสื่อทุก
ประเภท
3) เร่งดาเนินการปรับปรุง แก้ไข กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ให้เอื้ออานวยต่อ
การดาเนินงานมากขึ้น รวมทั้งเข้มงวดให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายมากขึ้นและจริงจัง
4) ในด้านขยะมูลฝอยติดเชื้อ จาเป็นต้องเร่งแก้ไขเพราะปัจจุบันปริมาณเพิ่มมากขึ้นและ
ยังขาดการจัดการที่ถูกต้อง โดยการให้สถานพยาบาลและโรงพยาบาลทั้งรัฐและเอกชนมีส่วนร่วม
รับผิดชอบจัดการ ดังนี้
- การเตรียมขยะมูลฝอยติดเชื้อเพื่อรอการบาบัด ขยะมูลฝอยติดเชื้อควรจะได้มีการฆ่า
เชื้อก่อนด้วยน้ายาฆ่าเชื้อโรค ก่อนบรรจุในถุงสีแดงที่เตรียมไว้
- การเก็บขนและขนส่งไปกาจัด ควรใช้รถที่เป็นระบบปิดทั้งหมดในการขน เพื่อ
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ และเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานจาเป็นต้องมีอุปกรณ์ในการป้องกันโดยเฉพาะ
บุคคล
- วิธีการกาจัดในขณะนี้ยังไม่เหมาะสม เพราะใช้วิธีฝังและการเผาที่ไม่มีประสิทธิภาพ
เนื่องจากขาดงบประมาณ ควรจะได้มีการร่วมมือกันระหว่างสถานพยาบาลทั้งของรัฐและเอกชนได้ช่วยกัน
จัดสร้างระบบบาบัดให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย
การวางแผนจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยที่
จะต้องส่งเข้าไปทาลายด้วยระบบต่าง ๆ ให้น้อยที่สุด สามารถนาขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ทั้งในส่วนของ
การใช้ซ้าและแปรรูปเพื่อใช้ใหม่ (reuse & recycle) รวมถึงการกาจัดที่ได้ผลพลอยได้ เช่น ปุ๋ยหมัก หรือ
พลังงาน โดยสรุปวิธีการดาเนินการตามแนวทางของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ดังนี้คือ (สานักงาน
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2552)
1. การลดปริมาณขยะมูลฝอย (Reduce)
การลดปริมาณขยะมูลฝอยสามารถทาได้ดังนี้
1) การพยายามลดปริมาณขยะมูลฝอยที่อาจเกิดขึ้น เช่น ใช้สินค้าที่มีความคงทนถาวร และ
มีอายุการใช้งานนาน หรือ เลือกใช้สินค้าชนิดเติม
2) การลดปริมาณวัสดุเป็นการพยายามเลือกใช้สินค้าที่บรรจุในบรรจุภัณฑ์ที่มีขนาดใหญ่
แทนบรรจุภัณฑ์ที่มีขนาดเล็ก เพื่อลดปริมาณของบรรจุภัณฑ์ที่จะกลายเป็นขยะมูลฝอย
2. การนามาใช้ซ้า โดยการนาขยะมูลฝอยเศษวัสดุมาใช้ใหม่อีก หรือเป็นการใช้ซ้า ใช้แล้วใช้
อีก ๆ เช่น ขวดน้าหวาน นามาบรรจุน้าดื่ม ขวดกาแฟที่หมดแล้ว นามาใส่น้าตาล นั่นคือเป็นการพยายาม
ใช้สิ่งของต่าง ๆ หลาย ๆ ครั้ง ก่อนที่จะทิ้งหรือเลือกใช้ของใหม่
3. การนามาแก้ไข (Repair) โดยการนาวัสดุอุปกรณ์ที่ชารุดเสียหาย ซึ่งจะทิ้งเป็นมูลฝอยมา
ซ่อมแซมใช้ใหม่ เช่น เก้าอี้
4. การแปรสภาพและหมุนเวียนนากลับมาใช้ใหม่ โดยการนาวัสดุมาผ่านกระบวนการเพื่อ
ผลิตเป็นสินค้าใหม่ นั่นคือการนาขยะมูลฝอยมาแปรรูปตามกระบวนการของแต่ละประเภท เพื่อนา
กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงสภาพจากเดิมแล้วนากลับมาใช้ใหม่ เช่น พลาสติก กระดาษ
ขวด โลหะต่าง ๆ นากลับมาหลอมใหม่
5. การหลีกเลี่ยงการใช้วัสดุที่ก่อให้เกิดมลพิษ โดยการหลีกเลี่ยงการใช้วัสดุที่ทาลายยาก
หรือวัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง เช่น โฟม ปฏิเสธการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ย่อยสลายยาก หลีกเลี่ยงการใช้ที่ผิด
วัตถุประสงค์
หลักเกณฑ์ มาตรฐาน ภาชนะรองรับขยะมูลฝอย (กรมควบคุมมลพิษ, 2550)
1. ภาชนะรองรับขยะมูลฝอย
1.1 ถังขยะ
เพื่อให้การจัดเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและลด การ
ปนเปื้อนของขยะมูลฝอยที่มีศักยภาพในการนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่จะต้องมีการตั้งจุดรวบรวมขยะมูล
ฝอย (Station) และให้มีการแบ่งแยกประเภทของถังรองรับขยะมูลฝอยตามสีต่าง ๆ โดยมีถุงบรรจุภายใน
ถังเพื่อสะดวกและไม่ตกหล่น หรือแพร่กระจาย ดังนี้
ภาพที่ 1 แสดงถังขยะสีเขียว
ถังขยะสีเขียว รองรับขยะที่เน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว สามารถนามาหมักทาปุ๋ยได้ เช่น ผัก
ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้
ภาพที่ 2 แสดงถังขยะสีเหลือง
ถังขยะสีเหลือง รองรับขยะที่สามารถนามารีไซเคิลหรือขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก
โลหะ
ภาพที่ 3 แสดงถังขยะสีเทาฝาสีส้ม
ถังขยะสีเทาฝาสีส้ม รองรับขยะที่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม เช่น หลอดฟลูออเรส
เซนต์ ขวดยาถ่านไฟฉายกระป๋องสีสเปรย์ กระป๋องยาฆ่าแมลง ภาชนะบรรจุสารอันตรายต่าง ๆ
ภาพที่ 4 แสดงถังขยะสีฟ้า
ถังขยะสีฟ้า รองรับขยะย่อยสลายไม่ได้ ไม่เป็นพิษและไม่คุ้มค่าการรีไซเคิล เช่น พลาสติกห่อ
ลูกอม ซองบะหมี่สาเร็จรูปถุงพลาสติก โฟมและฟอล์ยที่เปื้อนอาหาร
1.2 ถุงขยะ
ถุงขยะสาหรับแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน และจะต้องมีการคัดแยกรวบรวมใส่ถุงขยะมูล
ฝอยตามสีต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
- ถุงสีเขียว รวบรวมขยะมูลฝอยที่เน่าเสีย และย่อยสลายได้เร็ว สามารถนามาหมักทาปุ๋ยได้
เช่น ผัก ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้
- ถุงสีเหลือง รวบรวมขยะมูลฝอยที่สามารถนามารีไซเคิลหรือขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ
พลาสติก โลหะ อลูมิเนียม
- ถุงสีแดง รวบรวมขยะมูลฝอยที่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น หลอดฟลูออ
เรสเซนต์ ขวดยา ถ่านไฟฉาย กระป๋องสีสเปรย์ กระป๋องสารฆ่าแมลง ภาชนะบรรจุสารอันตรายต่าง ๆ
- ถุงสีฟ้า รวบรวมขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายไม่ได้ไม่เป็นพิษและไม่คุ้มค่าการรีไซเคิล เช่น
พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหมี่สาเร็จรูป ถุงพลาสติก โฟม และฟอล์ยที่เปื้อนอาหาร
2. เกณฑ์มาตรฐานภาชนะรองรับขยะมูลฝอย
- ควรมีสัดส่วนของถังขยะมูลฝอยจากพลาสติกที่ใช้แล้วไม่ต่ากว่าร้อยละ 50 โดย
น้าหนัก
- ไม่มีส่วนประกอบสารพิษ (toxic substances) หากจาเป็นควรใช้สารเติมแต่งในปริมาณที่
น้อยและไม่อยู่ในเกณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค
- มีความทนทาน แข็งแรงตามมาตรฐานสากล
- มีขนาดพอเหมาะมีความจุเพียงพอต่อปริมาณขยะมูลฝอย สะดวกต่อการถ่ายเทขยะมูล
ฝอยและการทาความสะอาด
- สามารถป้องกัน แมลงวัน หนู แมว สุนัข และสัตว์อื่น ๆ มิให้สัมผัสหรือคุ้ยเขี่ยขยะมูลฝอย
ได้
3. จุดรวบรวมขยะมูลฝอยขนาดย่อม
เพื่อสะดวกในการเก็บรวบรวมและประหยัด จึงต้องมีการตั้งจุดรวมรวบขยะมูลฝอยขึ้น โดยจุด
รวบรวมขยะมูลฝอยจะกาหนดไว้ตามสถานที่ต่าง ๆ ได้แก่ หมู่บ้าน โรงอาหาร โรงภาพยนตร์
โดยมีภาชนะรองรับตั้งไว้เป็นจุด ๆ เช่น หมู่บ้านจัดสรร กาหนดให้จุดรวบรวม 1 จุด ต่อจานวนครัวเรือน
50 - 80 หลังคาเรือน จุดแรกจะตั้งที่ปากประตูทางเข้าหมู่บ้าน สาหรับ อพาร์ตเมนต์จะตั้งที่
ลานจอดรถ บ้านที่อยู่ในซอยจุดแรกจะตั้งหน้าปากซอย แต่ละครัวเรือนจะรวบรวมขยะมูลฝอยที่คัดแยก
ได้ โดยถุงพลาสติกตามประเภทของสีต่าง ๆ มาทิ้งที่จุดรวบรวมขยะ
มูลฝอย
นโยบายที่เกี่ยวข้อง มาตรการและแนวทางปฏิบัติ
แนวคิดการจัดการขยะมูลฝอยจากอดีตถึงปัจจุบัน
กรมควบคุมมลพิษ ได้สรุปแนวคิดการจัดขยะมูลฝอยจากอดีตถึงปัจจุบัน (กรม
ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, 2552) ไว้ดังนี้
1. ขยะ คือ สิ่งอันเป็นที่น่ารังเกียจ ไม่มีใครต้องการ
2. แนวทางการจัดการขยะ คือ การเก็บรวบรวม เก็บขน และการกาจัดให้มากที่สุด และเร็ว
ที่สุด (ตัวชี้วัดการทางาน คือไม่มีขยะตกค้าง และปริมาณขยะต่อหัวลดลง)
3. วิธีการจัดการขยะ คือ เน้นการลงทุนจานวนมาก ซื้อรถเก็บขน จ้างคนเก็บขน
หาพื้นที่กาจัด หาเทคโนโลยีกาจัด หาเงินอุดหนุนจากส่วนกลางให้มากที่สุด (ตัวชี้วัดการทางานคือ มีพื้นที่
กาจัดขยะ)
4. ผู้รับผิดชอบการจัดการขยะ คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่เพียงผู้เดียว
5. ไม่มีการวิเคราะห์ปัญหาเชิงบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ของพื้นที่ตนเอง
6. ใช้ความรู้การจัดการไม่สอดคล้องกับพื้นที่ของตนเอง
7. ไม่ได้มองปัญหาขยะว่าเป็นปัญหาทางสังคม มองขยะว่าเป็นความสกปรกที่ต้องกาจัด
(ตัวชี้วัดการทางาน คือ การกาจัดขยะอย่างถูกหลักสุขาภิบาล)
8. ไม่ได้มีการพิจารณาผล กระทบที่เกิดขึ้นอย่างรอบด้านโดยเฉพาะความขัดแย้งของกลุ่มคนใน
พื้นที่กาจัดขยะ
9. เน้นการจัดการขยะที่ปลายเหตุ ไม่ได้พิจารณาต้นทางของของการเกิดหรือ การ
ป้องกันการเกิดขยะ
10. ขาดการเชื่อมโยงวิธีการทางานกับภาคส่วนต่าง ๆ เช่น การสร้างประโยชน์จากขยะ การ
เพิ่มมูลค่าขยะ การให้ชุมชนเป็นกลไกขับเคลื่อน เป็นต้น
11. ขาดการพัฒนากลไกภาคสังคมที่จะเข้ามาช่วยในกระบวนการจัดการขยะ
นโยบายที่เกี่ยวข้อง
นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2540 - 2549 ได้
กาหนดเป้าหมายและแนวนโยบายการป้องกันและแก้ไขขยะมูลฝอยดังนี้
- ลดและควบคุมการผลิตขยะมูลฝอยโดยรวมไม่เกิน 1 กิโลกรัม/ คน/ วัน
- ให้มีการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอย ในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ของ ปริมาณที่เกิดขึ้น
- ปริมาณขยะมูลฝอยตกค้างจากบริการเก็บขน ไม่เกินร้อยละ 10 ของปริมาณที่ เกิดขึ้น
- ให้ทุกจังหวัดมีแผนหลักและแผนการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะ
- ให้มีการจัดการขยะมูลฝอยให้ถูกหลักสุขาภิบาล
- ควบคุมการเกิดขยะมูลฝอยและส่งเสริมให้มีการนากลับไปใช้ประโยชน์
แนวนโยบายการบริหารจัดการขยะมูลฝอย
แนวนโยบายการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ตามแนวคิดของกรมควบคุมมลพิษ มี
ดังนี้ (กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, 2552)
1. ลดการเกิดของเสีย ใช้หลัก 5 Rs ส่งเสริม green product
2. บริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสานที่เน้นการแปรรูปเป็นพลังงาน
3. รวมกลุ่มองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บริหารจัดการขยะมูลฝอย โดยมีเอกชนร่วมดาเนินการ
แนวนโยบายการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ตามแนวคิดของนายกเทศมนตรีตาบลหัวกุญแจ มี
ดังนี้ (เทศบาลตาบลหัวกุญแจ , 2554)
1. จัดทาแผนยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการด้านขยะมูลฝอยของชุมชนโดยมีคาสั่งแต่งตั้ง
คณะผู้ทางานที่
2. มีการจัดประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการให้ความรู้ในการแยกขยะอย่างต่อเนื่อง หลายช่องทาง
เช่น เสียงตามสาย แผ่นพับ ป้ายโฆษณา จุดประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ภายในเขตเทศบาล
3. รณรงค์ให้มีการแยกขยะในครัวเรือนทุกชุมชน เพื่อให้เกิดกระบวนการ 3 R
4. ใช้มาตรการ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น โดยการสร้าง
แรงจูงใจ รักษ์โลก ลดโลกร้อน
5. ประสานงานกับองค์กรต่าง ๆ ภายในท้องถิ่น เช่น บ้าน วัด โรงเรียน ในการใช้ทรัพยากร
อย่างคุ้มค่า นาขยะที่มีประโยชน์กลับมาใช้ใหม่ได้
6. ดูแลปรับปรุงสถานที่ทิ้งขยะของท้องถิ่นให้ถูกหลักสุขาภิบาล ควบคุมไม่ให้เกิดเป็นแหล่ง
เพราะเชื้อโรคได้
7. ให้การอบรมให้ความรู้แก่พนักงานเก็บขยะและผู้ดูแลสถานที่ทิ้งขยะให้มีความรู้ นื่องการแยก
ขยะเพื่อเป็นกลุ่มคนต้นแบบ
8. ติดตามนโยบายของส่วนกลางระดับจังหวัดเกี่ยวกับงานด้านสิ่งแวดล้อม เรื่อขยะเพื่อปรับ
แผนการทางานของท้องถิ่นให้เป็นแนวทางเดียวกัน
9. รวมกลุ่มองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีเอกสารร่วมดาเนินการ
มาตรการและแนวทางปฏิบัติ
กรมควบคุมมลพิษ ได้กาหนดมาตรการและแนวทางปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยดังนี้ (กรม
ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, 2552)
1. ลดการเกิดของเสีย ใช้หลัก 5 Rs ส่งเสริม green product
มาตรการ
1) กรอบนโยบาย
- ลดการเกิดของเสีย
- ใช้หลัก 5 Rs
- ส่งเสริม green product
2) เป้าหมาย คือ มีการนาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30
แนวทางปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย
1) สร้างจิตสานึกให้ประชาชนลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน และหันมานิยมใช้
สินค้าที่สามารถใช้ซ้า/ นากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ และ green product
2) สนับสนุน อปท. จัดระบบคัดแยกขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพ
3) ส่งเสริมให้ผู้ผลิต/ ผู้จาหน่ายสินค้า ลดการใช้บรรจุภัณฑ์ และจัดให้มีระบบรับคืนซาก
บรรจุภัณฑ์ รวมทั้งจาหน่ายสินค้า/ บรรจุภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบจากวัสดุรีไซเคิล และวัสดุที่เป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม
4) ส่งเสริมให้มีการจัดระบบซาเล้ง และร้านรับซื้อของเก่า
2. บริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสานที่เน้นการแปรรูปเป็นพลังงาน
มาตรการ
1) กรอบนโยบาย คือ การจัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสาน
2) เป้าหมายคือ ขยะมูลฝอยได้รับการจัดการอย่างถูกหลักวิชาการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 40
แนวทางปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย
1) พัฒนาระบบเก็บรวบรวมและขนส่งขยะมูลฝอยให้สอดคล้องกับการคัดแยกขยะมูลฝอย
จากอาคารบ้านเรือน/ สถานประกอบการ
2) สนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมกลุ่มกันเพื่อบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบ
ผสมผสาน ที่มีการแปรรูปขยะมูลฝอยเป็นพลังงานทดแทน โดยจัดตั้งบริษัท หรือมอบหมายเอกชน
ดาเนินการแทน
3) การไฟฟ้าฯ รับซื้อไฟฟ้า
4) ปรับปรุงกฎหมายสิ่งแวดล้อมและ/ หรือพัฒนากฎหมายเฉพาะด้านการจัดการขยะมูล
ฝอย
3. รวมกลุ่มองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บริหารจัดการขยะมูลฝอย โดยมีเอกชนร่วม
ดาเนินการ
มาตรการ
1) กรอบนโยบาย คือ ระบบบริหารจัดการ & ศูนย์ HW
2) เป้าหมาย คือ ของเสียอันตรายชุมชนได้รับการจัดการอย่างถูกหลักวิชาการไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 30
แนวทางปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย
1) สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบจากความเป็นอันตรายในผลิตภัณฑ์ที่ใช้แล้ว
หรือของเสียอันตรายชุมชนแก่ประชาชน
2) สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์จัดการของเสียอันตรายจากชุมชนและมูลฝอยติดเชื้อ
โดยภาคเอกชนร่วมดาเนินการ
3) สร้างแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการพัฒนาระบบ/ กลไกการรับคืนของเสียอันตรายชุมชน
4) วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการของเสียอันตราย/ ซาก WEEE
5) ผลักดันกฎหมายส่งเสริมการจัดการของเสียอันตรายจากผลิตภัณฑ์ใช้แล้วไปสู่การปฏิบัติ
อย่างเป็นรูปธรรม
4. การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนกับวาระแห่งชาติ
กรมควบคุมมลพิษ ได้กล่าวถึงการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนกับวาระแห่งชาติ (กรม
ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, 2552) ไว้ดังนี้
1) การลดการเกิดของเสียให้น้อยที่สุด (zero waste)
2) การคัดแยกและใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย (5 Rs)
3) การจัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสาน ที่มีการรวมกลุ่มองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(อปท.) (clustering)
4) ระบบบริหารจัดการ และศูนย์กาจัดของเสียอันตรายจากชุมชน
5) ส่งเสริมการผลิตพลังงานจากขยะมูลฝอย (waste to energy)
6) การส่งเสริมและสนับสนุนให้เอกชนร่วมลงทุน และดาเนินการในระบบจัดการ
ขยะมูลฝอย
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญของเทศบาลตาบลหัวกุญแจ
1. สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญของเทศบาลตาบลหัวกุญแจ
1.1 ลักษณะที่ตั้ง/ อาณาเขต และเขตการปกครอง
ลักษณะที่ตั้ง
เทศบาลตาบลหัวกุญแจ ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 1 ตาบลคลองกิ่ว อาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี
อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ระยะทางประมาณ 80 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดชลบุรี ระยะทาง
ประมาณ 30 กิโลเมตร และห่างจากที่ว่าการอาเภอบ้านบึง ระยะทางประมาณ 11 กิโลเมตร และมี
อาณาเขตโดยรอบติดต่อกับเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตาบลคลองกิ่ว
เนื้อที่ เขตการปกครอง มีพื้นที่ครอบคลุมบางส่วนของหมู่ที่ 1 ตาบลคลองกิ่ว รวมพื้นที่ทั้งสิ้นประมาณ
1.20 ตารางกิโลเมตร
อาณาเขต
เทศบาลตาบลหัวกุญแจมีอาณาเขตติดต่อกับเทศบาลฯ ข้างเคียง ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับหมู่ที่ 8 องค์การบริหารส่วนตาบลคลองกิ่ว
ทิศตะวันออก ติดต่อกับหมู่ที่ 9 องค์การบริหารส่วนตาบลคลองกิ่ว
ทิศตะวันตก ติดต่อกับหมู่ที่ 2 องค์การบริหารส่วนตาบลคลองกิ่ว
ทิศใต้ ติดต่อกับหมู่ที่ 1 องค์การบริหารส่วนตาบลคลองกิ่ว
เขตการปกครอง
เทศบาลตาบลหัวกุญแจ ประกอบด้วย 1 ตาบล คือตาบลคลองกิ่ว และมีชุมชนจานวน 6
ชุมชน ดังนี้
1. ชุมชนประชาราษฎร์พัฒนา
2. ชุมชนพลังรวมใจ
3. ชุมชนหอมงคลโหงวเฮียงไต้ตี่
4. ชุมชนสัมพันธ์ไมตรี
5. ชุมชนสามัคคี
6. ชุมชนหลังโรงเรียน
1.2 ภูมิประเทศ
สภาพพื้นที่ของเทศบาลตาบลหัวกุญแจ โดยทั่วไปนั้นในพื้นที่หัวกุญแจจะมีลักษณะเป็น
ที่ราบสูงสลับเนินเขา ชาวบ้าน ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพาะปลูกมันสาปะหลัง ทานา และ ทาไร่สิ่งที่
เกิดตามมาจึงกลายเป็นเรื่องของธุรกิจการค้าน้าตาลซึ่งเป็นผลผลิตที่ได้จากการเกษตรกรในพื้นที่ทาการ
เพาะปลูกนั่นเอง เมื่อกิจการการค้าเริ่มเกิดขึ้นในพื้นที่ การค้าขายอื่นๆ จึงเกิดตามมาทาให้ตาบลคลองกิ่ว
เริ่ม แปรสภาพเป็นอุตสาหกรรมมากขึ้นประกอบกับมีการอพยพถิ่นฐานเข้ามาของชนชาวลาวและชาว
จีนเพิ่มขึ้นมากขึ้น
1.3 ภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบมรสุม มี 3 ฤดู คือ
1) อุณหภูมิสูงสุด 38 องศาเซลเซียส ต่าสุด 22 องศาเซลเซียส
- อุณหภูมิเฉลี่ยเดือน มี.ค. - มิ.ย. 38 องศาเซลเซียส
- อุณหภูมิเฉลี่ยเดือน ก.ค. - ต.ค. 35 องศาเซลเซียส
- อุณหภูมิเฉลี่ยเดือน พ.ย. - ก.พ. 30 องศาเซลเซียส
2) ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยสูงสุด 196.50 มม.
3) ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยต่าสุด 96.10 มม.
2. จานวนประชากร
เทศบาลตาบลหัวกุญแจ มีจานวนประชากร และจานวนครัวเรือน ดังนี้
ตารางที่ 4 แสดงข้อมูลประชากร และจานวนครัวเรือน
เทศบาลตาบลหัวกุญแจ
ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2554
จานวนครัว เรือน(หลัง)จานวนประชากร (คน)
ชาย หญิง รวม
เทศบาลตาบลหัวกุญแจ 1,571 2,305 3,876 1,668
ที่มา: สานักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตาบลหัวกุญแจ, 2554, มิถุนายน
3. ด้านเศรษฐกิจ
ประชากรในเขตเทศบาลตาบลหัวกุญแจ มีรายได้เฉลี่ยต่อปี/ ครัวเรือน ประมาณ
45,000 บาท โดยมีอาชีพหลักคือเกษตรกรรม การปศุสัตว์ ค้าขาย มีบ้านให้เช่า และใช้แรงงาน โดย
อาชีพแบ่งตามประเภท ดังนี้ (ข้อมูล ณ ปี 2553)
- รายได้/ประชากร รายได้เฉลี่ยของประชากร 90,000บาท/คน / ปี
- เกษตรกรรม 250 ครัวเรือน
- สถานีบริการน้ามัน 1 แห่ง
- ศูนย์การค้า/ห้างสรรพสินค้า - แห่ง
- ตลาดสด 1 แห่ง
- ร้านค้าทั่วไป 190 แห่ง
- สถานธนานุบาล - แห่ง
-โรงฆ่าสัตว์ 1 แห่ง
- โรงแรม - แห่ง
- ธนาคาร 2 แห่ง
- สถานที่จาหน่ายอาหาร ตาม พ.ร.บ. สาธารณสุข 47 แห่ง
- จานวนครัวเรือนในภาคการปศุสัตว์ 200 ครัวเรือน
(เทศบาลตาบลหัวกุญแจ, 2553, รายงานแผน 3 ปี)
4. ปริมาณขยะ การจัดเก็บ และรถเก็บขนขยะ
4.1 ปริมาณขยะ และการจัดเก็บ
ในพื้นที่เทศบาลตาบลหัวกุญแจ ประชาชนมีการอยู่อาศัยและประกอบกิจการไม่หนาแน่น
มีการวางผังเมืองที่ดี จึงทาให้การเก็บขนขยะมูลฝอยทาได้สะดวก ทาให้เทศบาลไม่มีปริมาณขยะ
ตกค้างภายในพื้นที่ โดยปัจจุบันเทศบาลมีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นประมาณวันละ
8-10 ตัน ขยะมูลฝอยส่วนใหญ่เป็นขยะมูลฝอยจากครัวเรือนและชุมชน สามารถเก็บขนได้จริงประมาณ
วันละ 8-10 ตัน ทาให้ไม่มีขยะตกค้างในพื้นที่ ขยะที่กาจัดได้ ประมาณ วันละ 8-10 ตัน โดยนาไปฝัง
กลบยังสถานที่ฝังกลบของเทศบาลตาบลหัวกุญแจ โดยการจ้างเหมาเอกชนฝังกลบแบบถูกหลัก
สุขาภิบาล โดยมีค่าใช้จ่ายในการกาจัดขยะมูลฝอยเหมาจ่ายปีละ 100,000 บาท
4.2 รถเก็บขนขยะ
รถยนต์ที่ใช้จัดเก็บขยะ มี 2 คัน ดังตารางที่ 5 ใช้เก็บขนขยะจริงวันละ 2 คัน คัน
ละ 2เที่ยว โดยจัดเก็บขยะระหว่างเวลา 04.00 – 12.00 น. และเวลา 13.00 น.-16.00 น.
ตารางที่ 5 แสดงประเภทรถ และขนาดความจุของรถบรรทุกขยะเทศบาลตาบลหัวกุญแจ
รถยนต์คันที่ ประเภทรถ ขนาดความจุ (ลบ.ม.)
1 รถบรรทุกขยะแบบอัดท้าย 6 ล้อ 10 ลบ.ม.
2 รถบรรทุกขยะมูลฝอยแบบอัดท้าย 6 ล้อ 10 ลบ.ม.
ที่มา: กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตาบลหัวกุญแจ (2554)
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
จากการศึกษาผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือน ในเขต
เทศบาลตาบลหัวกุญแจ อาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี มีดังนี้
บันเทิง เพียรค้า (2539, บทคัดย่อ) ได้ศึกษารูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนใน
เขตชนบท ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนใน
เขตชนบทที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ ฐานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือนการแบ่งหน้าที่ในการ
จัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือน ความรู้เกี่ยวกับขยะมูลฝอยของครัวเรือนการได้รับข้อมูลข่าวสาร
เกี่ยวกับขยะมูลฝอยของครัวเรือน และการรับรู้กฎระเบียบเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน
ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนในเขตชนบทที่ระดับนัยสาคัญทาง
สถิติ 0.05 ได้แก่ การแบ่งหน้าที่ในการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือน ความรู้เกี่ยวกับขยะมูลฝอยของ
ครัวเรือน และการได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของครัวเรือน
เพลงพิณ มั่นอยู่ (2540 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อม
ของคณะกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตาบลจังหวัดพะเยา ผลการศึกษาพบว่าคณะกรรมการ
บริหารส่วนตาบลส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมอยู่ในเกณฑ์ปานกลางและพบว่าความรู้
เกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมขึ้นอยู่กับตัวแปร ระดับการศึกษา ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในท้องถิ่นและการรับรู้
ข้อมูลข่าวสารจากวารสาร/นิตยสาร การประชุมในหมู่บ้าน หอกระจายข่าว/โปสเตอร์ เจ้าหน้าที่ของรัฐ
และคนในหมู่บ้านอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนการปฏิบัติเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมของ
6 supannee2
6 supannee2
6 supannee2

More Related Content

Similar to 6 supannee2

บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องBoonwiset Seaho
 
โครงงานประเภทสืบค้น เรื่องถังขยะหลากสี (Trashcan)
โครงงานประเภทสืบค้น เรื่องถังขยะหลากสี (Trashcan)โครงงานประเภทสืบค้น เรื่องถังขยะหลากสี (Trashcan)
โครงงานประเภทสืบค้น เรื่องถังขยะหลากสี (Trashcan)ssuser0b356a
 
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกเรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกพัน พัน
 
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5Thidaporn Kaewta
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วม
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วมการจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วม
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วมnhs0
 
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15 january 2018 สำเ...
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15  january 2018  สำเ...โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15  january 2018  สำเ...
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15 january 2018 สำเ...Aung Aung
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะWuttiphong Kompow
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะWuttiphong Kompow
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะWuttiphong Kompow
 
ใบงานที่สิบ
ใบงานที่สิบใบงานที่สิบ
ใบงานที่สิบNoot Ting Tong
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136Makin Puttaisong
 
ขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพัง
ขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพังขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพัง
ขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพังMooThong Chaisiri Chong
 
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่นส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่นNatta Noname101
 

Similar to 6 supannee2 (20)

บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานประเภทสืบค้น เรื่องถังขยะหลากสี (Trashcan)
โครงงานประเภทสืบค้น เรื่องถังขยะหลากสี (Trashcan)โครงงานประเภทสืบค้น เรื่องถังขยะหลากสี (Trashcan)
โครงงานประเภทสืบค้น เรื่องถังขยะหลากสี (Trashcan)
 
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกเรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
 
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5
ขยะท่วมโลก กลุ่ม 5
 
10
1010
10
 
10
1010
10
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วม
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วมการจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วม
การจัดการขยะมูลฝอยกรณีน้ำท่วม
 
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15 january 2018 สำเ...
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15  january 2018  สำเ...โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15  january 2018  สำเ...
โครงงาน ปั่นจอมพลังพิชิตขยะ"Collection Garbage Bicycle" 15 january 2018 สำเ...
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะ
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะ
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะ
 
ใบงานที่สิบ
ใบงานที่สิบใบงานที่สิบ
ใบงานที่สิบ
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 101 136
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 101 136
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
ขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพัง
ขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพังขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพัง
ขยะมูลฝอย - ชุมชนหนองสระพัง
 
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่นส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
 

6 supannee2

  • 1. บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาเรื่อง “พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตเทศบาลตาบล หัวกุญแจ อาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี” ผู้ศึกษาได้กาหนดประเด็นศึกษา เพื่อใช้เป็นกรอบพื้นฐานและ ประกอบแนวทางการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตเทศบาลตาบล หัวกุญแจ รวมตลอดถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งออกเป็นส่วน ๆ ดังนี้ 1. แนวความคิดเกี่ยวกับขยะมูลฝอย 2. แนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย 3. กฎหมายและนโยบายการจัดการขยะมูลฝอย 4. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับขยะมูลฝอย และการจัดการขยะมูลฝอย 5. ข้อมูลสภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญของเทศบาลหัวกุญแจ 6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวความคิดเกี่ยวกับขยะมูลฝอย 1. นิยามเกี่ยวกับขยะมูลฝอย มีผู้ให้ความหมายของ “ขยะมูลฝอย” ไว้ดังนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานฉบับ พ.ศ. 2525 ได้ให้ความหมายของคาว่ามูลฝอย หมายถึง เศษสิ่งของที่ทิ้งแล้ว หยากเยื่อ และขยะ หมายถึง หยากเยื่อ มูลฝอย พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ให้คาจากัดความของคาว่ามูลฝอย ไว้ดังนี้ มูลฝอย (Waste) หมายถึง สิ่งของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตและอุปโภค ซึ่ง เสื่อมสภาพจนใช้การไม่ได้หรือไม่ต้องการใช้แล้วบางชนิดเป็นของแข็งหรือกากของเสีย (solid waste) มีผลเสียต่อสุขภาพทางกายและจิตใจ เนื่องจากความสกปรก เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรค ทาให้เกิดมลพิษและ ทัศนะอุจาด มูลฝอย (Solid Waste) หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่อาหาร เถ้า มูลสัตว์ หรือซากสัตว์ รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์ หรือที่อื่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (2550, หน้า 3) ได้ให้ความหมายของคาว่า ขยะมูลฝอย หมายถึง สิ่งเหลือใช้และสิ่งปฏิกูลที่อยู่ในรูปของแข็ง ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์และสัตว์ ทั้งจากการ บริโภค การผลิต การขับถ่าย การดารงชีวิตและอื่น ๆ สิ่งปฏิกูล หมายถึง สิ่งสกปรก ของสกปรก ของเน่าเปื่อย อุจจาระหรือปัสสาวะ และ หมายรวมถึงสิ่งอื่นใดซึ่งเป็นสิ่งโสโครกหรือมีกลิ่นเหม็น
  • 2. ขยะมูลฝอย หมายถึง สิ่งเหลือใช้และสิ่งปฏิกูลที่อยู่ในรูปของแข็ง ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ และสัตว์ทั้งจากบริโภค การผลิต การขับถ่าย การดารงชีวิต และอื่น ๆ (สานักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2548, หน้า 80) กรมควบคุมมลพิษ (กรมควบคุมมลพิษ, 2540, หน้า 6) ได้ให้คานิยามเกี่ยวกับขยะ ประกอบด้วย ขยะมูลฝอยชุมชน (municipal solid waste) หมายความถึง ขยะมูลฝอยที่เกิดจากกิจกรรม ต่าง ๆ ในชุมชน เช่น บ้านพักอาศัย ธุรกิจร้านค้า สถานประกอบการ ตลาดสด สถาบันต่าง ๆ รวมทั้งเศษ วัสดุก่อสร้าง ทั้งนี้ไม่รวมของเสียอันตรายและมูลฝอยติดเชื้อ ของเสียอันตราย (hazardous waste) หมายความถึง ของเสียที่มีองค์ประกอบของวัตถุ อันตราย ได้แก่ วัตถุระเบิดได้ วัตถุไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ และวัตถุเปอร์ออกไซด์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทาให้เกิด โรค วัตถุกัมมันตรังสี วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดการ ระคายเคือง วัตถุอย่างอื่นไม่ว่าจะเป็นเคมีภัณฑ์ หรือสิ่งอื่นใดที่อาจทาให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์สิน หรือสิ่งแวดล้อม มูลฝอยติดเชื้อ (infectious waste) หมายความถึง ขยะมูลฝอยที่เป็นผลมาจากกระบวนการให้ การรักษาพยาบาล การตรวจวินิจฉัย การให้ภูมิคุ้มกันโรค การศึกษาวิจัยที่ดาเนินการทั้งในคนและสัตว์ ซึ่ง มีเหตุอันควรสงสัยว่าหรืออาจมีเชื้อโรค อันได้แก่ ก. ซากหรือชิ้นส่วนของคนหรือสัตว์ที่เป็นผลมาจากการผ่าตัด การตรวจชันสูตรศพ การใช้ สัตว์ทดลองเกี่ยวกับโรคติดต่อ ข. วัสดุมีคม หรือ วัสดุที่ใช้ในการให้บริการทางการแพทย์ การวิจัยในห้องปฏิบัติการ เช่น เข็ม ใบมีด กระบอกฉีดยา สาลี ผ้าก๊อต ผ้าต่าง ๆ ท่อยาง และอื่น ๆ ซึ่งสัมผัสหรือสงสัยว่าจะสัมผัสกับ เลือด ส่วนประกอบของเลือด หรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากเลือด หรือสารน้าจากร่างกายหรือวัคซีนที่ทาจากเชื้อ โรคที่มีชีวิต ค. ขยะมูลฝอยอื่น ๆ ทุกประเภทที่มาจากห้องติดเชื้อร้ายแรง ห้องปฏิบัติการเชื้ออันตรายสูง ขยะมูลฝอย คือ ของเหลือทิ้งจากขบวนการผลิตและการใช้สอยของมนุษย์ ซึ่งเป็นปัญหาของ โลกสมัยใหม่ การเติบโตของเมืองที่มีขนาดใหญ่อย่างรวดเร็ว อาจจะมีขยะมูลฝอยที่มีลักษณะแตกต่างกัน ไปตามแหล่งกาเนิด เช่น มูลฝอยจากบ้านเรือนส่วนใหญ่จะเป็นเศษอาหารที่เหลือจากการปรุงอาหารและ การบริโภค รวมทั้งเศษอาหาร พลาสติกและของที่ไม่ใช้แล้ว มูลฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรมก็มีลักษณะ ต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงตามประเภทของอุตสาหกรรมนั้น ๆ มูลฝอยที่ถูกทิ้งอยู่ตามถนน แม่น้า ลา คลอง ที่สาธารณะต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นใบไม้ เศษกระดาษ ถุงพลาสติก เศษดิน เป็นต้น ซึ่งมูลฝอย เหล่านี้หากไม่ได้กาจัดอย่างถูกวิธี นอกจากจะทาให้ชุมชนขาดความสะอาดเรียบร้อย ยังทาให้เกิดปัญหา มลพิษต่อสภาพแวดล้อมอย่างมากมาย เช่น การปนเปื้อนของแหล่งน้า และการปนเปื้อนของอากาศ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ และแพร่กระจายของเชื้อโรค ตลอดจนก่อให้เกิดความราคาญต่าง ๆ จากกลิ่น ฝุ่น ละออง ตลอดจนเป็นต้นเหตุของอัคคีภัยได้อีกด้วย (จังหวัดลพบุรี, 2552)
  • 3. ขยะมูลฝอยหรือสิ่งของเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตและอุปโภคซึ่งเสื่อมสภาพจนใช้การไม่ได้ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ตามลักษณะการกาจัดขยะแบบผสมผสานได้แก่ ประเภทขยะขายได้ นากลับมา ใช้ใหม่ได้ ประเภทขยะแห้งสาหรับเป็นเชื้อเพลิงทดแทน ประเภทขยะเปียก (สาหรับทาปุ๋ย และสาหรับ เป็นอาหารสัตว์) และประเภทขยะอันตราย (สาหรับรีไซเคิล ขายได้และที่ส่งกาจัด หรือขายไม่ได้) (สม ไทย วงษ์เจริญ, 2551, หน้า 41) 2. ประเภทขยะมูลฝอย และแหล่งกาเนิดขยะมูลฝอย ประเภทขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอย สามารถแบ่งออกได้หลายประเภทตามเกณฑ์ที่ใช้แบ่ง ในที่นี้ขอแบ่งประเภทขยะ ออกเป็น 4 ประเภทดังนี้ (กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, 2550, หน้า 19) 1. ขยะทั่วไป (general waste) เป็นขยะจากสานักงาน ถนนหนทาง การก่อสร้าง ได้แก่ กระดาษ เศษไม้ กิ่งไม้ ฟาง ข้าว แก้ว กระเบื้อง ยาง เศษอิฐ กรวด ทราย ถุงพลาสติก เศษปูน อิฐหัก หิน ทราย ขยะประเภทนี้ไม่เกิดการย่อยสลายและเน่าเหม็น การกาจัดขยะทั่วไป ควรคัดแยกขยะที่สามารถ นามาใช้ใหม่ได้ก่อนการกาจัด 2. ขยะย่อยสลายได้ หรือขยะอินทรีย์ (organic waste) เป็นขยะจากครัวเรือน ภัตตาคาร โรง อาหาร ตลาดสด และการเกษตรกรรม ได้แก่ เศษอาหาร เศษผัก เศษเนื้อ เศษผลไม้ ซากสัตว์ มูลสัตว์ ขยะประเภทนี้จะเป็นพวกย่อยสลายและเน่าเปื่อยได้ง่าย เพราะว่าเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีความชื้น ค่อนข้างสูง ประกอบกับขยะประเภทนี้ มีกลิ่นเหม็น การกาจัดขยะประเภทนี้ควรพิจารณาความเป็นไปได้ ในการหมักทาปุ๋ยก่อน 3. ขยะรีไซเคิล หรือขยะที่สามารถนาไปขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ อโลหะ 4. ขยะติดเชื้อและขยะอันตราย (hazardous waste) เป็นขยะจากสถานพยาบาลหรือ อื่น ๆ ซึ่งต้องใช้กรรมวิธีในการทาลายเป็นพิเศษ ได้แก่ วัสดุที่ผ่านการใช้ในโรงพยาบาล แบตเตอรี่ กระป๋องสี พลาสติก ฟิล์มถ่ายรูป ถ่านไฟฉาย เป็นต้น การกาจัดขยะติดเชื้อจากโรงพยาบาลจะทาลายโดย การเผาในเตาเผา ส่วนขยะอันตรายอื่น ๆ ต้องดาเนินการอย่างระมัดระวัง แหล่งกาเนิดขยะมูลฝอย แหล่งชุมชน กิจกรรมอุตสาหกรรม และกิจกรรมเกษตร จัดได้ว่าเป็นแหล่งกาเนิดของขยะมูล ฝอยที่สาคัญ เมื่อประชากรเพิ่มขึ้นขยะมูลฝอยก็จะเพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว ประกอบกับมีการพัฒนา อุตสาหกรรมอย่างรวดเร็ว ก็ยิ่งทาให้มีขยะมูลฝอยใหม่ ๆ เกิดขึ้นมากมาย ขยะมูลฝอยเหล่านี้มีทั้งขยะมูล ฝอยทั่วไปและของเสียอันตราย แต่ละประเภทมีลักษณะแตกต่างกัน ขยะเป็นสิ่งที่เหลือใช้ หรือสิ่งที่ไม่ ต้องการอีกต่อไป สามารถแบ่งตามแหล่งกาเนิดได้ดังนี้ (เทศบาลเมืองทุ่งสง, 2553) 1. ของเสียจากอุตสาหกรรม ของเสียอันตรายทั่วประเทศไทยร้อยละ 73 มาจากระบบ อุตสาหกรรมส่วนใหญ่ยังไม่มีการจัดการที่เหมาะสมโดยทิ้งกระจายอยู่ตามสิ่งแวดล้อมและทิ้งร่วมกับมูล
  • 4. ฝอย รัฐบาลได้ ก่อตั้งศูนย์กาจัดกากอุตสาหกรรมขึ้นแห่งแรกที่แขวงแสมดา เขตบางขุนเทียน เริ่มเปิด บริการตั้งแต่ 2531 ซึ่งก็เพียงสามารถกาจัดของเสียได้บางส่วน 2. ของเสียจากโรงพยาบาลและสถานที่ศึกษาวิจัย ของเสียจากโรงพยาบาลเป็นของเสียอันตราย อย่างยิ่ง เช่น ขยะติดเชื้อ เศษอวัยวะจากผู้ป่วย และการรักษาพยาบาล รวมทั้งของเสียที่ปนเปื้อนสาร กัมมันตรังสี สารเคมี ได้ทิ้งสู่สิ่งแวดล้อมโดยปะปนกับมูลฝอย สิ่งปฏิกูลเป็นการเพิ่มความเสี่ยงในการ แพร่กระจายของเชื้อโรคและสารอันตราย 3. ของเสียจากภาคเกษตรกรรม เช่น ยาฆ่าแมลง ปุ๋ย มูลสัตว์ น้าทิ้งจากการทาปศุสัตว์ ฯลฯ 4. ของเสียจากบ้านเรือนแหล่งชุมชน เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่ แก้ว เศษอาหาร พลาสติก โลหะ หินไม้ กระเบื้อง หนัง ยาง ฯลฯ 5. ของเสียจากสถานประกอบการในเมือง เช่น ภัตตาคาร ตลาดสด วัด สถานเริงรมย์ 3. องค์ประกอบที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขยะมูลฝอย ปริมาณและลักษณะของขยะมูลฝอยขึ้นอยู่กับปัจจัยต่อไปนี้ (เทศบาลเมืองทุ่งสง,ออนไลน์, 2553) 1. ลักษณะชุมชนหรือที่ตั้งของท้องถิ่น ชุมชนการค้า (ตลาด ศูนย์การค้า) จะมีปริมาณขยะมูล ฝอยมากกว่าชุมชนที่อยู่อาศัย ส่วนบริเวณเกษตรกรรม จะมีปริมาณขยะมูลฝอยอีกรูปแบบหนึ่ง 2. ความหนาแน่นของประชากรในชุมชน บริเวณที่อยู่อาศัยหนาแน่นปริมาณขยะเก็บมากกว่า บริเวณที่มีประชากรอาศัยอยู่น้อย เช่น บริเวณ แฟลต คอนโดมิเนียม ทาวน์เฮาส์ ซึ่งมีผู้อยู่อาศัยหลาย ครอบครัว ปริมาณขยะมีมาก 3. ฤดูกาล มีผลต่อการเปลี่ยนปลงของปริมาณขยะเป็นอย่างมาก เช่น ฤดูที่ผลไม้มาก ปริมาณ ขยะมูลฝอยจาพวกเปลือก เม็ดของผลไม้จะมีมาก เพราะเหลือจากการบริโภคของประชาชน ถ้าผลไม้ยิ่ง ออกสู่ตลาดเป็นจานวนมาก ยิ่งทาให้มีเปลือกและเศษผลไม้ทิ้งมากในปีนั้น 4. สภาวะเศรษฐกิจ ชุมชนที่มีฐานะดี ย่อมมีกาลังซื้อสินค้าสูงกว่าชุมชนที่มีฐานะเศรษฐกิจต่า จึงมีขยะมูลฝอยมากตามไปด้วย ชุมชนที่มีฐานะเศรษฐกิจดี จะมีขยะมูลฝอยจากบรรจุภัณฑ์ เช่น กล่อง กระป๋อง โฟม ถุงพลาสติก ส่วนพวกฐานะที่ไม่ดีมักเป็นเศษอาหาร เศษผัก 5. อุปนิสัยของประชาชนในชุมชน ประชาชนที่มีอุปนิสัยรักษาความสะอาด เป็นระเบียบ เรียบร้อยจะมีปริมาณขยะมูลฝอยในการเก็บขนมากกว่าประชาชนที่มีอุปนิสัยมักง่ายและไม่เป็นระเบียบ ซึ่งจะทิ้งขยะมูลฝอยกระจัดกระจาย ไม่รวบรวมเป็นที่เป็นทาง ปริมาณขยะมูลฝอยที่จะเก็บขนจึงน้อยลง แต่ไปมากอยู่ตามลาคลอง ถนนสาธารณะ ถนน ที่สาธารณะ เป็นต้น ตัวแปรอีก ตัวหนึ่งคือ พฤติกรรมการบริโภคและค่านิยมของคนแต่ละกลุ่ม มีผลต่อลักษณะของขยะมูลฝอย เช่น กลุ่ม วัยรุ่นนิยมอาหารกระป๋อง น้าขวด อาหารใส่โฟม พลาสติก กล่องกระดาษ 6. การจัดการบริการเก็บขยะมูลฝอย องค์ประกอบนี้ก็เป็นผลอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลง ปริมาณขยะมูลฝอย ถ้าบริการเก็บขยะมูลฝอยไม่สม่าเสมอประชาชนก็ไม่กล้านาขยะมูลฝอยออกมา ความ ไม่สะดวกในการจัดเก็บขยะมูลฝอย เพราะรถขนขยะมูลฝอยไม่สามารถเข้าชุมชนได้ เนื่องจากถนนหรือ
  • 5. ตรอก ซอยแคบมาก ต้องใช้ภาชนะขนถ่ายอีกทอดหนึ่ง ก็ทาให้ปริมาณขยะมูลฝอยเหลือจากการเก็บอีก มาก 7. ความเจริญของอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี เนื่องจากคนบริโภคอาหารสาเร็จรูปกันมากขึ้น ทั้งภาชนะฟุ่มเฟือย ขวด กระป๋อง กล่อง ถุงพลาสติก ฯลฯ กันมาก 4. ปริมาณขยะมูลฝอยในประเทศไทย ขยะมูลฝอย ในปี 2552 คาดว่าทั่วประเทศมีขยะมูลฝอยเกิดขึ้นประมาณ 15 ล้านตันหรือวันละ 41,240 ตัน ซึ่งใกล้เคียงกับปี 2551 โดยเขตกรุงเทพมหานคร (กทม.) มีปริมาณขยะมูลฝอยประมาณวัน ละ 8,900 ตัน (ร้อยละ 21) (ประมาณการจากการเก็บขนของกรุงเทพมหานคร เดือนมกราคม - กันยายน 2552) ในเขตเทศบาลเมืองและเมืองพัทยามีประมาณวันละ 15,560 ตัน (ร้อยละ 38) และใน เขตองค์การบริหารส่วนตาบล ประมาณวันละ 16,780 ตัน (ร้อยละ 41) ขยะมูลฝอยทั่วประเทศได้รับการ กาจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการประมาณ 17,645 ตันต่อวัน หรือ ร้อยละ 43 ของปริมาณ ขยะมูลฝอยทั่วประเทศ การใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย ในปี 2552 คาดว่าจะมีขยะมูลฝอยนากลับมาใช้ประโยชน์ ประมาณ 3.5 ล้านตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 23 ของปริมาณขยะมูลฝอยทั่วประเทศ (ประมาณการจาก ข้อมูลเดือนมกราคม - กันยายน 2552) โดยร้อยละ 90 เป็นเศษแก้ว กระดาษ เหล็ก อลูมิเนียม ร้อยละ 7 เป็นการนาขยะอินทรีย์ และร้อยละ 3 เป็นการนาขยะมูลฝอยมาผลิตพลังงานไฟฟ้าและ เชื้อเพลิงทดแทน (กรมควบคุมมลพิษ, 2552, ธันวาคม) 5. ปริมาณขยะมูลฝอยในภาคตะวันออก ตารางที่ 1 แสดงปริมาณขยะมูลฝอย อัตราการผลิตและประสิทธิภาพการเก็บขนขยะมูลฝอยของ เทศบาล 98 แห่งในเขตพื้นที่ภาคตะวันออก จังหวัด ประชากร จานวน เทศบาล ปริมาณ ขยะที่ เกิดขึ้น (ตัน/ วัน) ปริมาณขยะ ที่เก็บได้ (ตัน/ วัน) ประสิทธิ ภาพการ เก็บขน(%) อัตราการ ผลิตขยะ (กก./ คน/วัน) ทะเบียน ราษฎร แฝง ชลบุรี 573,828 3,349,000 27 915.40 870.00 95 0.85 ตราด 52,626 64,297 9 49.00 49.00 100 0.41 จันทบุรี 154,977 80,605 16 175.70 161.65 92 0.74 ระยอง 206,403 132,800 16 314.50 287.25 91 0.92 สระแก้ว 66,495 29,270 8 82.00 76.00 93 0.85 ฉะเชิงเทรา 125,581 71,167 22 198.20 190.35 96 1.00 รวม 1,179,91 0 3,727,139 98 1,734.80 1,634.25 94.20 0.35
  • 6. ที่มา: สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 13 (ชลบุรี), 2548 6. ปริมาณขยะมูลฝอยในจังหวัดชลบุรี ตารางที่ 2 แสดงปริมาณขยะมูลฝอยรวมจังหวัดชลบุรี ข้อมูล ในเขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล รวมทั้งหมด จานวน ตัน/ วัน ร้อยละ จานวน ตัน/ วัน ร้อยละ จานวน ตัน/ วัน ร้อยละ ปริมาณขยะมูลฝอยรวม 803.35 100.00 518.26 100.00 1,321.61 100.00 ปริมาณขยะมูลฝอยที่ เก็บได้ 723.15 90.02 445.70 86.00 1,168.85 88.44 ปริมาณขยะมูลฝอยที่ ตกค้าง 80.20 9.98 72.56 14.00 152.76 11.56 ที่มา: สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 13 (ชลบุรี), 2549 องค์ประกอบของขยะมูลฝอยจังหวัดชลบุรี ตารางที่ 3 แสดงองค์ประกอบของขยะมูลฝอยจังหวัดชลบุรี ประเภทของขยะมูลฝอย ร้อยละโดยน้าหนัก มูลฝอยเปียก (เศษอาหารสด) 59.68 กระดาษ 7.41 พลาสติก 18.85 เศษผ้า 2.29 แก้ว 3.36 โลหะ 2.78 ไม้ 0.77 หนัง/ ยาง 0.59 อื่น ๆ 4.01 รวมทั้งหมด 100.00 ที่มา: กรมควบคุมมลพิษ, 2547 7. ผลกระทบจากขยะมูลฝอยต่อสิ่งแวดล้อม ขยะมูลฝอยก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์หลายประการ ดังต่อไปนี้คือ(เทศบาลเมืองทุ่งสง, 2553)
  • 7. 1. เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลง และพาหะของโรค เนื่องจากเชื้อจุลินทรีย์ที่ปนเปื้อนมากับ ขยะมูลฝอยมีโอกาสที่จะขยายพันธุ์เพิ่มจานวนมากยิ่งขึ้นได้ เพราะขยะมูลฝอยมีทั้งความชื้นและ สารอินทรีย์ที่จุลินทรีย์ใช้เป็นอาหาร ขยะพวกอินทรีย์สารที่ทิ้งค้างไว้ จะเกิดการเน่าเปื่อยกลายเป็นแหล่ง เพาะพันธุ์ของแมลงวัน นอกจากนั้นพวกขยะที่ปล่อยทิ้งไว้นาน ๆ จะเป็นที่อยู่อาศัยของหนู โดยหนูจะเข้า มาทารังขยายพันธุ์ เพราะมีทั้งอาหารและที่หลบซ่อน ดังนั้นขยะที่ขาดการเก็บรวบรวม และการกาจัด จึง ทาให้เกิดเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ที่สาคัญของเชื้อโรค แมลงวัน หนู แมลงสาบ ซึ่งเป็นพาหะนาโรคมาสู่คน 2. เป็นบ่อเกิดของโรค เนื่องจากการเก็บรวบรวมและการกาจัดขยะมูลฝอยไม่ดี หรือปล่อยปละ ละเลยทาให้มีขยะมูลฝอยเหลือทิ้งค้างไว้ในชุมชน จะเป็นบ่อเกิดของเชื้อโรคต่าง ๆ เช่น ตับอักเสบ เชื้อ ไทฟอยด์ เชื้อโรคเอดส์ ฯลฯ เป็นแหล่งกาเนิดและอาหารของสัตว์ต่าง ๆ ที่เป็นพาหะนาโรคมาสู่คน เช่น แมลงวัน แมลงสาบ และหนู เป็นต้น 3. ก่อให้เกิดความราคาญ ขยะมูลฝอย การเก็บรวบรวมได้ไม่หมดก็จะเกิดเป็นกลิ่นรบกวน กระจายอยู่ทั่วไปในชุมชน นอกจากนั้นฝุ่นละอองที่เกิดจากการเก็บรวบรวมการขนถ่าย และการกาจัดขยะ ก็ยังคงเป็นเหตุราคาญที่มักจะได้รับการร้องเรียนจากประชาชนในชุมชนอยู่เสมอ อีกทั้งอุดจาดตาน่า ขยะแขยง 4. ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ขยะมูลฝอยเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดมลพิษของน้า มลพิษของดิน และมลพิษของอากาศ เนื่องจากขยะส่วนที่ขาดการเก็บรวบรวม หรือไม่นามากาจัดให้ถูกวิธี ปล่อยทิ้งค้างไว้ในพื้นที่ของชุมชน เมื่อมีฝนตกลงมาจะไหลชะนาความสกปรก เชื้อโรค สารพิษจากขยะ ไหลลงสู่แหล่งน้า ทาให้แหล่งน้าเกิดเน่าเสียได้ และนอกจากนี้ขยะมูลฝอยยังส่งผลกระทบต่อคุณภาพดิน ซึ่งจะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับคุณลักษณะของขยะมูลฝอย ถ้าขยะมีซากถ่านไฟฉาย ซากแบตเตอรี่ ซาก หลอดฟลูออเรสเซนต์มาก ก็จะส่งผลต่อปริมาณโลหะหนักพวกปรอท แคดเมียม ตะกั่ว ในดินมาก ซึ่งจะ ส่งผลเสียต่อระบบนิเวศน์ในดิน และสารอินทรีย์ในขยะมูลฝอยเมื่อมีการย่อยสลาย จะทาให้เกิดสภาพ ความเป็นกรดในดิน และเมื่อฝนตกมาชะกองขยะมูลฝอยจะ ทาให้น้าเสียจากกองขยะมูลฝอยไหล ปนเปื้อนดินบริเวณรอบ ๆ ทาให้เกิดมลพิษของดินได้ การปนเปื้อนของดิน ยังเกิดจากการนามูลฝอยไปฝัง กลบ หรือการยักยอกนาไปทิ้งทาให้ของเสียอันตรายปนเปื้อนในดิน ถ้ามีการเผาขยะมูลฝอยกลางแจ้งทา ให้เกิดควันมีสารพิษทาให้คุณภาพของอากาศเสีย ส่วนมลพิษทางอากาศจากขยะมูลฝอยนั้น อาจเกิดขึ้น ได้ทั้งจากมลสารที่มีอยู่ในขยะและพวกแก๊สหรือไอระเหย ที่สาคัญก็คือ กลิ่นเหม็นที่เกิดจากการเน่าเปื่อย และสลายตัวของอินทรีย์สารเป็นส่วนใหญ่ 5. ทาให้เกิดการเสี่ยงต่อสุขภาพ ขยะมูลฝอยที่ทิ้งและรวบรวมโดยขาดประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งขยะมูลฝอยพวกของเสียอันตราย ถ้าขาดการจัดการที่เหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบต่อ สุขภาพของประชาชนได้ง่าย เช่น โรคทางเดินอาหารที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่มีแมลงวันเป็นพาหะ หรือ ได้รับสารพิษที่มากับของเสียอันตราย
  • 8. 6. เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ ขยะมูลฝอยปริมาณมาก ๆ ย่อมต้องสิ้นเปลืองงบประมาณใน การจัดการเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ผลกระทบจากขยะมูลฝอยไม่ว่าจะเป็นน้าเสีย อากาศเสีย ดินปนเปื้อนเหล่านี้ย่อมส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ 7. ทาให้ขาดความสง่างาม การเก็บขนและกาจัดที่ดีจะช่วยให้ชุมชนเกิดความสวยงาม มี ความเป็นระเบียบเรียบร้อยอันส่อแสดงถึงความเจริญและวัฒนธรรมของชุมชน ฉะนั้นหากเก็บขนไม่ดี ไม่ หมด กาจัดไม่ดี ย่อมก่อให้เกิดความไม่น่าดู ขาดความสวยงาม บ้านเมืองสกปรก และความไม่เป็นระเบียบ ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 8. ปัญหาจากสภาพสิ่งแวดล้อมขยะมูลฝอย ขยะมูลฝอย เป็นตัวการสาคัญประการหนึ่ง ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม เมื่อมีขยะมูลฝอย จานวนมาก แต่ชุมชนไม่สามารถเก็บขนและกาจัดขยะมูลฝอยได้อย่างหมดจดหรือจัดการขยะมูลฝอย อย่างไม่ถูกสุขลักษณะ ดังนั้นขยะมูลฝอยจึงเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ดังนี้ คือ (เทศบาลเมืองทุ่งสง, 2553) 1. อากาศเสีย เกิดจากการเผาขยะมูลฝอยกลางแจ้ง ก่อให้เกิดควันและสารพิษทางอากาศทาให้ คุณภาพอากาศเสื่อมโทรม 2. น้าเสีย เกิดจากกองขยะมูลฝอยบนพื้น เมื่อฝนตกลงมาบนกองขยะมูลฝอยจะเกิดน้าเสีย มี ความสกปรกมาก ซึ่งจะไหลลงสู่แหล่งน้า ทาให้เกิดภาวะมลพิษของแหล่งน้า 3. แหล่งพาหะนาโรค เกิดจากการกองขยะมูลฝอยบนพื้นเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและ แมลงวัน เป็นต้น ซึ่งเป็นพาหะนาโรคติดต่อทาให้มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน 4. เหตุราคาญและความไม่น่าดู เกิดจากการเก็บขนขยะมูลฝอยไม่หมด รวมทั้งการกองขยะมูล ฝอยบนพื้นซึ่งจะส่งกลิ่นเหม็นรบกวนประชาชนและเกิดภาพไม่สวยงาม ไม่เป็นสุนทรียภาพ 9. สาเหตุปัญหาจากมุมมองผู้ที่เกี่ยวข้อง กรมควบคุมมลพิษ ได้สรุปสาเหตุปัญหาขยะมูลฝอย จากมุมมองผู้เกี่ยวข้อง (กรมควบคุม มลพิษ, 2552) ไว้ดังนี้ 1. ขยะมูลฝอยเพิ่มมากขึ้น และการนามารีไซเคิลยังมีอยู่อย่างจากัด 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่ให้ความสาคัญในการจัดการขยะมูลฝอย 3. หน่วยงานส่วนกลางขาดขบวนการกากับให้ท้องถิ่นดาเนินการจัดการขยะมูลฝอยให้มี ประสิทธิภาพ 4. ขาดการส่งเสริมอย่างจริงจังให้ประชาชน ชุมชนมีส่วนร่วม 5. ขาดการส่งเสริมอย่างจริงจังให้ภาคเอกชนเข้ามาดาเนินการ 10. แนวทางการแก้ไขปัญหา 10.1 เร่งรัด ให้ท้องถิ่น เทศบาล สุขาภิบาล ทุกแห่ง ทาแผนการจัดการขยะมูลฝอย ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวในการดาเนินการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่การเก็บรวบรวม การขนส่ง การ
  • 9. บาบัด และการกาจัดขั้นสุดท้าย ตลอดจนการเร่งจัดหาที่ดินสาหรับใช้กาจัดขยะมูลฝอยได้อย่างเพียงพอ ในระยะยาว และดาเนินการให้มีการกาจัดอย่างถูกสุขลักษณะ 10.2 เร่งรัด ให้มีการก่อสร้างโรงงานกาจัดขยะมูลฝอยให้ได้มาตรฐานและ มี ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เมืองศูนย์กลางความเจริญในภูมิภาค และเมืองท่องเที่ยวที่สาคัญ 10.3 ควรมีนโยบายและมาตรการ ตลอดจนแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยและ สิ่ง ปฏิกูลของประเทศเพื่อเป็นกรอบให้ท้องถิ่นนาไปดาเนินการ 10.4 ส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการลดปริมาณขยะมูลฝอย ที่ต้องเป็นภาระใน การ กาจัด - การใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีอายุการใช้งานนาน (increased product lifetime) เป็นการ พยายามเลือกใช้สินค้าที่มีความคงทนถาวร มีอายุการใช้งานนาน หากชารุดแล้วควรมีการซ่อมแซมให้ใช้ งานได้นานที่สุดก่อนที่จะทิ้งไป - ลดการบริโภค (decreased consumption) วัสดุที่กาจัดยาก หรือมีปัญหาต่อ สิ่งแวดล้อม 1) ส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการนาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ ได้แก่ การ นาทรัพยากรจากขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ (material recovery) และนามาผลิตเป็น พลังงานเป็น พลังงาน (energy recovery) เป็นการนาขยะมูลฝอยที่มีทรัพยากรหลายอย่างมาผ่านกระบวนการ ทาให้ เกิดประโยชน์ เช่น การนามาทาปุ๋ย นามาเผาเพื่อให้ได้พลังงานความร้อน 2) สนับสนุน ให้มีการปลูกฝังทัศนคติ และสร้างค่านิยมของประชาชนในการร่วมมือ รักษาความสะอาด โดยให้มีการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล ในระดับประชาชนทั่วไป และในหลักสูตรการเรียนการสอน และให้มีการประชาสัมพันธ์และรณรงค์อย่างต่อเนื่อง โดยสื่อทุก ประเภท 3) เร่งดาเนินการปรับปรุง แก้ไข กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ให้เอื้ออานวยต่อ การดาเนินงานมากขึ้น รวมทั้งเข้มงวดให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายมากขึ้นและจริงจัง 4) ในด้านขยะมูลฝอยติดเชื้อ จาเป็นต้องเร่งแก้ไขเพราะปัจจุบันปริมาณเพิ่มมากขึ้นและ ยังขาดการจัดการที่ถูกต้อง โดยการให้สถานพยาบาลและโรงพยาบาลทั้งรัฐและเอกชนมีส่วนร่วม รับผิดชอบจัดการ ดังนี้ - การเตรียมขยะมูลฝอยติดเชื้อเพื่อรอการบาบัด ขยะมูลฝอยติดเชื้อควรจะได้มีการฆ่า เชื้อก่อนด้วยน้ายาฆ่าเชื้อโรค ก่อนบรรจุในถุงสีแดงที่เตรียมไว้ - การเก็บขนและขนส่งไปกาจัด ควรใช้รถที่เป็นระบบปิดทั้งหมดในการขน เพื่อ ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ และเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานจาเป็นต้องมีอุปกรณ์ในการป้องกันโดยเฉพาะ บุคคล
  • 10. - วิธีการกาจัดในขณะนี้ยังไม่เหมาะสม เพราะใช้วิธีฝังและการเผาที่ไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากขาดงบประมาณ ควรจะได้มีการร่วมมือกันระหว่างสถานพยาบาลทั้งของรัฐและเอกชนได้ช่วยกัน จัดสร้างระบบบาบัดให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย การวางแผนจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยที่ จะต้องส่งเข้าไปทาลายด้วยระบบต่าง ๆ ให้น้อยที่สุด สามารถนาขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ทั้งในส่วนของ การใช้ซ้าและแปรรูปเพื่อใช้ใหม่ (reuse & recycle) รวมถึงการกาจัดที่ได้ผลพลอยได้ เช่น ปุ๋ยหมัก หรือ พลังงาน โดยสรุปวิธีการดาเนินการตามแนวทางของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ดังนี้คือ (สานักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2552) 1. การลดปริมาณขยะมูลฝอย (Reduce) การลดปริมาณขยะมูลฝอยสามารถทาได้ดังนี้ 1) การพยายามลดปริมาณขยะมูลฝอยที่อาจเกิดขึ้น เช่น ใช้สินค้าที่มีความคงทนถาวร และ มีอายุการใช้งานนาน หรือ เลือกใช้สินค้าชนิดเติม 2) การลดปริมาณวัสดุเป็นการพยายามเลือกใช้สินค้าที่บรรจุในบรรจุภัณฑ์ที่มีขนาดใหญ่ แทนบรรจุภัณฑ์ที่มีขนาดเล็ก เพื่อลดปริมาณของบรรจุภัณฑ์ที่จะกลายเป็นขยะมูลฝอย 2. การนามาใช้ซ้า โดยการนาขยะมูลฝอยเศษวัสดุมาใช้ใหม่อีก หรือเป็นการใช้ซ้า ใช้แล้วใช้ อีก ๆ เช่น ขวดน้าหวาน นามาบรรจุน้าดื่ม ขวดกาแฟที่หมดแล้ว นามาใส่น้าตาล นั่นคือเป็นการพยายาม ใช้สิ่งของต่าง ๆ หลาย ๆ ครั้ง ก่อนที่จะทิ้งหรือเลือกใช้ของใหม่ 3. การนามาแก้ไข (Repair) โดยการนาวัสดุอุปกรณ์ที่ชารุดเสียหาย ซึ่งจะทิ้งเป็นมูลฝอยมา ซ่อมแซมใช้ใหม่ เช่น เก้าอี้ 4. การแปรสภาพและหมุนเวียนนากลับมาใช้ใหม่ โดยการนาวัสดุมาผ่านกระบวนการเพื่อ ผลิตเป็นสินค้าใหม่ นั่นคือการนาขยะมูลฝอยมาแปรรูปตามกระบวนการของแต่ละประเภท เพื่อนา กลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงสภาพจากเดิมแล้วนากลับมาใช้ใหม่ เช่น พลาสติก กระดาษ ขวด โลหะต่าง ๆ นากลับมาหลอมใหม่ 5. การหลีกเลี่ยงการใช้วัสดุที่ก่อให้เกิดมลพิษ โดยการหลีกเลี่ยงการใช้วัสดุที่ทาลายยาก หรือวัสดุที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง เช่น โฟม ปฏิเสธการใช้ผลิตภัณฑ์ที่ย่อยสลายยาก หลีกเลี่ยงการใช้ที่ผิด วัตถุประสงค์ หลักเกณฑ์ มาตรฐาน ภาชนะรองรับขยะมูลฝอย (กรมควบคุมมลพิษ, 2550)
  • 11. 1. ภาชนะรองรับขยะมูลฝอย 1.1 ถังขยะ เพื่อให้การจัดเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและลด การ ปนเปื้อนของขยะมูลฝอยที่มีศักยภาพในการนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่จะต้องมีการตั้งจุดรวบรวมขยะมูล ฝอย (Station) และให้มีการแบ่งแยกประเภทของถังรองรับขยะมูลฝอยตามสีต่าง ๆ โดยมีถุงบรรจุภายใน ถังเพื่อสะดวกและไม่ตกหล่น หรือแพร่กระจาย ดังนี้ ภาพที่ 1 แสดงถังขยะสีเขียว ถังขยะสีเขียว รองรับขยะที่เน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว สามารถนามาหมักทาปุ๋ยได้ เช่น ผัก ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ ภาพที่ 2 แสดงถังขยะสีเหลือง ถังขยะสีเหลือง รองรับขยะที่สามารถนามารีไซเคิลหรือขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ
  • 12. ภาพที่ 3 แสดงถังขยะสีเทาฝาสีส้ม ถังขยะสีเทาฝาสีส้ม รองรับขยะที่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม เช่น หลอดฟลูออเรส เซนต์ ขวดยาถ่านไฟฉายกระป๋องสีสเปรย์ กระป๋องยาฆ่าแมลง ภาชนะบรรจุสารอันตรายต่าง ๆ ภาพที่ 4 แสดงถังขยะสีฟ้า ถังขยะสีฟ้า รองรับขยะย่อยสลายไม่ได้ ไม่เป็นพิษและไม่คุ้มค่าการรีไซเคิล เช่น พลาสติกห่อ ลูกอม ซองบะหมี่สาเร็จรูปถุงพลาสติก โฟมและฟอล์ยที่เปื้อนอาหาร 1.2 ถุงขยะ ถุงขยะสาหรับแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน และจะต้องมีการคัดแยกรวบรวมใส่ถุงขยะมูล ฝอยตามสีต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ - ถุงสีเขียว รวบรวมขยะมูลฝอยที่เน่าเสีย และย่อยสลายได้เร็ว สามารถนามาหมักทาปุ๋ยได้ เช่น ผัก ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ - ถุงสีเหลือง รวบรวมขยะมูลฝอยที่สามารถนามารีไซเคิลหรือขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ อลูมิเนียม - ถุงสีแดง รวบรวมขยะมูลฝอยที่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น หลอดฟลูออ เรสเซนต์ ขวดยา ถ่านไฟฉาย กระป๋องสีสเปรย์ กระป๋องสารฆ่าแมลง ภาชนะบรรจุสารอันตรายต่าง ๆ - ถุงสีฟ้า รวบรวมขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายไม่ได้ไม่เป็นพิษและไม่คุ้มค่าการรีไซเคิล เช่น พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหมี่สาเร็จรูป ถุงพลาสติก โฟม และฟอล์ยที่เปื้อนอาหาร 2. เกณฑ์มาตรฐานภาชนะรองรับขยะมูลฝอย - ควรมีสัดส่วนของถังขยะมูลฝอยจากพลาสติกที่ใช้แล้วไม่ต่ากว่าร้อยละ 50 โดย น้าหนัก - ไม่มีส่วนประกอบสารพิษ (toxic substances) หากจาเป็นควรใช้สารเติมแต่งในปริมาณที่ น้อยและไม่อยู่ในเกณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค
  • 13. - มีความทนทาน แข็งแรงตามมาตรฐานสากล - มีขนาดพอเหมาะมีความจุเพียงพอต่อปริมาณขยะมูลฝอย สะดวกต่อการถ่ายเทขยะมูล ฝอยและการทาความสะอาด - สามารถป้องกัน แมลงวัน หนู แมว สุนัข และสัตว์อื่น ๆ มิให้สัมผัสหรือคุ้ยเขี่ยขยะมูลฝอย ได้ 3. จุดรวบรวมขยะมูลฝอยขนาดย่อม เพื่อสะดวกในการเก็บรวบรวมและประหยัด จึงต้องมีการตั้งจุดรวมรวบขยะมูลฝอยขึ้น โดยจุด รวบรวมขยะมูลฝอยจะกาหนดไว้ตามสถานที่ต่าง ๆ ได้แก่ หมู่บ้าน โรงอาหาร โรงภาพยนตร์ โดยมีภาชนะรองรับตั้งไว้เป็นจุด ๆ เช่น หมู่บ้านจัดสรร กาหนดให้จุดรวบรวม 1 จุด ต่อจานวนครัวเรือน 50 - 80 หลังคาเรือน จุดแรกจะตั้งที่ปากประตูทางเข้าหมู่บ้าน สาหรับ อพาร์ตเมนต์จะตั้งที่ ลานจอดรถ บ้านที่อยู่ในซอยจุดแรกจะตั้งหน้าปากซอย แต่ละครัวเรือนจะรวบรวมขยะมูลฝอยที่คัดแยก ได้ โดยถุงพลาสติกตามประเภทของสีต่าง ๆ มาทิ้งที่จุดรวบรวมขยะ มูลฝอย นโยบายที่เกี่ยวข้อง มาตรการและแนวทางปฏิบัติ แนวคิดการจัดการขยะมูลฝอยจากอดีตถึงปัจจุบัน กรมควบคุมมลพิษ ได้สรุปแนวคิดการจัดขยะมูลฝอยจากอดีตถึงปัจจุบัน (กรม ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, 2552) ไว้ดังนี้ 1. ขยะ คือ สิ่งอันเป็นที่น่ารังเกียจ ไม่มีใครต้องการ 2. แนวทางการจัดการขยะ คือ การเก็บรวบรวม เก็บขน และการกาจัดให้มากที่สุด และเร็ว ที่สุด (ตัวชี้วัดการทางาน คือไม่มีขยะตกค้าง และปริมาณขยะต่อหัวลดลง) 3. วิธีการจัดการขยะ คือ เน้นการลงทุนจานวนมาก ซื้อรถเก็บขน จ้างคนเก็บขน หาพื้นที่กาจัด หาเทคโนโลยีกาจัด หาเงินอุดหนุนจากส่วนกลางให้มากที่สุด (ตัวชี้วัดการทางานคือ มีพื้นที่ กาจัดขยะ) 4. ผู้รับผิดชอบการจัดการขยะ คือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่เพียงผู้เดียว 5. ไม่มีการวิเคราะห์ปัญหาเชิงบริบททางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ของพื้นที่ตนเอง 6. ใช้ความรู้การจัดการไม่สอดคล้องกับพื้นที่ของตนเอง 7. ไม่ได้มองปัญหาขยะว่าเป็นปัญหาทางสังคม มองขยะว่าเป็นความสกปรกที่ต้องกาจัด (ตัวชี้วัดการทางาน คือ การกาจัดขยะอย่างถูกหลักสุขาภิบาล) 8. ไม่ได้มีการพิจารณาผล กระทบที่เกิดขึ้นอย่างรอบด้านโดยเฉพาะความขัดแย้งของกลุ่มคนใน พื้นที่กาจัดขยะ 9. เน้นการจัดการขยะที่ปลายเหตุ ไม่ได้พิจารณาต้นทางของของการเกิดหรือ การ ป้องกันการเกิดขยะ
  • 14. 10. ขาดการเชื่อมโยงวิธีการทางานกับภาคส่วนต่าง ๆ เช่น การสร้างประโยชน์จากขยะ การ เพิ่มมูลค่าขยะ การให้ชุมชนเป็นกลไกขับเคลื่อน เป็นต้น 11. ขาดการพัฒนากลไกภาคสังคมที่จะเข้ามาช่วยในกระบวนการจัดการขยะ นโยบายที่เกี่ยวข้อง นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2540 - 2549 ได้ กาหนดเป้าหมายและแนวนโยบายการป้องกันและแก้ไขขยะมูลฝอยดังนี้ - ลดและควบคุมการผลิตขยะมูลฝอยโดยรวมไม่เกิน 1 กิโลกรัม/ คน/ วัน - ให้มีการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอย ในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ของ ปริมาณที่เกิดขึ้น - ปริมาณขยะมูลฝอยตกค้างจากบริการเก็บขน ไม่เกินร้อยละ 10 ของปริมาณที่ เกิดขึ้น - ให้ทุกจังหวัดมีแผนหลักและแผนการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะ - ให้มีการจัดการขยะมูลฝอยให้ถูกหลักสุขาภิบาล - ควบคุมการเกิดขยะมูลฝอยและส่งเสริมให้มีการนากลับไปใช้ประโยชน์ แนวนโยบายการบริหารจัดการขยะมูลฝอย แนวนโยบายการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ตามแนวคิดของกรมควบคุมมลพิษ มี ดังนี้ (กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, 2552) 1. ลดการเกิดของเสีย ใช้หลัก 5 Rs ส่งเสริม green product 2. บริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสานที่เน้นการแปรรูปเป็นพลังงาน 3. รวมกลุ่มองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บริหารจัดการขยะมูลฝอย โดยมีเอกชนร่วมดาเนินการ แนวนโยบายการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ตามแนวคิดของนายกเทศมนตรีตาบลหัวกุญแจ มี ดังนี้ (เทศบาลตาบลหัวกุญแจ , 2554) 1. จัดทาแผนยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการด้านขยะมูลฝอยของชุมชนโดยมีคาสั่งแต่งตั้ง คณะผู้ทางานที่ 2. มีการจัดประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการให้ความรู้ในการแยกขยะอย่างต่อเนื่อง หลายช่องทาง เช่น เสียงตามสาย แผ่นพับ ป้ายโฆษณา จุดประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ภายในเขตเทศบาล 3. รณรงค์ให้มีการแยกขยะในครัวเรือนทุกชุมชน เพื่อให้เกิดกระบวนการ 3 R 4. ใช้มาตรการ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น โดยการสร้าง แรงจูงใจ รักษ์โลก ลดโลกร้อน 5. ประสานงานกับองค์กรต่าง ๆ ภายในท้องถิ่น เช่น บ้าน วัด โรงเรียน ในการใช้ทรัพยากร อย่างคุ้มค่า นาขยะที่มีประโยชน์กลับมาใช้ใหม่ได้ 6. ดูแลปรับปรุงสถานที่ทิ้งขยะของท้องถิ่นให้ถูกหลักสุขาภิบาล ควบคุมไม่ให้เกิดเป็นแหล่ง เพราะเชื้อโรคได้
  • 15. 7. ให้การอบรมให้ความรู้แก่พนักงานเก็บขยะและผู้ดูแลสถานที่ทิ้งขยะให้มีความรู้ นื่องการแยก ขยะเพื่อเป็นกลุ่มคนต้นแบบ 8. ติดตามนโยบายของส่วนกลางระดับจังหวัดเกี่ยวกับงานด้านสิ่งแวดล้อม เรื่อขยะเพื่อปรับ แผนการทางานของท้องถิ่นให้เป็นแนวทางเดียวกัน 9. รวมกลุ่มองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยมีเอกสารร่วมดาเนินการ มาตรการและแนวทางปฏิบัติ กรมควบคุมมลพิษ ได้กาหนดมาตรการและแนวทางปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอยดังนี้ (กรม ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, 2552) 1. ลดการเกิดของเสีย ใช้หลัก 5 Rs ส่งเสริม green product มาตรการ 1) กรอบนโยบาย - ลดการเกิดของเสีย - ใช้หลัก 5 Rs - ส่งเสริม green product 2) เป้าหมาย คือ มีการนาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 แนวทางปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย 1) สร้างจิตสานึกให้ประชาชนลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือน และหันมานิยมใช้ สินค้าที่สามารถใช้ซ้า/ นากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ และ green product 2) สนับสนุน อปท. จัดระบบคัดแยกขยะมูลฝอยที่มีประสิทธิภาพ 3) ส่งเสริมให้ผู้ผลิต/ ผู้จาหน่ายสินค้า ลดการใช้บรรจุภัณฑ์ และจัดให้มีระบบรับคืนซาก บรรจุภัณฑ์ รวมทั้งจาหน่ายสินค้า/ บรรจุภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบจากวัสดุรีไซเคิล และวัสดุที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม 4) ส่งเสริมให้มีการจัดระบบซาเล้ง และร้านรับซื้อของเก่า 2. บริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสานที่เน้นการแปรรูปเป็นพลังงาน มาตรการ 1) กรอบนโยบาย คือ การจัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสาน 2) เป้าหมายคือ ขยะมูลฝอยได้รับการจัดการอย่างถูกหลักวิชาการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 40 แนวทางปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย 1) พัฒนาระบบเก็บรวบรวมและขนส่งขยะมูลฝอยให้สอดคล้องกับการคัดแยกขยะมูลฝอย จากอาคารบ้านเรือน/ สถานประกอบการ
  • 16. 2) สนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมกลุ่มกันเพื่อบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบ ผสมผสาน ที่มีการแปรรูปขยะมูลฝอยเป็นพลังงานทดแทน โดยจัดตั้งบริษัท หรือมอบหมายเอกชน ดาเนินการแทน 3) การไฟฟ้าฯ รับซื้อไฟฟ้า 4) ปรับปรุงกฎหมายสิ่งแวดล้อมและ/ หรือพัฒนากฎหมายเฉพาะด้านการจัดการขยะมูล ฝอย 3. รวมกลุ่มองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บริหารจัดการขยะมูลฝอย โดยมีเอกชนร่วม ดาเนินการ มาตรการ 1) กรอบนโยบาย คือ ระบบบริหารจัดการ & ศูนย์ HW 2) เป้าหมาย คือ ของเสียอันตรายชุมชนได้รับการจัดการอย่างถูกหลักวิชาการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 แนวทางปฏิบัติการจัดการขยะมูลฝอย 1) สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผลกระทบจากความเป็นอันตรายในผลิตภัณฑ์ที่ใช้แล้ว หรือของเสียอันตรายชุมชนแก่ประชาชน 2) สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์จัดการของเสียอันตรายจากชุมชนและมูลฝอยติดเชื้อ โดยภาคเอกชนร่วมดาเนินการ 3) สร้างแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการพัฒนาระบบ/ กลไกการรับคืนของเสียอันตรายชุมชน 4) วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการของเสียอันตราย/ ซาก WEEE 5) ผลักดันกฎหมายส่งเสริมการจัดการของเสียอันตรายจากผลิตภัณฑ์ใช้แล้วไปสู่การปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม 4. การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนกับวาระแห่งชาติ กรมควบคุมมลพิษ ได้กล่าวถึงการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนกับวาระแห่งชาติ (กรม ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, 2552) ไว้ดังนี้ 1) การลดการเกิดของเสียให้น้อยที่สุด (zero waste) 2) การคัดแยกและใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย (5 Rs) 3) การจัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสาน ที่มีการรวมกลุ่มองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) (clustering) 4) ระบบบริหารจัดการ และศูนย์กาจัดของเสียอันตรายจากชุมชน 5) ส่งเสริมการผลิตพลังงานจากขยะมูลฝอย (waste to energy) 6) การส่งเสริมและสนับสนุนให้เอกชนร่วมลงทุน และดาเนินการในระบบจัดการ ขยะมูลฝอย
  • 17. สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญของเทศบาลตาบลหัวกุญแจ 1. สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญของเทศบาลตาบลหัวกุญแจ 1.1 ลักษณะที่ตั้ง/ อาณาเขต และเขตการปกครอง ลักษณะที่ตั้ง เทศบาลตาบลหัวกุญแจ ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 1 ตาบลคลองกิ่ว อาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ระยะทางประมาณ 80 กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดชลบุรี ระยะทาง ประมาณ 30 กิโลเมตร และห่างจากที่ว่าการอาเภอบ้านบึง ระยะทางประมาณ 11 กิโลเมตร และมี อาณาเขตโดยรอบติดต่อกับเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตาบลคลองกิ่ว เนื้อที่ เขตการปกครอง มีพื้นที่ครอบคลุมบางส่วนของหมู่ที่ 1 ตาบลคลองกิ่ว รวมพื้นที่ทั้งสิ้นประมาณ 1.20 ตารางกิโลเมตร
  • 18. อาณาเขต เทศบาลตาบลหัวกุญแจมีอาณาเขตติดต่อกับเทศบาลฯ ข้างเคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับหมู่ที่ 8 องค์การบริหารส่วนตาบลคลองกิ่ว ทิศตะวันออก ติดต่อกับหมู่ที่ 9 องค์การบริหารส่วนตาบลคลองกิ่ว ทิศตะวันตก ติดต่อกับหมู่ที่ 2 องค์การบริหารส่วนตาบลคลองกิ่ว ทิศใต้ ติดต่อกับหมู่ที่ 1 องค์การบริหารส่วนตาบลคลองกิ่ว เขตการปกครอง เทศบาลตาบลหัวกุญแจ ประกอบด้วย 1 ตาบล คือตาบลคลองกิ่ว และมีชุมชนจานวน 6 ชุมชน ดังนี้ 1. ชุมชนประชาราษฎร์พัฒนา 2. ชุมชนพลังรวมใจ 3. ชุมชนหอมงคลโหงวเฮียงไต้ตี่ 4. ชุมชนสัมพันธ์ไมตรี 5. ชุมชนสามัคคี 6. ชุมชนหลังโรงเรียน 1.2 ภูมิประเทศ สภาพพื้นที่ของเทศบาลตาบลหัวกุญแจ โดยทั่วไปนั้นในพื้นที่หัวกุญแจจะมีลักษณะเป็น ที่ราบสูงสลับเนินเขา ชาวบ้าน ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพาะปลูกมันสาปะหลัง ทานา และ ทาไร่สิ่งที่ เกิดตามมาจึงกลายเป็นเรื่องของธุรกิจการค้าน้าตาลซึ่งเป็นผลผลิตที่ได้จากการเกษตรกรในพื้นที่ทาการ เพาะปลูกนั่นเอง เมื่อกิจการการค้าเริ่มเกิดขึ้นในพื้นที่ การค้าขายอื่นๆ จึงเกิดตามมาทาให้ตาบลคลองกิ่ว เริ่ม แปรสภาพเป็นอุตสาหกรรมมากขึ้นประกอบกับมีการอพยพถิ่นฐานเข้ามาของชนชาวลาวและชาว จีนเพิ่มขึ้นมากขึ้น 1.3 ภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบมรสุม มี 3 ฤดู คือ 1) อุณหภูมิสูงสุด 38 องศาเซลเซียส ต่าสุด 22 องศาเซลเซียส - อุณหภูมิเฉลี่ยเดือน มี.ค. - มิ.ย. 38 องศาเซลเซียส - อุณหภูมิเฉลี่ยเดือน ก.ค. - ต.ค. 35 องศาเซลเซียส - อุณหภูมิเฉลี่ยเดือน พ.ย. - ก.พ. 30 องศาเซลเซียส 2) ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยสูงสุด 196.50 มม. 3) ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยต่าสุด 96.10 มม. 2. จานวนประชากร เทศบาลตาบลหัวกุญแจ มีจานวนประชากร และจานวนครัวเรือน ดังนี้
  • 19. ตารางที่ 4 แสดงข้อมูลประชากร และจานวนครัวเรือน เทศบาลตาบลหัวกุญแจ ข้อมูล ณ 30 มิถุนายน 2554 จานวนครัว เรือน(หลัง)จานวนประชากร (คน) ชาย หญิง รวม เทศบาลตาบลหัวกุญแจ 1,571 2,305 3,876 1,668 ที่มา: สานักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตาบลหัวกุญแจ, 2554, มิถุนายน 3. ด้านเศรษฐกิจ ประชากรในเขตเทศบาลตาบลหัวกุญแจ มีรายได้เฉลี่ยต่อปี/ ครัวเรือน ประมาณ 45,000 บาท โดยมีอาชีพหลักคือเกษตรกรรม การปศุสัตว์ ค้าขาย มีบ้านให้เช่า และใช้แรงงาน โดย อาชีพแบ่งตามประเภท ดังนี้ (ข้อมูล ณ ปี 2553) - รายได้/ประชากร รายได้เฉลี่ยของประชากร 90,000บาท/คน / ปี - เกษตรกรรม 250 ครัวเรือน - สถานีบริการน้ามัน 1 แห่ง - ศูนย์การค้า/ห้างสรรพสินค้า - แห่ง - ตลาดสด 1 แห่ง - ร้านค้าทั่วไป 190 แห่ง - สถานธนานุบาล - แห่ง -โรงฆ่าสัตว์ 1 แห่ง - โรงแรม - แห่ง - ธนาคาร 2 แห่ง - สถานที่จาหน่ายอาหาร ตาม พ.ร.บ. สาธารณสุข 47 แห่ง - จานวนครัวเรือนในภาคการปศุสัตว์ 200 ครัวเรือน (เทศบาลตาบลหัวกุญแจ, 2553, รายงานแผน 3 ปี) 4. ปริมาณขยะ การจัดเก็บ และรถเก็บขนขยะ 4.1 ปริมาณขยะ และการจัดเก็บ ในพื้นที่เทศบาลตาบลหัวกุญแจ ประชาชนมีการอยู่อาศัยและประกอบกิจการไม่หนาแน่น มีการวางผังเมืองที่ดี จึงทาให้การเก็บขนขยะมูลฝอยทาได้สะดวก ทาให้เทศบาลไม่มีปริมาณขยะ ตกค้างภายในพื้นที่ โดยปัจจุบันเทศบาลมีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นประมาณวันละ
  • 20. 8-10 ตัน ขยะมูลฝอยส่วนใหญ่เป็นขยะมูลฝอยจากครัวเรือนและชุมชน สามารถเก็บขนได้จริงประมาณ วันละ 8-10 ตัน ทาให้ไม่มีขยะตกค้างในพื้นที่ ขยะที่กาจัดได้ ประมาณ วันละ 8-10 ตัน โดยนาไปฝัง กลบยังสถานที่ฝังกลบของเทศบาลตาบลหัวกุญแจ โดยการจ้างเหมาเอกชนฝังกลบแบบถูกหลัก สุขาภิบาล โดยมีค่าใช้จ่ายในการกาจัดขยะมูลฝอยเหมาจ่ายปีละ 100,000 บาท 4.2 รถเก็บขนขยะ รถยนต์ที่ใช้จัดเก็บขยะ มี 2 คัน ดังตารางที่ 5 ใช้เก็บขนขยะจริงวันละ 2 คัน คัน ละ 2เที่ยว โดยจัดเก็บขยะระหว่างเวลา 04.00 – 12.00 น. และเวลา 13.00 น.-16.00 น. ตารางที่ 5 แสดงประเภทรถ และขนาดความจุของรถบรรทุกขยะเทศบาลตาบลหัวกุญแจ รถยนต์คันที่ ประเภทรถ ขนาดความจุ (ลบ.ม.) 1 รถบรรทุกขยะแบบอัดท้าย 6 ล้อ 10 ลบ.ม. 2 รถบรรทุกขยะมูลฝอยแบบอัดท้าย 6 ล้อ 10 ลบ.ม. ที่มา: กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตาบลหัวกุญแจ (2554) งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จากการศึกษาผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือน ในเขต เทศบาลตาบลหัวกุญแจ อาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี มีดังนี้ บันเทิง เพียรค้า (2539, บทคัดย่อ) ได้ศึกษารูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนใน เขตชนบท ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนใน เขตชนบทที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ ฐานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือนการแบ่งหน้าที่ในการ จัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือน ความรู้เกี่ยวกับขยะมูลฝอยของครัวเรือนการได้รับข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับขยะมูลฝอยของครัวเรือน และการรับรู้กฎระเบียบเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนในเขตชนบทที่ระดับนัยสาคัญทาง สถิติ 0.05 ได้แก่ การแบ่งหน้าที่ในการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือน ความรู้เกี่ยวกับขยะมูลฝอยของ ครัวเรือน และการได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับขยะมูลฝอยของครัวเรือน เพลงพิณ มั่นอยู่ (2540 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อม ของคณะกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตาบลจังหวัดพะเยา ผลการศึกษาพบว่าคณะกรรมการ บริหารส่วนตาบลส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมอยู่ในเกณฑ์ปานกลางและพบว่าความรู้ เกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมขึ้นอยู่กับตัวแปร ระดับการศึกษา ระยะเวลาที่อาศัยอยู่ในท้องถิ่นและการรับรู้ ข้อมูลข่าวสารจากวารสาร/นิตยสาร การประชุมในหมู่บ้าน หอกระจายข่าว/โปสเตอร์ เจ้าหน้าที่ของรัฐ และคนในหมู่บ้านอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนการปฏิบัติเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมของ