SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
ประมวลการสอน Course Syllabus
ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๘
๑. คณะมนุษยศาสตร์ ภาควิชา ปรัชญาและศาสนา
๒. รหัสวิชา ๐๑๓๘๗๑๐๒ หมู่ ๑ ชื่อวิชา (ภาษาไทย) ปรัชญาทั่วไป
จานวนหน่วยกิต ๓ (๓-๐) (ภาษาอังกฤษ) General Philosophy
วิชาพื้นฐาน - หมวดวิชา ศึกษาทั่วไป, เลือกเสรี
วัน จันทร์, ศุกร์ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๔.๓๐ น. สถานที่ ศร. ๓ – ๒๐๕
๓. เนื้อหารายวิชา (Course Description)
ความหมาย ขอบเขตและปัญหาปรัชญา ความคิดทางปรัชญาที่สาคัญ การประยุกต์ใช้ปรัชญากับชีวิต
และสังคม
Meaning, scope and problems of philosophy. Important philosophical ideas. Application of
philosophy to life and society.
๔. วัตถุประสงค์ของวิชา
๑. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวิชาปรัชญาและสามารถบอกขอบข่ายและปัญหาสาคัญๆ ของ
ปรัชญาสาขาต่างๆ ได้
๒. เพื่อให้ผู้เรียนฝึกหัด การคิดวิพากษ์วิจารณ์ด้วยเหตุผลในเรื่องต่างๆ และรู้จักสงสัยและตั้งคาถาม
ในเรื่องต่างๆได้อย่างมีเหตุผลและสร้างสรรค์
2
๓. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักที่จะเป็นตัวของตัวเองในการคิดด้วยเหตุผล มีความเชื่อมั่นในการใช้ศักยภาพทาง
ความคิดด้วยเหตุผลของตนเองและกล้าที่จะแสดงออกมา
๔. เพื่อฝึกหัดให้ผู้เรียนเป็นคนใจกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นและเหตุผลของผู้อื่น แม้จะไม่ตรงกับ
ทรรศนะของตน
๕. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาเอาแง่คิดของปรัชญาในเรื่องต่างๆไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตหรือการ
แก้ปัญหาในชีวิตจริง หรือแม้กระทั่งการค้นพบ “จุดยืน” (โลกทัศน์) และ ความหมายของชีวิตตนเอง
๖. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้าใจปัญหาและปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้วิธีแก้ปัญหาอย่าง
สร้างสรรค์
๕. หัวข้อวิชา (Course Description)
๑. ความหมาย ลักษณะสาคัญ และสาขาของปรัชญา – ทาความรู้จักกับปรัชญา ๓ ชั่วโมง
๒. ประวัติและวิวัฒนาการความคิดทางปรัชญา ๓ ชั่วโมง
๓. อภิปรัชญา – การแสวงหาความจริงเกี่ยวกับโลกและมนุษย์
๓.๑ สสารนิยม ๓ ชั่วโมง
๓.๒ จิตนิยม ๓ ชั่วโมง
๓.๓ ธรรมชาตินิยม ๓ ชั่วโมง
๔. ญาณวิทยา – การศึกษาเกี่ยวกับ ”ความรู้” และ “ที่มาของความรู้” ของมนุษย์
๔.๑ ประสบการณ์นิยม ๓ ชั่วโมง
๔.๒ เหตุผลนิยม ๓ ชั่วโมง
๔.๓ ความรู้สึก (ศาสนาและศิลปะ) ๓ ชั่วโมง
๕. จริยศาสตร์ – คุณค่าแห่งความประพฤติของมนุษย์
๕.๑ สิ่งที่ดีและมีค่าที่สุดที่มนุษย์ควรแสวงหา – อุดมคติของชีวิต ๖ ชั่วโมง
๕.๒ ปัญหาเรื่องเกณฑ์ตัดสินทางจริยธรรม ๖ ชั่วโมง
๖. ปรัชญาชีวิต – ปรัชญาตะวันออก ๓ ชั่วโมง
๗. คุณค่าของปรัชญากับการประยุกต์ใช้กับชีวิตและสังคม ๖ ชั่วโมง
รวม ๔๕ ชั่วโมง
๖. วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
๑. การบรรยายประกอบสื่อประเภทต่างๆ เช่น ภาพยนตร์, เพลง, งานนาเสนอสร้างแรงบันดาลใจ,
เรื่องราวชีวิตของบุคคลที่น่าสนใจ, หนังสือ, บทความ และสารคดี เป็นต้น ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียน เพื่อเสริม
ให้เนื้อหาชัดเจน น่าสนใจและเป็นรูปธรรม เข้าใจง่ายยิ่งขึ้น รวมทั้งเกิดแรงบันดาลใจในการนาไปประยุกต์ใช้กับ
ชีวิต
๒. ปรัชญามีเนื้อหาเกี่ยวกับการแสวงหาคุณค่าและความหมายของชีวิต รวมทั้งมาตรฐานการวัดความดี
ความชั่ว โดยผู้สอนจะถามคาถามเกี่ยวกับอุดมคติของชีวิต และร่วมกันวิเคราะห์เหตุการณ์ทางจริยศาสตร์ที่
3
เกิดขึ้นในสังคม เพื่อให้เกิดการวิพากษ์ วิจารณ์เชิงสร้างสรรค์ และเกิดการแลกเปลี่ยนความคิดระหว่างผู้สอนและ
ผู้เรียน ทั้งในการสนทนาโต้ตอบ และการแสดงความคิดเห็นผ่านการเขียน
๓. สนับสนุนให้นิสิตศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองผ่านกิจกรรมประจาวิชาที่ผู้สอนมอบหมายตามความ
เหมาะสม
๗. อุปกรณ์สื่อการสอน
๑. การบรรยายในชั้นเรียน
๒. เอกสารประกอบการบรรยาย/ หนังสือประกอบการเรียน
๓. เครื่องฉายภาพข้ามศรีษะ
๔. Power Point
๕. บทความ,หนังสือ,วีดีทัศน์, ภาพยนตร์,เพลง,ภาพนิ่ง ฯลฯ
๖. กิจกรรมต่างๆ
๘. การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน
๑. การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ๑๐ คะแนน
๒. กิจกรรมในห้องเรียน ๑๐ คะแนน
๓. กิจกรรม “4 Stars Project” ๑๕ คะแนน
๑. การสอบปลายภาค ๖๕ คะแนน
รวม ๑๐๐ คะแนน
* เกณฑ์การให้คะแนน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม
*หมายเหตุ นิสิตจะต้องมีเวลาเรียนไม่ต่ากว่า ๘๐% (ขาดเรียนได้ไม่เกิน ๖ ครั้ง) ตามระเบียบของ
มหาวิทยาลัย เพื่อรักษาสิทธิ์ในการสอบ (ในกรณีมีเหตุจาเป็นในการขาดเรียน ให้ติดต่ออาจารย์ผู้สอน)
๙. การประเมินผลการเรียน
ใช้ทั้งการอิงเกณฑ์และอิงกลุ่มประกอบกัน โดยพิจารณาจากความเหมาะสมของ จานวน ประเภท ชั้นปี
ของนิสิตที่ลงทะเบียน
๑๐. การใช้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบและให้คาแนะนาด้านการเรียน
วันอังคาร และวันพุธ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น.
หรือ หลังเวลาเลิกเรียนของทุกคาบหรือตามเวลานัดหมาย
ห้องทางาน อาคารมนุษย์ศาสตร์ ๑ ชั้น ๕ ห้อง ๕๑๓ โทร 0 2579 6525 ต่อ 109
๑๑. หนังสืออ่านประกอบ
๑. วิทย์ วิศทเวทย์. ๒๕๔๓. ปรัชญาทั่วไป มนุษย์ โลก และความหมายของชีวิต. (พิมพ์ครั้งที่
๑๖). กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
๒. วิทย์ วิศทเวทย์. ๒๕๒๐. จริยศาสตร์เบื้องต้น. (พิมพ์รั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.
๓. โจด,ซี.อี.เอ็ม. เขียน วิทย์ วิศทเวทย์ แปล . ๒๕๑๓. ปรัชญา.กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิชย์.
4
๔. กีรติ บุญเจือ. ๒๕๑๙. ปรัชญาสาหรับผู้เริ่มเรียน. (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิช
จากัด.
๕. สุจิตรา อ่อนค้อม. ๒๕๔๕. ปรัชญาเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ ๖). กรุงเทพฯ: อักษรพิพัฒน์
๖. สมภาร พรมทา. ๒๕๔๕. มนุษย์กับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต.
(พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ศยาม.
๗. ปานทิพย์ ศุภนคร และคณาจารย์ภาควิชาปรัชญา (ม.รามคาแหง) .๒๕๔๓. ปรัชญาเบื้องต้น.
(พิมพ์ครั้งที่ ๑๓). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
๘. โยสไตน์ กอร์เดอร์ เขียน สายพิณ ศุพุทธมงคล แปล . ๒๕๔๕. โลกของโซฟี. (พิมพ์ครั้งที่ ๗).
กรุงเทพฯ: คบไฟ.
๙. พระราชวรมุนี (ประยูร ธัมมจิตโต). ๒๕๔๔. ปรัชญากรีก บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก.
(พิมพ์ครั้งที่ ๕). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ศยาม.
๑๐. สมัคร บุราวาส. ๒๕๔๔. วิชาปรัชญา. (พิมพ์ครั้งที่ ๔). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ศยาม.
๑๑. Richard Osborne. 1992. Philosophy For Beginners. New york : Writers and Readers
Publishing Incorperated.
๑๒. รายการโทรทัศน์ หนังสือ นิตยสาร ที่สร้างสรรค์และจุดประกายความคิด
และเว็บไซต์ www.philosophychicchic.com
๑๒. ตารางกิจกรรมการเรียน
**หมายเหตุ – ในแต่ละสัปดาห์จะเรียน ๒ คาบเรียน คาบเรียนละ 1ชั่วโมงครึ่ง
สัปดาห์ที่ เนื้อหา กิจกรรม
๑ บทนา - ทาความรู้จักกับ "ปรัชญา"
- ความหมาย ลักษณะทั่วไป ขอบข่าย
ประโยชน์ และ คุณค่าของปรัชญา
- ร่วมกันเสวนาในประเด็น "ปรัชญา คือ อะไร
และจะเรียนไปทาไม ?”
- แนะนากิจกรรมและงานประจาวิชา
๒. วิวัฒนาการของความคิดทางปรัชญา
- ประวัติและวิวัฒนาการ
และแนวทางการศึกษาปรัชญา
- ร่วมกันเสวนาในประเด็น "ปรัชญา :
เรื่องใกล้ตัวของชีวิต"
๓ อภิปรัชญา - ความจริงของโลกและมนุษย์
- สสารนิยม – มนุษย์คือหุ่นยนต์
- แนวคิดของนักปรัชญาที่สาคัญ
- ร่วมกันเสวนาในประเด็น "ฉันคือใคร
และฉันอยู่ที่ไหน ?" - คิดอย่างไรกับแนวคิด
สสารนิยม /จิตใจมีจริงหรือไม่
๔ อภิปรัชญา - ความจริงของโลกและมนุษย์
(ต่อ) - จิตนิยม – มนุษย์มีจิตวิญญาณ
- แนวคิดของนักปรัชญาที่สาคัญ
-กิจกรรมวิเคราะห์แนวคิดทางปรัชญาจากสื่อ
ต่างๆ – บทความ, เพลง, ข่าว และเหตุการณ์
ต่างๆในชีวิต
๕ อภิปรัชญา - ความจริงของโลกและมนุษย์
(ต่อ) - จิตนิยม / ธรรมชาตินิยม
- กิจกรรมวิเคราะห์แนวคิดทางปรัชญา
5
- วิเคราะห์ปัญหาทางอภิปรัชญา จากภาพยนตร์
๖ บทเรียนพิเศษ (๑) - คุณค่าของปรัชญากับ
การประยุกต์ใช้กับชีวิต
- Philosopy of Compass >> ปรัชญา
พาใจไปรู้จักตัวเอง
- ร่วมทากิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อค้นหาคุณค่า
และเป้าหมายชีวิต
๗ ญาณวิทยา - ทฤษฎีความรู้
- ประสบการณ์นิยม – ความรู้จาก
ประสบการณ์
- แนวคิดของนักปรัชญาที่สาคัญ
- ร่วมกันเสวนาในประเด็น "เรารู้ความจริงได้
อย่างไร ?"
๘ ญาณวิทยา - ทฤษฎีความรู้ (ต่อ)
- เหตุผลนิยม – ความรู้จากการคิดด้วย
เหตุผล
- แนวคิดของนักปรัชญาที่สาคัญ
- เสวนาร่วมกัน เรื่อง “Because of love -
ความรักเกิดจากหัวใจหรือในสมอง”
๙ ญาณวิทยา - ทฤษฎีความรู้ (ต่อ)
- ความรู้สึก – ความรู้จากความรู้สึก
- ร่วมวิเคราะห์ปรัชญาจากศาสนาและงาน
ศิลปะ
๑๐ จริยศาสตร์ - คุณค่าแห่งความประพฤติ
- ความหมายทั่วไป ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่ดีหรือ
มีค่า ที่มนุษย์ควรแสวงหา/ จุดมุ่งหมายของชีวิต
คือ อะไร?ศึกษาแนวคิดสุขนิยม และอสุขนิยม
- แนวคิดของนักปรัชญาที่สาคัญ
- กิจกรรม "ร่วมกันแสวงหาความหมาย
ของชีวิต" ผ่านภาพยนตร์
๑๑ จริยศาสตร์ - คุณค่าแห่งความประพฤติ (ต่อ)
- ศึกษาแนวคิด มนุษย์นิยม และอัตถิภาวนิยม
- ตัวอย่างแนวทางการใช้ชีวิตของบุคคลที่
น่าสนใจ
- ร่วมกันวิเคราะห์ข้อคิดที่ได้รับจาก
การชมภาพยนตร์
๑๒ จริยศาสตร์ – คุณค่าแห่งความประพฤติ (ต่อ)
- ปัญหาเกี่ยวกับเกณฑ์ตัดสินทางจริยธรรม
/ มาตรฐานการตัดสินการกระทาดี/ชั่ว
สัมบูรณนิยม และสัมพัทธนิยม
- แนวคิดของนักปรัชญาที่สาคัญ
- ร่วมกันวิเคราะห์ และวิพากษ์ปัญหาทาง
จริยศาสตร์กับสังคมยุคปัจจุบัน (๑)
๑๓ จริยศาสตร์ - คุณค่าแห่งความประพฤติ (ต่อ)
- ปัญหาเกณฑ์ตัดสินทางจริยธรรม / ปัญหาเรื่อง
หลักการกับผลที่ได้รับสิ่งใดสาคัญกว่ากัน
- ร่วมกันวิเคราะห์ และวิพากษ์ปัญหาทาง
จริยศาสตร์กับสังคมยุคปัจจุบัน (๒)
๑๔ ปรัชญาชีวิต – ปรัชญาตะวันออก
- ปรัชญาอินเดีย และ จีน
- ร่วมเรียนรู้ปรัชญาชีวิตผ่านสายธาร
ตะวันออก
6
- ความแตกต่างระหว่างปรัชญาตะวันตกและ
ปรัชญาตะวันออก
๑๕ บทเรียนพิเศษ (๒) – คุณค่าของปรัชญากับ
การประยุกต์ใช้กับสังคม
- สรุปบทเรียน
- ร่วมแลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนรู้
สอบปลายภาค
๑๓. กิจกรรมหลักประจาวิชา ( TERM PAPER )
- กิจกรรม 4 Stars Project >> เป็นกิจกรรมกลุ่ม ที่ให้นิสิตเลือกศึกษา ค้นคว้า และนาเสนอ
ประเด็นทางปรัชญาที่นิสิตสนใจ ผ่านงานนาเสนอที่สร้างสรรค์ และเป็นแรงบันดาลใจ โดยเลือกประเด็นจากดาว
๔ ดวงแห่งฟากฟ้าปรัชญา คือ ความจริง ความรู้ ความดี และความงาม
(รายละเอียดกิจกรรม รอติดตามจากอาจารย์ผู้สอน)
๑๔. ผู้สอน
อาจารย์ ดร. สรณีย์ สายศร
ปรัชญาคณะมนุษยศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์มีปรัชญาการจัดการศึกษาที่เสริมสร้างบุคคลให้เป็นคนที่สมบูรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
มีความเจริญทางสติปัญญา คุณค่าของจิตใจ การใช้วิจารณญาณอย่างรอบคอบ และปรับตัวได้อย่างเหมาะสม
ปณิธานคณะมนุษยศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์ มีปณิธานในการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ เพียบพร้อมด้วยความรู้ทางวิชาการ และ
วิชาชีพที่ทันสมัย มีความใฝ่รู้ มีความคิดวิเคราะห์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตลอดจนเป็นบัณฑิตที่มีจริยธรรม
คุณธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีแก่สังคม และดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
............................................................

More Related Content

More from Padvee Academy

ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม Padvee Academy
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
 

แผนการสอนวิชาปรัชญาทั่วไป ภาคต้น ปี 58

  • 1. 1 ประมวลการสอน Course Syllabus ภาคต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๑. คณะมนุษยศาสตร์ ภาควิชา ปรัชญาและศาสนา ๒. รหัสวิชา ๐๑๓๘๗๑๐๒ หมู่ ๑ ชื่อวิชา (ภาษาไทย) ปรัชญาทั่วไป จานวนหน่วยกิต ๓ (๓-๐) (ภาษาอังกฤษ) General Philosophy วิชาพื้นฐาน - หมวดวิชา ศึกษาทั่วไป, เลือกเสรี วัน จันทร์, ศุกร์ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๔.๓๐ น. สถานที่ ศร. ๓ – ๒๐๕ ๓. เนื้อหารายวิชา (Course Description) ความหมาย ขอบเขตและปัญหาปรัชญา ความคิดทางปรัชญาที่สาคัญ การประยุกต์ใช้ปรัชญากับชีวิต และสังคม Meaning, scope and problems of philosophy. Important philosophical ideas. Application of philosophy to life and society. ๔. วัตถุประสงค์ของวิชา ๑. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวิชาปรัชญาและสามารถบอกขอบข่ายและปัญหาสาคัญๆ ของ ปรัชญาสาขาต่างๆ ได้ ๒. เพื่อให้ผู้เรียนฝึกหัด การคิดวิพากษ์วิจารณ์ด้วยเหตุผลในเรื่องต่างๆ และรู้จักสงสัยและตั้งคาถาม ในเรื่องต่างๆได้อย่างมีเหตุผลและสร้างสรรค์
  • 2. 2 ๓. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักที่จะเป็นตัวของตัวเองในการคิดด้วยเหตุผล มีความเชื่อมั่นในการใช้ศักยภาพทาง ความคิดด้วยเหตุผลของตนเองและกล้าที่จะแสดงออกมา ๔. เพื่อฝึกหัดให้ผู้เรียนเป็นคนใจกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นและเหตุผลของผู้อื่น แม้จะไม่ตรงกับ ทรรศนะของตน ๕. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาเอาแง่คิดของปรัชญาในเรื่องต่างๆไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตหรือการ แก้ปัญหาในชีวิตจริง หรือแม้กระทั่งการค้นพบ “จุดยืน” (โลกทัศน์) และ ความหมายของชีวิตตนเอง ๖. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้าใจปัญหาและปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมและรู้วิธีแก้ปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ ๕. หัวข้อวิชา (Course Description) ๑. ความหมาย ลักษณะสาคัญ และสาขาของปรัชญา – ทาความรู้จักกับปรัชญา ๓ ชั่วโมง ๒. ประวัติและวิวัฒนาการความคิดทางปรัชญา ๓ ชั่วโมง ๓. อภิปรัชญา – การแสวงหาความจริงเกี่ยวกับโลกและมนุษย์ ๓.๑ สสารนิยม ๓ ชั่วโมง ๓.๒ จิตนิยม ๓ ชั่วโมง ๓.๓ ธรรมชาตินิยม ๓ ชั่วโมง ๔. ญาณวิทยา – การศึกษาเกี่ยวกับ ”ความรู้” และ “ที่มาของความรู้” ของมนุษย์ ๔.๑ ประสบการณ์นิยม ๓ ชั่วโมง ๔.๒ เหตุผลนิยม ๓ ชั่วโมง ๔.๓ ความรู้สึก (ศาสนาและศิลปะ) ๓ ชั่วโมง ๕. จริยศาสตร์ – คุณค่าแห่งความประพฤติของมนุษย์ ๕.๑ สิ่งที่ดีและมีค่าที่สุดที่มนุษย์ควรแสวงหา – อุดมคติของชีวิต ๖ ชั่วโมง ๕.๒ ปัญหาเรื่องเกณฑ์ตัดสินทางจริยธรรม ๖ ชั่วโมง ๖. ปรัชญาชีวิต – ปรัชญาตะวันออก ๓ ชั่วโมง ๗. คุณค่าของปรัชญากับการประยุกต์ใช้กับชีวิตและสังคม ๖ ชั่วโมง รวม ๔๕ ชั่วโมง ๖. วิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๑. การบรรยายประกอบสื่อประเภทต่างๆ เช่น ภาพยนตร์, เพลง, งานนาเสนอสร้างแรงบันดาลใจ, เรื่องราวชีวิตของบุคคลที่น่าสนใจ, หนังสือ, บทความ และสารคดี เป็นต้น ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เรียน เพื่อเสริม ให้เนื้อหาชัดเจน น่าสนใจและเป็นรูปธรรม เข้าใจง่ายยิ่งขึ้น รวมทั้งเกิดแรงบันดาลใจในการนาไปประยุกต์ใช้กับ ชีวิต ๒. ปรัชญามีเนื้อหาเกี่ยวกับการแสวงหาคุณค่าและความหมายของชีวิต รวมทั้งมาตรฐานการวัดความดี ความชั่ว โดยผู้สอนจะถามคาถามเกี่ยวกับอุดมคติของชีวิต และร่วมกันวิเคราะห์เหตุการณ์ทางจริยศาสตร์ที่
  • 3. 3 เกิดขึ้นในสังคม เพื่อให้เกิดการวิพากษ์ วิจารณ์เชิงสร้างสรรค์ และเกิดการแลกเปลี่ยนความคิดระหว่างผู้สอนและ ผู้เรียน ทั้งในการสนทนาโต้ตอบ และการแสดงความคิดเห็นผ่านการเขียน ๓. สนับสนุนให้นิสิตศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองผ่านกิจกรรมประจาวิชาที่ผู้สอนมอบหมายตามความ เหมาะสม ๗. อุปกรณ์สื่อการสอน ๑. การบรรยายในชั้นเรียน ๒. เอกสารประกอบการบรรยาย/ หนังสือประกอบการเรียน ๓. เครื่องฉายภาพข้ามศรีษะ ๔. Power Point ๕. บทความ,หนังสือ,วีดีทัศน์, ภาพยนตร์,เพลง,ภาพนิ่ง ฯลฯ ๖. กิจกรรมต่างๆ ๘. การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน ๑. การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ๑๐ คะแนน ๒. กิจกรรมในห้องเรียน ๑๐ คะแนน ๓. กิจกรรม “4 Stars Project” ๑๕ คะแนน ๑. การสอบปลายภาค ๖๕ คะแนน รวม ๑๐๐ คะแนน * เกณฑ์การให้คะแนน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม *หมายเหตุ นิสิตจะต้องมีเวลาเรียนไม่ต่ากว่า ๘๐% (ขาดเรียนได้ไม่เกิน ๖ ครั้ง) ตามระเบียบของ มหาวิทยาลัย เพื่อรักษาสิทธิ์ในการสอบ (ในกรณีมีเหตุจาเป็นในการขาดเรียน ให้ติดต่ออาจารย์ผู้สอน) ๙. การประเมินผลการเรียน ใช้ทั้งการอิงเกณฑ์และอิงกลุ่มประกอบกัน โดยพิจารณาจากความเหมาะสมของ จานวน ประเภท ชั้นปี ของนิสิตที่ลงทะเบียน ๑๐. การใช้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบและให้คาแนะนาด้านการเรียน วันอังคาร และวันพุธ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. หรือ หลังเวลาเลิกเรียนของทุกคาบหรือตามเวลานัดหมาย ห้องทางาน อาคารมนุษย์ศาสตร์ ๑ ชั้น ๕ ห้อง ๕๑๓ โทร 0 2579 6525 ต่อ 109 ๑๑. หนังสืออ่านประกอบ ๑. วิทย์ วิศทเวทย์. ๒๕๔๓. ปรัชญาทั่วไป มนุษย์ โลก และความหมายของชีวิต. (พิมพ์ครั้งที่ ๑๖). กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์. ๒. วิทย์ วิศทเวทย์. ๒๕๒๐. จริยศาสตร์เบื้องต้น. (พิมพ์รั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์. ๓. โจด,ซี.อี.เอ็ม. เขียน วิทย์ วิศทเวทย์ แปล . ๒๕๑๓. ปรัชญา.กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิชย์.
  • 4. 4 ๔. กีรติ บุญเจือ. ๒๕๑๙. ปรัชญาสาหรับผู้เริ่มเรียน. (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิช จากัด. ๕. สุจิตรา อ่อนค้อม. ๒๕๔๕. ปรัชญาเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ ๖). กรุงเทพฯ: อักษรพิพัฒน์ ๖. สมภาร พรมทา. ๒๕๔๕. มนุษย์กับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต. (พิมพ์ครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ศยาม. ๗. ปานทิพย์ ศุภนคร และคณาจารย์ภาควิชาปรัชญา (ม.รามคาแหง) .๒๕๔๓. ปรัชญาเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ ๑๓). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง. ๘. โยสไตน์ กอร์เดอร์ เขียน สายพิณ ศุพุทธมงคล แปล . ๒๕๔๕. โลกของโซฟี. (พิมพ์ครั้งที่ ๗). กรุงเทพฯ: คบไฟ. ๙. พระราชวรมุนี (ประยูร ธัมมจิตโต). ๒๕๔๔. ปรัชญากรีก บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก. (พิมพ์ครั้งที่ ๕). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ศยาม. ๑๐. สมัคร บุราวาส. ๒๕๔๔. วิชาปรัชญา. (พิมพ์ครั้งที่ ๔). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ศยาม. ๑๑. Richard Osborne. 1992. Philosophy For Beginners. New york : Writers and Readers Publishing Incorperated. ๑๒. รายการโทรทัศน์ หนังสือ นิตยสาร ที่สร้างสรรค์และจุดประกายความคิด และเว็บไซต์ www.philosophychicchic.com ๑๒. ตารางกิจกรรมการเรียน **หมายเหตุ – ในแต่ละสัปดาห์จะเรียน ๒ คาบเรียน คาบเรียนละ 1ชั่วโมงครึ่ง สัปดาห์ที่ เนื้อหา กิจกรรม ๑ บทนา - ทาความรู้จักกับ "ปรัชญา" - ความหมาย ลักษณะทั่วไป ขอบข่าย ประโยชน์ และ คุณค่าของปรัชญา - ร่วมกันเสวนาในประเด็น "ปรัชญา คือ อะไร และจะเรียนไปทาไม ?” - แนะนากิจกรรมและงานประจาวิชา ๒. วิวัฒนาการของความคิดทางปรัชญา - ประวัติและวิวัฒนาการ และแนวทางการศึกษาปรัชญา - ร่วมกันเสวนาในประเด็น "ปรัชญา : เรื่องใกล้ตัวของชีวิต" ๓ อภิปรัชญา - ความจริงของโลกและมนุษย์ - สสารนิยม – มนุษย์คือหุ่นยนต์ - แนวคิดของนักปรัชญาที่สาคัญ - ร่วมกันเสวนาในประเด็น "ฉันคือใคร และฉันอยู่ที่ไหน ?" - คิดอย่างไรกับแนวคิด สสารนิยม /จิตใจมีจริงหรือไม่ ๔ อภิปรัชญา - ความจริงของโลกและมนุษย์ (ต่อ) - จิตนิยม – มนุษย์มีจิตวิญญาณ - แนวคิดของนักปรัชญาที่สาคัญ -กิจกรรมวิเคราะห์แนวคิดทางปรัชญาจากสื่อ ต่างๆ – บทความ, เพลง, ข่าว และเหตุการณ์ ต่างๆในชีวิต ๕ อภิปรัชญา - ความจริงของโลกและมนุษย์ (ต่อ) - จิตนิยม / ธรรมชาตินิยม - กิจกรรมวิเคราะห์แนวคิดทางปรัชญา
  • 5. 5 - วิเคราะห์ปัญหาทางอภิปรัชญา จากภาพยนตร์ ๖ บทเรียนพิเศษ (๑) - คุณค่าของปรัชญากับ การประยุกต์ใช้กับชีวิต - Philosopy of Compass >> ปรัชญา พาใจไปรู้จักตัวเอง - ร่วมทากิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อค้นหาคุณค่า และเป้าหมายชีวิต ๗ ญาณวิทยา - ทฤษฎีความรู้ - ประสบการณ์นิยม – ความรู้จาก ประสบการณ์ - แนวคิดของนักปรัชญาที่สาคัญ - ร่วมกันเสวนาในประเด็น "เรารู้ความจริงได้ อย่างไร ?" ๘ ญาณวิทยา - ทฤษฎีความรู้ (ต่อ) - เหตุผลนิยม – ความรู้จากการคิดด้วย เหตุผล - แนวคิดของนักปรัชญาที่สาคัญ - เสวนาร่วมกัน เรื่อง “Because of love - ความรักเกิดจากหัวใจหรือในสมอง” ๙ ญาณวิทยา - ทฤษฎีความรู้ (ต่อ) - ความรู้สึก – ความรู้จากความรู้สึก - ร่วมวิเคราะห์ปรัชญาจากศาสนาและงาน ศิลปะ ๑๐ จริยศาสตร์ - คุณค่าแห่งความประพฤติ - ความหมายทั่วไป ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งที่ดีหรือ มีค่า ที่มนุษย์ควรแสวงหา/ จุดมุ่งหมายของชีวิต คือ อะไร?ศึกษาแนวคิดสุขนิยม และอสุขนิยม - แนวคิดของนักปรัชญาที่สาคัญ - กิจกรรม "ร่วมกันแสวงหาความหมาย ของชีวิต" ผ่านภาพยนตร์ ๑๑ จริยศาสตร์ - คุณค่าแห่งความประพฤติ (ต่อ) - ศึกษาแนวคิด มนุษย์นิยม และอัตถิภาวนิยม - ตัวอย่างแนวทางการใช้ชีวิตของบุคคลที่ น่าสนใจ - ร่วมกันวิเคราะห์ข้อคิดที่ได้รับจาก การชมภาพยนตร์ ๑๒ จริยศาสตร์ – คุณค่าแห่งความประพฤติ (ต่อ) - ปัญหาเกี่ยวกับเกณฑ์ตัดสินทางจริยธรรม / มาตรฐานการตัดสินการกระทาดี/ชั่ว สัมบูรณนิยม และสัมพัทธนิยม - แนวคิดของนักปรัชญาที่สาคัญ - ร่วมกันวิเคราะห์ และวิพากษ์ปัญหาทาง จริยศาสตร์กับสังคมยุคปัจจุบัน (๑) ๑๓ จริยศาสตร์ - คุณค่าแห่งความประพฤติ (ต่อ) - ปัญหาเกณฑ์ตัดสินทางจริยธรรม / ปัญหาเรื่อง หลักการกับผลที่ได้รับสิ่งใดสาคัญกว่ากัน - ร่วมกันวิเคราะห์ และวิพากษ์ปัญหาทาง จริยศาสตร์กับสังคมยุคปัจจุบัน (๒) ๑๔ ปรัชญาชีวิต – ปรัชญาตะวันออก - ปรัชญาอินเดีย และ จีน - ร่วมเรียนรู้ปรัชญาชีวิตผ่านสายธาร ตะวันออก
  • 6. 6 - ความแตกต่างระหว่างปรัชญาตะวันตกและ ปรัชญาตะวันออก ๑๕ บทเรียนพิเศษ (๒) – คุณค่าของปรัชญากับ การประยุกต์ใช้กับสังคม - สรุปบทเรียน - ร่วมแลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนรู้ สอบปลายภาค ๑๓. กิจกรรมหลักประจาวิชา ( TERM PAPER ) - กิจกรรม 4 Stars Project >> เป็นกิจกรรมกลุ่ม ที่ให้นิสิตเลือกศึกษา ค้นคว้า และนาเสนอ ประเด็นทางปรัชญาที่นิสิตสนใจ ผ่านงานนาเสนอที่สร้างสรรค์ และเป็นแรงบันดาลใจ โดยเลือกประเด็นจากดาว ๔ ดวงแห่งฟากฟ้าปรัชญา คือ ความจริง ความรู้ ความดี และความงาม (รายละเอียดกิจกรรม รอติดตามจากอาจารย์ผู้สอน) ๑๔. ผู้สอน อาจารย์ ดร. สรณีย์ สายศร ปรัชญาคณะมนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์มีปรัชญาการจัดการศึกษาที่เสริมสร้างบุคคลให้เป็นคนที่สมบูรณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มีความเจริญทางสติปัญญา คุณค่าของจิตใจ การใช้วิจารณญาณอย่างรอบคอบ และปรับตัวได้อย่างเหมาะสม ปณิธานคณะมนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มีปณิธานในการผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ เพียบพร้อมด้วยความรู้ทางวิชาการ และ วิชาชีพที่ทันสมัย มีความใฝ่รู้ มีความคิดวิเคราะห์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตลอดจนเป็นบัณฑิตที่มีจริยธรรม คุณธรรม เป็นแบบอย่างที่ดีแก่สังคม และดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ............................................................