SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน Work & Music
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 พศิน อินทรสมมุติ เลขที่ 37 ชั้น 6 ห้อง 15
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)…………………………………………………
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ……….
3………………………………….. เลขที่………
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
___การทางาน และ เพลง___________________________________________________
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
____ Work & Music ________________________________________________________
_________________________________________________________________________
ประเภทโครงงาน _____เพื่อการศึกษา_______________________________
ชื่อผู้ทาโครงงาน ___________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
ชื่อที่ปรึกษาครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ______________________________________________
ชื่อที่ปรึกษาร่วม ___________________________________________________________
ระยะเวลาดาเนินงาน __1 ภาคเรียน_____________________________________________
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในการทางาน มักจะมีหลายๆสิ่งหลายอย่างมาทาให้เราเสียสมาธิในการทางานอยู่บ่อยๆ ไม่ว่าจะเพื่อนที่นั่ง
ข้าง เสียงรบกวนต่างๆจากสิ่งรอบตัว หรือแม้แต่การที่คนเดินผ่านไปมา ก็อาจทาให้คนบางประเภทเสียสมาธิได้ ตั้ง
นั้นการที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานให้เพิ่มมากขึ้นนั้นจะต้องมีตัวช่วย ตัวช่วยนั้นก็คือ เสียงดนตรี เสียงดนตรี
สามารถช่วยเพิ่มสมาธิให้มากขึ้นได้ และยังผ่อนคลายร่างกายขณะที่เรากาลังทางานอยู่ ช่วยให้ความเครียดของเราลด
น้อยลง
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการงาน
2. เพื่อช่วยให้คนที่ไม่มีสมาธิระหว่างทางาน มีสมาธิมากขึ้น
3. เพื่อช่วยผ่อนคลายความเครียด
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
การฟังเพลงช่วยเพิ่มสมาธิได้อย่างไร
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
3
งานวิจัยจากมหาวิทยาลัย Birmingham ประเทศอังกฤษ ชี้ให้เห็นว่า ดนตรีมีบทบาทสาคัญในการช่วยให้คุณมีสมาธิ
และมีประสิทธิภาพในการทางานได้เป็นอย่างดี เพราะฉะนั้น หากคุณกาลังเบื่อที่ต้องทางานซ้าๆ นั่งเช็คอีเมล์ไป
วันๆ การลองเพิ่มเสียงดนตรีเข้าไป ก็อาจจะช่วยให้คุณทางานได้ดีและรวดเร็วขึ้นแต่ถ้างานของคุณเป็นงานที่ต้อง
ใช้สมองซะส่วนมาก การเลือกดนตรีหรือเพลงให้เหมาะสมก็อาจไม่ใช่เรื่องง่าย แต่โชคดีที่วิทยาศาสตร์ได้หา
คาตอบมาให้คุณแล้วและต่อไปนี้ก็จะเป็นประเภทของดนตรีที่จะช่วยให้คุณทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครั้ง
ต่อไปก็ลองเปิดเพลงประเภทนี้พร้อมกับนั่งทางานไปด้วย ไม่แน่ว่าคุณอาจมีสมาธิเพิ่มขึ้นอย่างน่าประหลาดใจเลย
ล่ะ!
ฟังดนตรีที่มีเสียงธรรมชาติ
นักวิจัยจาก Rensselaer Polytechnic Institute ค้นพบว่า การเพิ่มเสียงธรรมชาติเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการทางาน
จะช่วยให้คุณมีอารมณ์ที่ดีและมีสมาธิมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้กระบวนการทางความคิดทางานได้ดีขึ้น มีสมาธิ
มากขึ้น และมีความพึงพอใจในการทางานมากขึ้นด้วย ซึ่งเสียงที่นักวิจัยใช้ในการวิจัยคือเสียงน้าจากลาธาร โดยผล
ก็คือเสียงน้าจากลาธารนี้ไม่ได้ทาให้กลุ่มตัวอย่างเสียสมาธิแต่อย่างใด
ฟังเพลงที่คุณชื่นชอบ
การฟังดนตรีที่คุณชื่นชอบสามารถทาให้คุณรู้สึกดีขึ้นได้ Teresa Lesiuk ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านดนตรีบาบัด จาก
มหาวิทยาลัย Miami พบว่า การมีความชอบส่วนตัวเกี่ยวกับดนตรีเป็นเรื่องที่สาคัญ โดยเฉพาะคนที่มีทักษะในสาขา
อาชีพของตน โดยกลุ่มตัวอย่างของงานวิจัยนี้คือ บุคคลที่มักฟังเพลงที่ชื่นชอบในขณะทางาน ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้คือ
งานจะสาเร็จเร็วขึ้น อีกทั้งยังมีไอเดียในการทางานที่ดีกว่ากลุ่มคนที่ไม่ฟังอีกด้วย เนื่องจากเพลงที่ชอบสามารถทา
ให้คนอารมณ์ดีขึ้นได้นั่นเอง
Teresa กล่าวกับ The New York Times ว่า “เมื่อคุณเครียด คุณมักจะตัดสินใจทาอะไรเร็วกว่าปกติ เพราะคุณจะไม่มี
สมาธิอยู่กับสิ่งๆ นั้น และเมื่อคุณอารมณ์ดี คุณจะมองเห็นทางเลือกได้หลากหลายกว่า”
แต่ก็อย่าเพลิดเพลินกับมันเกินไป
อย่างไรก็ตาม ยังมีงานวิจัยอื่นที่แย้งว่า ดนตรีที่คุณไม่ได้รู้สึกชื่นชอบมากมายนักจะให้ผลดีกว่าดนตรีที่คุณชอบ
มากๆนักวิจัยจากมหาวิทยาลัย Fu Jen Catholic ในเมืองซินจวง ประเทศไต้หวัน ได้ศึกษาว่าความชื่นชอบในดนตรี
จะสามารถส่งผลต่อสมาธิของเราได้ โดยพบว่า เมื่อคนเราฟังเพลงที่ชอบมากๆ หรือเกลียดมากๆ ในขณะที่ทางานจะ
ทาให้เสียสมาธิได้
4
ฟังดนตรีที่ไม่มีเนื้อร้อง
งานวิจัยจาก Cambridge Sound Management พบว่า คาร้องคือสิ่งที่ทาให้เราเสียสมาธิเนื่องจากเรามักจะให้ความ
สนใจกับคาร้องมากกว่างานที่เรากาลังทาอยู่ เหมือนกับเวลาที่คุณได้ยินคนพูดนั่นแหละ คุณมักจะหยุดการทางาน
และหันไปฟังว่าเขาพูดว่าอะไร งานวิจัยของ Cambridge ในปี 2551 ชี้ว่า 48% ของคนทางาน จะถูกทาลายสมาธิได้
โดยง่ายจากคาพูด หรือการฟังคนอื่นคุยกัน คุณมักจะไม่มีสมาธิเท่าที่ควรหากคุณฟังเพลงที่มีเนื้อร้องควบคู่ไปด้วย
เพราะสมาธิของคุณมักจะไปอยู่กับเนื้อร้องมากกว่า
ดังนั้น หากคุณต้องการทางานอย่างมีประสิทธิภาพ การฟังเพลงที่ไม่มีเนื้อร้องอาจเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด
ฟังเพลงที่มีจังหวะเหมาะกับคุณ
จังหวะของเพลงสามารถเป็นตัวกระตุ้นชั้นดีได้เลยทีเดียว งานวิจัยหนึ่งของนักวิจัยชาวแคนาดาระบุว่า กลุ่มตัวอย่าง
ที่ฟังเพลงที่มีจังหวะเร็วในขณะที่ทาแบบทดสอบวัด IQ จะทาแบบทดสอบออกมาได้ดีกว่า ถ้างานของคุณต้องการ
ความกระตือรือร้น ลองฟังเพลงที่มีจังหวะเร็วๆ เช่น ดนตรีบาโรก ก็เป็นตัวเลือกที่ดี ถ้าต้องการในงานสาเร็จอย่าง
รวดเร็ว
นอกจากนี้ งานวิจัยเล็กๆ ของแพทย์รังสีวิทยา จากมหาวิทยาลัย Maryland และโรงพยาบาลHarbor รวมถึง
มหาวิทยาลัย Pennsylvania Health System ได้ข้อสรุปว่า การฟังดนตรีบาโรกจะช่วยให้งานดาเนินไปได้สะดวกขึ้น
อีกทั้งยังมีอารมณ์ที่ดีขึ้นอีกด้วย
งานวิจัยอีกชิ้นหนึ่ง จาก BMS College of Engineering ประเทศมาเลเซีย ระบุว่า การฟังดนตรีที่มีจังหวะ
ประมาณ 60 บีทต่อนาที ศัพท์ทางดนตรีจะเรียกว่า larghetto แปลว่าเพลงที่ไม่เร็วมากและค่อนข้างช้า จะช่วยลด
ความเครียดรวมถึงช่วยให้ผ่อนคลายได้อีกด้วย
ฟังเพลงที่มีระดับความดังที่พอดี
ระดับความดังของเพลงก็มีผลต่อการทางานเช่นกัน งานวิจัยจากทั้งสามมหาวิทยาลัย University of Illinois ,
University of British Columbia และ University of Virginia ได้ข้อสรุปที่ตรงกันว่า เสียงที่พอเหมาะพอดี จะช่วยให้
คนทางานมีความคิดที่สร้างสรรค์มากขึ้น ทั้งเสียงดังหรือเสียงปกติต่างมีผลทาให้ความคิดของคุณเปิดกว้างขึ้น แต่
ถ้าเสียงดังเกินไปก็อาจทาให้สมองทางานได้แย่ลงได้ด้วย
ยกตัวอย่างง่ายๆ ให้เห็นภาพ ถ้าเพลงที่คุณเปิดดังจนกลบเสียงภายนอกไปหมด นั่นแปลว่าเพลงคุณดังเกินไปแล้วล่ะ
และหากเพลงของคุณเบาจนไม่สามารถกลบเสียงบทสนทนาของคนข้างๆ คุณได้เลย ก็แปลว่าเพลงที่คุณฟังอยู่เบา
เกินไปนั่นเอง
5
เทคนิคการเรียนอันนี้ถือว่าเป็นอันที่ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่มาก คือว่า ควรจะฟังเพลงไปด้วยอ่านหนังสือไปด้วยดี
ไหม หรือว่าเปิดทีวีไปด้วยอ่านหนังสือไปด้วย ได้หรือเปล่า
จริงอยู่ที่ว่าถ้าเราอ่านหนังสืออย่างเดียวเงียบๆ เราจะมีสมาธิมากกว่า เพราะไม่มีอะไรมาทาให้เราวอกแวก แต่
เนื่องจากในปัจจุบันมีข้อมูลข่าวสารเยอะมาก และมีอะไรมาทาให้เราวอกแวกได้เยอะ ไม่ว่าจะเป็นทีวี เพลง อีเมล์
โทรศัพท์มือถือ ถึงขั้นมีงานวิจัยออกมาแล้วว่าคนในปัจจุบันนี้มีattention span หรือช่วงเวลาที่ให้ความสนใจกับสิ่ง
ใดสิ่งหนึ่ง ลดลงมากกว่าสมัยก่อนมากทีเดียว ซึ่งถ้าเราพิจารณาจากสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนตามไปตามเทคโนโลยีแล้ว
เราก็คงจะเห็นด้วยทีเดียว ลองสังเกตดูซิคะว่า เด็กๆสมัยนี้เขาจะทาอะไรแป๊ ปๆก็เปลี่ยนไปทาอีกอย่างหนึ่งแล้ว
หรือลองเปรียบเทียบกับตัวเองเมื่อก่อนดูก็ได้เมื่อก่อนม่อนว่าม่อนมีสมาธินานกว่านี้เยอะ เพราะไม่มีอะไรมาทาให้
เราวอกแวกเท่าไหร่ เดี๋ยวนี้ แป๊ ปๆก็เช็คอีเมล์ เดี๋ยวก็ฟังเพลง
มองเผินๆก็เหมือนว่าการที่เรามีสมาธิสั้นลงจะเป็นเรื่องที่แย่นะคะ แต่ม่อนมองอีกมุมหนึ่งว่ามันอาจจะเป็นทิศทางที่
คนเรากาลังเดินไปก็ได้สิ่งหนึ่งที่ทาให้ม่อนฉุกคิดมองเรื่องนี้ในอีกมุมหนึ่งก็คือ เรื่องที่อาจารย์เดวิด โรส ที่ฮาร์
วาร์ดเล่าให้ฟังเกี่ยวกับลูกชายเขา เดวิด โรสเป็นอาจารย์ที่สอนเกี่ยวกับการนาความรู้เรื่องสมองมาใช้กับ
การศึกษา เขาเล่าให้ฟังว่าภรรยาเขามาปรึกษาเรื่องลูกชายว่า ชอบอ่านหนังสือไปด้วย ฟังเพลงไปด้วย แล้วก็ยังเปิด
ทีวีทิ้งไว้พร้อมๆกันอีก เลยอยากให้เดวิดไปช่วยพูดกับลูกให้หน่อย ว่าให้เพลาๆลงบ้าง ให้อ่านหนังสืออย่างเดียว
เพราะกลัวลูกจะอ่านหนังสือไม่รู้เรื่อง ซึ่งเดวิดเองก็เห็นด้วย เมื่อเดวิดลองไปคุยกับลูกชาย ลูกชายเขาก็ตอบว่า “ผม
ก็สอบได้เกรดเอหมดทุกตัว พ่อจะเอาอะไรกับผมอีกล่ะ” ซึ่งมันก็ทาให้เราในฐานะนักการศึกษาฉุกคิดได้ว่า การ
ทางานหรืออ่านหนังสือโดยที่มีเสียงอย่างอื่นเป็นbackgroundไปด้วย ก็ไม่ใช่ว่าจะไม่ดีเสมอไป
สมองของคนเรามีความสามารถในการเลือกรับเฉพาะสิ่งกระตุ้นที่มีความสาคัญต่อเราเท่านั้น โดยสิ่งที่สาคัญนั้น
อาจจะหมายถึงสิ่งที่มีความแปลกใหม่(เพราะความแปลกใหม่ถือเป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องรู้ในการดารงชีวิต อย่างน้อยก็
ต้องรู้ว่าสิ่งที่มาใหม่นี้จะเป็นอันตรายต่อความอยู่รอดของเราหรือเปล่า) หรืออาจจะเป็นสิ่งที่เราสนใจก็ได้ เมื่อเรา
รับรู้สิ่งเหล่านั้นแล้ว เรารู้ว่าสิ่งนั้นไม่มีอันตราย หรือเราเคยชินต่อสิ่งนั้น เราก็จะไม่ค่อยรับรู้สิ่งเหล่านั้น เหมือน
อย่างเช่น ถ้าเราเปิดทีวีเรื่องซ้าๆ สมองเราจะรู้ว่ามีสิ่งกระตุ้นนั้นๆอยู่ คือ ทีวีเปิดอยู่ แต่เราไม่ได้ให้ความสนใจกับ
มันอย่างเต็มที่
การฟังเพลงหรือเปิดทีวีเวลาอ่านหนังสือไปด้วย จะคล้ายๆกับเป็น background noise คือ เราไม่ได้สนใจมันเต็มที่
แต่เราก็รู้ว่ามันมีอยู่ แล้วมันจะช่วยเวลาเราอ่านหนังสือได้อย่างไรล่ะ?
เวลาอ่านหนังสือสอบ แน่นอนว่าต้องมีบางเรื่องที่เราไม่ได้สนใจนัก แต่เราก็ต้องอ่านต้องเรียน เลี่ยงไม่ได้ เมื่อเรา
อ่านสิ่งที่เราไม่ค่อยสนใจ เราก็จะเบื่อ ทาให้เราคงสมาธิไว้ได้เพียงชั่วครู่ เราก็เบื่อ อยากหันไปหาอย่างอื่นที่สนุกกว่า
น่าพึงพอใจกว่า การที่เราเปิดเพลงที่ชอบหรือหนังที่ชอบเป็นbackgroundไว้กลับทาให้เรานั่งอยู่ติดโต๊ะอ่าน
หนังสือได้นานขึ้น แล้วก็อ่านได้นานขึ้นด้วย เพราะเรามีสิ่งที่น่าพึงพอใจทาให้เรารู้สึกไม่เบื่อ
6
อีกอย่างหนึ่งก็คือ คนเราจะมีสมาธิอยู่สองประเภทคือ แบบที่จดจ่อแน่วแน่ อันนี้เป็นแบบที่เราเอาไว้ใช้ทางาน อีก
แบบหนึ่งก็คือแบบที่คอยระแวดระวังเรื่องรอบตัว ซึ่งเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อการอยู่รอด คิดดูซะคะว่า สมัยก่อนตอนคน
ยังอยู่ป่าอยู่ถ้า ถ้ามัวแต่สนใจอะไรอย่างเดียว ไม่สนใจสิ่งรอบข้างเลย มีหวังโดนเสือจับไปกินแน่ ลองสังเกตตัวเอง
ดูก็ได้ค่ะ เวลาเราอ่านหนังสืออยู่ ถ้าไม่ได้สนุกมากๆจริงๆ เวลามีใครเดินไปเดินมา เราก็ยังเห็นอยู่ด้วยชายตา อันนี้
แหละคะที่เป็นสมาธิแบบที่สองที่คอยช่วยให้เราระมัดระวัง ซึ่งการที่เราเปิด background noise ไปด้วยเวลาทางาน
จะเป็นตัวดึงสมาธิแบบที่สองออกไปจากเรา ทาให้เราแยกสมาธิแบบที่หนึ่งมาใช้ได้ง่ายขึ้น ม่อนสังเกตตัวเองว่าพอ
เพลงไปด้วยแล้ว จะไม่ค่อยวอกแวกเท่าไหร่
ม่อนเองเคยรู้สึกแย่เวลาที่ฟังเพลงไปด้วยอ่านหนังสือไปด้วย จะพยายามไม่ฟังอะไร พยายามอ่านแบบเงียบๆ แต่พอ
ได้ฟังอาจารย์พูดให้ฉุกคิดก็ลองทาดู ลองคิดว่า ถ้าอะไรช่วยให้เราอ่านหนังสือได้นานขึ้นก็ไม่น่าจะผิด ปรากฏว่า
ได้ผลดีมากๆเลยค่ะ ไม่น่าเชื่อว่าพอฟังเพลงไปด้วย อ่านหนังสือได้เป็นชั่วโมงๆ แถมอ่านรู้เรื่องดีด้วย หรือ
แม้กระทั่งฟังเพลงไปด้วย เขียนรายงานไปด้วย ก็ยังทาให้สมองแล่นดี
แต่มีข้อแม้อยู่บ้างนะคะ ในการใช้วิธีนี้ เพราะสมองคนเราจะให้ความสนใจกับสิ่งใหม่ๆ ฉะนั้นถ้าเราเอาเพลง
ใหม่ๆหรือหนังใหม่ๆมาเปิดจะใช้ไม่ได้ผลค่ะ เราจะหันไปสนใจกับเพลงหรือหนังนั้นแทน ก็เราไม่เคยดูไม่เคยฟัง
มันก็ต้องน่าสนใจกว่าหนังสือเรียนอยู่แล้วใช่ไหมคะ และสิ่งที่จะเอามาเป็นbackground noiseก็ไม่ควรเป็นสิ่ง
กระตุ้นที่ไม่พึงปรารถนา เช่น เพลงอกหัก ก็ไม่ค่อยดีหรอกค่ะ เพราะเราจะนามันไปเชื่อมกับการอ่านหนังสือ ทาให้
รู้สึกว่าการอ่านหนังสือเป็นเรื่องเศร้าไปซะ
ทั้งนี้ทั้งนั้น เรื่องนี้ก็แล้วแต่บุคคลด้วยนะคะ ม่อนแนะว่าอยากให้เอาตัวเองเป็นตัวทดลองว่า แบบไหนทาให้เราอ่าน
หนังสือดีกว่ากัน สาหรับบางคนอาจจะต้องเงียบจริงๆถึงจะอ่านหนังสือได้(บางคนขนาดแอร์ดัง ก็อ่านไม่รู้เรื่องก็มี
นะ) แต่บางคนพอใช้background noiseเข้าช่วยแล้วจะดีขึ้น ก็ลองดูคะว่าแบบไหนดีกว่ากัน ถ้าฟังเพลงไปด้วยแล้ว
ดีกว่า ก็ลองดูว่าเพลงแบบไหนดีกับเราที่สุด
สาหรับม่อนเองมีข้อสังเกต คือ
-ถ้าเป็นเพลงภาษาต่างประเทศจะดีกว่าภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ เพราะเราฟังไม่ค่อยรู้เรื่องร้องตามไม่ได้ทาให้
ไม่เสียสมาธิในการร้องตาม หรือคิดตาม หลายๆครั้งก็เลยฟังเพลงจีนค่ะ (จะได้แอบฝึกการฟังสาเนียงจีนไปด้วยใน
ตัว)
อ่านหนังสือกับเพื่อน
-ชอบเพลงเร็วค่ะ ถ้าเพลงช้าจะหลับได้
-ไม่ค่อยชอบเปิดหนังหรือทีวีตอนอ่านหนังสือค่ะ เพราะรู้สึกว่ามันน่าสนใจเราจะคิดตาม ถึงแม้ว่าจะดูแล้วหลาย
รอบก็ตาม ม่อนเลยตัดเรื่องเปิดทีวีทิ้งไป แต่บางคนก็เปิดทีวีก็ช่วยได้นะ
7
-ม่อนใช้เพลงบรรเลงช่วยไม่ค่อยได้ผล อาจจะน่าเบื่อเกินไปสาหรับม่อน แต่ก็มีเพื่อนหลายคนใช้เพลงบรรเลง เพลง
คลาสสิก ก็ช่วยได้เหมือนกันคะ
-ม่อนจะเปิดเพลงเฉพาะเวลาที่อ่านหนังสืออะไรที่ไม่ต้องคิดมาก พอถึงเวลาที่ต้องคิดอะไรยากๆ เช่น conceptual
structureของเรื่องที่อ่าน ก็จะปิดเพลงค่ะ ตัวเราจะรู้เองว่าเมื่อไหร่ที่เรารู้สึกว่าเพลงที่เปิดมันน่าราคาญก็คือ มัน
กลายเป็นส่วนเกิน แทนที่จะเป็นตัวช่วยค่ะ ก็ให้ปิดเพลงซะ
ก็ลองดูนะคะ จะได้ค้นพบตัวเองว่า นิสัยการอ่านหนังสือของเราเป็นแบบไหน
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.เลือกหัวข้อ
2.หาข้อมูล
3.รวบรวมข้อมูล
4.ตรวจสอบข้อมูล
5บันทึกผล
6.สรุปผล
7นาเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-คอมพิวเตอร์
-เพลง
งบประมาณ
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
8
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
การทางานของสมองระหว่างฟังเพลง ได้ร็ว่าเพลงนั้นช่วยให้คนมีสมาธิขึ้นได้อย่างไร
สถานที่ดาเนินการ
บ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
ดนตรี คอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://www.sumrej.com/music-for-optimal-productivity/
http://www.unigang.com/Article/3337

More Related Content

What's hot

Presentation
PresentationPresentation
Presentationsunsumm
 
โรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้นโรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้นMathawat
 
2560 project -4
2560 project -42560 project -4
2560 project -4sinekkn
 
โครงร่างโครงงาน No.2_10
โครงร่างโครงงาน No.2_10โครงร่างโครงงาน No.2_10
โครงร่างโครงงาน No.2_10Thananchanok
 
2562 final-project 605-10
2562 final-project 605-102562 final-project 605-10
2562 final-project 605-10buakhamlungkham
 
โครงงานการทำปุ๋ยชีวภาพให้ออกกลิ่นหอม
โครงงานการทำปุ๋ยชีวภาพให้ออกกลิ่นหอมโครงงานการทำปุ๋ยชีวภาพให้ออกกลิ่นหอม
โครงงานการทำปุ๋ยชีวภาพให้ออกกลิ่นหอมSaowaluk Chaiya
 
Music therapy 614 29
Music therapy 614 29Music therapy 614 29
Music therapy 614 29Naphat Ming
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Daranpop Doungdetch
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41Benz 'ExTreame
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41Benz 'ExTreame
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project asirwa04
 
แบบเสนอ
แบบเสนอแบบเสนอ
แบบเสนอChapa Paha
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจAnnop Phetchakhong
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ssuser8b423e
 
ความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมา
ความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมาความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมา
ความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมาThanakorn Intrarat
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์sensehaza
 
2562 final-project pitsunan.Thiti
2562 final-project pitsunan.Thiti2562 final-project pitsunan.Thiti
2562 final-project pitsunan.ThitiBaiboonfanjackyjack
 

What's hot (19)

Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
โรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้นโรคสมาธิสั้น
โรคสมาธิสั้น
 
2560 project -4
2560 project -42560 project -4
2560 project -4
 
โครงร่างโครงงาน No.2_10
โครงร่างโครงงาน No.2_10โครงร่างโครงงาน No.2_10
โครงร่างโครงงาน No.2_10
 
2562 final-project 605-10
2562 final-project 605-102562 final-project 605-10
2562 final-project 605-10
 
2559 project
2559 project2559 project
2559 project
 
โครงงานการทำปุ๋ยชีวภาพให้ออกกลิ่นหอม
โครงงานการทำปุ๋ยชีวภาพให้ออกกลิ่นหอมโครงงานการทำปุ๋ยชีวภาพให้ออกกลิ่นหอม
โครงงานการทำปุ๋ยชีวภาพให้ออกกลิ่นหอม
 
Music therapy 614 29
Music therapy 614 29Music therapy 614 29
Music therapy 614 29
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
 
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
โครงงานคอม ห้อง 6 เลขที่ 2,41
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
แบบเสนอ
แบบเสนอแบบเสนอ
แบบเสนอ
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
ความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมา
ความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมาความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมา
ความขี้เกียจจงออกไปเอาความขยันกลับคืนมา
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project pitsunan.Thiti
2562 final-project pitsunan.Thiti2562 final-project pitsunan.Thiti
2562 final-project pitsunan.Thiti
 

Similar to Asd (20)

แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
2560 project1
2560 project1 2560 project1
2560 project1
 
ภาณุวัฒน์ แก้ววงค์
ภาณุวัฒน์ แก้ววงค์ภาณุวัฒน์ แก้ววงค์
ภาณุวัฒน์ แก้ววงค์
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
how to eat
how to eathow to eat
how to eat
 
ใบงานที่ 6-แบบร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6-แบบร่างโครงงานใบงานที่ 6-แบบร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6-แบบร่างโครงงาน
 
2559 13-project
2559 13-project 2559 13-project
2559 13-project
 
2562 final-project ppp
2562 final-project ppp2562 final-project ppp
2562 final-project ppp
 
2562 final-project p
2562 final-project p2562 final-project p
2562 final-project p
 
Final
Final Final
Final
 
เนม 1
เนม 1เนม 1
เนม 1
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
How to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. THHow to set a bedroom to health. TH
How to set a bedroom to health. TH
 
2560 project 603 23
2560 project 603 232560 project 603 23
2560 project 603 23
 
Lower belly reduce disease
Lower belly reduce diseaseLower belly reduce disease
Lower belly reduce disease
 
2561 project -
2561 project -2561 project -
2561 project -
 
project 11
project 11project 11
project 11
 
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
Fruit juice
Fruit juiceFruit juice
Fruit juice
 

Asd

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน Work & Music ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 พศิน อินทรสมมุติ เลขที่ 37 ชั้น 6 ห้อง 15 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1………………………………….. เลขที่……… 2…………………………………เลขที่ ………. 3………………………………….. เลขที่……… คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ___การทางาน และ เพลง___________________________________________________ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) ____ Work & Music ________________________________________________________ _________________________________________________________________________ ประเภทโครงงาน _____เพื่อการศึกษา_______________________________ ชื่อผู้ทาโครงงาน ___________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ ชื่อที่ปรึกษาครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ______________________________________________ ชื่อที่ปรึกษาร่วม ___________________________________________________________ ระยะเวลาดาเนินงาน __1 ภาคเรียน_____________________________________________ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในการทางาน มักจะมีหลายๆสิ่งหลายอย่างมาทาให้เราเสียสมาธิในการทางานอยู่บ่อยๆ ไม่ว่าจะเพื่อนที่นั่ง ข้าง เสียงรบกวนต่างๆจากสิ่งรอบตัว หรือแม้แต่การที่คนเดินผ่านไปมา ก็อาจทาให้คนบางประเภทเสียสมาธิได้ ตั้ง นั้นการที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานให้เพิ่มมากขึ้นนั้นจะต้องมีตัวช่วย ตัวช่วยนั้นก็คือ เสียงดนตรี เสียงดนตรี สามารถช่วยเพิ่มสมาธิให้มากขึ้นได้ และยังผ่อนคลายร่างกายขณะที่เรากาลังทางานอยู่ ช่วยให้ความเครียดของเราลด น้อยลง วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการงาน 2. เพื่อช่วยให้คนที่ไม่มีสมาธิระหว่างทางาน มีสมาธิมากขึ้น 3. เพื่อช่วยผ่อนคลายความเครียด ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) การฟังเพลงช่วยเพิ่มสมาธิได้อย่างไร หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
  • 3. 3 งานวิจัยจากมหาวิทยาลัย Birmingham ประเทศอังกฤษ ชี้ให้เห็นว่า ดนตรีมีบทบาทสาคัญในการช่วยให้คุณมีสมาธิ และมีประสิทธิภาพในการทางานได้เป็นอย่างดี เพราะฉะนั้น หากคุณกาลังเบื่อที่ต้องทางานซ้าๆ นั่งเช็คอีเมล์ไป วันๆ การลองเพิ่มเสียงดนตรีเข้าไป ก็อาจจะช่วยให้คุณทางานได้ดีและรวดเร็วขึ้นแต่ถ้างานของคุณเป็นงานที่ต้อง ใช้สมองซะส่วนมาก การเลือกดนตรีหรือเพลงให้เหมาะสมก็อาจไม่ใช่เรื่องง่าย แต่โชคดีที่วิทยาศาสตร์ได้หา คาตอบมาให้คุณแล้วและต่อไปนี้ก็จะเป็นประเภทของดนตรีที่จะช่วยให้คุณทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ครั้ง ต่อไปก็ลองเปิดเพลงประเภทนี้พร้อมกับนั่งทางานไปด้วย ไม่แน่ว่าคุณอาจมีสมาธิเพิ่มขึ้นอย่างน่าประหลาดใจเลย ล่ะ! ฟังดนตรีที่มีเสียงธรรมชาติ นักวิจัยจาก Rensselaer Polytechnic Institute ค้นพบว่า การเพิ่มเสียงธรรมชาติเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการทางาน จะช่วยให้คุณมีอารมณ์ที่ดีและมีสมาธิมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้กระบวนการทางความคิดทางานได้ดีขึ้น มีสมาธิ มากขึ้น และมีความพึงพอใจในการทางานมากขึ้นด้วย ซึ่งเสียงที่นักวิจัยใช้ในการวิจัยคือเสียงน้าจากลาธาร โดยผล ก็คือเสียงน้าจากลาธารนี้ไม่ได้ทาให้กลุ่มตัวอย่างเสียสมาธิแต่อย่างใด ฟังเพลงที่คุณชื่นชอบ การฟังดนตรีที่คุณชื่นชอบสามารถทาให้คุณรู้สึกดีขึ้นได้ Teresa Lesiuk ผู้ช่วยศาสตราจารย์ด้านดนตรีบาบัด จาก มหาวิทยาลัย Miami พบว่า การมีความชอบส่วนตัวเกี่ยวกับดนตรีเป็นเรื่องที่สาคัญ โดยเฉพาะคนที่มีทักษะในสาขา อาชีพของตน โดยกลุ่มตัวอย่างของงานวิจัยนี้คือ บุคคลที่มักฟังเพลงที่ชื่นชอบในขณะทางาน ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้คือ งานจะสาเร็จเร็วขึ้น อีกทั้งยังมีไอเดียในการทางานที่ดีกว่ากลุ่มคนที่ไม่ฟังอีกด้วย เนื่องจากเพลงที่ชอบสามารถทา ให้คนอารมณ์ดีขึ้นได้นั่นเอง Teresa กล่าวกับ The New York Times ว่า “เมื่อคุณเครียด คุณมักจะตัดสินใจทาอะไรเร็วกว่าปกติ เพราะคุณจะไม่มี สมาธิอยู่กับสิ่งๆ นั้น และเมื่อคุณอารมณ์ดี คุณจะมองเห็นทางเลือกได้หลากหลายกว่า” แต่ก็อย่าเพลิดเพลินกับมันเกินไป อย่างไรก็ตาม ยังมีงานวิจัยอื่นที่แย้งว่า ดนตรีที่คุณไม่ได้รู้สึกชื่นชอบมากมายนักจะให้ผลดีกว่าดนตรีที่คุณชอบ มากๆนักวิจัยจากมหาวิทยาลัย Fu Jen Catholic ในเมืองซินจวง ประเทศไต้หวัน ได้ศึกษาว่าความชื่นชอบในดนตรี จะสามารถส่งผลต่อสมาธิของเราได้ โดยพบว่า เมื่อคนเราฟังเพลงที่ชอบมากๆ หรือเกลียดมากๆ ในขณะที่ทางานจะ ทาให้เสียสมาธิได้
  • 4. 4 ฟังดนตรีที่ไม่มีเนื้อร้อง งานวิจัยจาก Cambridge Sound Management พบว่า คาร้องคือสิ่งที่ทาให้เราเสียสมาธิเนื่องจากเรามักจะให้ความ สนใจกับคาร้องมากกว่างานที่เรากาลังทาอยู่ เหมือนกับเวลาที่คุณได้ยินคนพูดนั่นแหละ คุณมักจะหยุดการทางาน และหันไปฟังว่าเขาพูดว่าอะไร งานวิจัยของ Cambridge ในปี 2551 ชี้ว่า 48% ของคนทางาน จะถูกทาลายสมาธิได้ โดยง่ายจากคาพูด หรือการฟังคนอื่นคุยกัน คุณมักจะไม่มีสมาธิเท่าที่ควรหากคุณฟังเพลงที่มีเนื้อร้องควบคู่ไปด้วย เพราะสมาธิของคุณมักจะไปอยู่กับเนื้อร้องมากกว่า ดังนั้น หากคุณต้องการทางานอย่างมีประสิทธิภาพ การฟังเพลงที่ไม่มีเนื้อร้องอาจเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด ฟังเพลงที่มีจังหวะเหมาะกับคุณ จังหวะของเพลงสามารถเป็นตัวกระตุ้นชั้นดีได้เลยทีเดียว งานวิจัยหนึ่งของนักวิจัยชาวแคนาดาระบุว่า กลุ่มตัวอย่าง ที่ฟังเพลงที่มีจังหวะเร็วในขณะที่ทาแบบทดสอบวัด IQ จะทาแบบทดสอบออกมาได้ดีกว่า ถ้างานของคุณต้องการ ความกระตือรือร้น ลองฟังเพลงที่มีจังหวะเร็วๆ เช่น ดนตรีบาโรก ก็เป็นตัวเลือกที่ดี ถ้าต้องการในงานสาเร็จอย่าง รวดเร็ว นอกจากนี้ งานวิจัยเล็กๆ ของแพทย์รังสีวิทยา จากมหาวิทยาลัย Maryland และโรงพยาบาลHarbor รวมถึง มหาวิทยาลัย Pennsylvania Health System ได้ข้อสรุปว่า การฟังดนตรีบาโรกจะช่วยให้งานดาเนินไปได้สะดวกขึ้น อีกทั้งยังมีอารมณ์ที่ดีขึ้นอีกด้วย งานวิจัยอีกชิ้นหนึ่ง จาก BMS College of Engineering ประเทศมาเลเซีย ระบุว่า การฟังดนตรีที่มีจังหวะ ประมาณ 60 บีทต่อนาที ศัพท์ทางดนตรีจะเรียกว่า larghetto แปลว่าเพลงที่ไม่เร็วมากและค่อนข้างช้า จะช่วยลด ความเครียดรวมถึงช่วยให้ผ่อนคลายได้อีกด้วย ฟังเพลงที่มีระดับความดังที่พอดี ระดับความดังของเพลงก็มีผลต่อการทางานเช่นกัน งานวิจัยจากทั้งสามมหาวิทยาลัย University of Illinois , University of British Columbia และ University of Virginia ได้ข้อสรุปที่ตรงกันว่า เสียงที่พอเหมาะพอดี จะช่วยให้ คนทางานมีความคิดที่สร้างสรรค์มากขึ้น ทั้งเสียงดังหรือเสียงปกติต่างมีผลทาให้ความคิดของคุณเปิดกว้างขึ้น แต่ ถ้าเสียงดังเกินไปก็อาจทาให้สมองทางานได้แย่ลงได้ด้วย ยกตัวอย่างง่ายๆ ให้เห็นภาพ ถ้าเพลงที่คุณเปิดดังจนกลบเสียงภายนอกไปหมด นั่นแปลว่าเพลงคุณดังเกินไปแล้วล่ะ และหากเพลงของคุณเบาจนไม่สามารถกลบเสียงบทสนทนาของคนข้างๆ คุณได้เลย ก็แปลว่าเพลงที่คุณฟังอยู่เบา เกินไปนั่นเอง
  • 5. 5 เทคนิคการเรียนอันนี้ถือว่าเป็นอันที่ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่มาก คือว่า ควรจะฟังเพลงไปด้วยอ่านหนังสือไปด้วยดี ไหม หรือว่าเปิดทีวีไปด้วยอ่านหนังสือไปด้วย ได้หรือเปล่า จริงอยู่ที่ว่าถ้าเราอ่านหนังสืออย่างเดียวเงียบๆ เราจะมีสมาธิมากกว่า เพราะไม่มีอะไรมาทาให้เราวอกแวก แต่ เนื่องจากในปัจจุบันมีข้อมูลข่าวสารเยอะมาก และมีอะไรมาทาให้เราวอกแวกได้เยอะ ไม่ว่าจะเป็นทีวี เพลง อีเมล์ โทรศัพท์มือถือ ถึงขั้นมีงานวิจัยออกมาแล้วว่าคนในปัจจุบันนี้มีattention span หรือช่วงเวลาที่ให้ความสนใจกับสิ่ง ใดสิ่งหนึ่ง ลดลงมากกว่าสมัยก่อนมากทีเดียว ซึ่งถ้าเราพิจารณาจากสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนตามไปตามเทคโนโลยีแล้ว เราก็คงจะเห็นด้วยทีเดียว ลองสังเกตดูซิคะว่า เด็กๆสมัยนี้เขาจะทาอะไรแป๊ ปๆก็เปลี่ยนไปทาอีกอย่างหนึ่งแล้ว หรือลองเปรียบเทียบกับตัวเองเมื่อก่อนดูก็ได้เมื่อก่อนม่อนว่าม่อนมีสมาธินานกว่านี้เยอะ เพราะไม่มีอะไรมาทาให้ เราวอกแวกเท่าไหร่ เดี๋ยวนี้ แป๊ ปๆก็เช็คอีเมล์ เดี๋ยวก็ฟังเพลง มองเผินๆก็เหมือนว่าการที่เรามีสมาธิสั้นลงจะเป็นเรื่องที่แย่นะคะ แต่ม่อนมองอีกมุมหนึ่งว่ามันอาจจะเป็นทิศทางที่ คนเรากาลังเดินไปก็ได้สิ่งหนึ่งที่ทาให้ม่อนฉุกคิดมองเรื่องนี้ในอีกมุมหนึ่งก็คือ เรื่องที่อาจารย์เดวิด โรส ที่ฮาร์ วาร์ดเล่าให้ฟังเกี่ยวกับลูกชายเขา เดวิด โรสเป็นอาจารย์ที่สอนเกี่ยวกับการนาความรู้เรื่องสมองมาใช้กับ การศึกษา เขาเล่าให้ฟังว่าภรรยาเขามาปรึกษาเรื่องลูกชายว่า ชอบอ่านหนังสือไปด้วย ฟังเพลงไปด้วย แล้วก็ยังเปิด ทีวีทิ้งไว้พร้อมๆกันอีก เลยอยากให้เดวิดไปช่วยพูดกับลูกให้หน่อย ว่าให้เพลาๆลงบ้าง ให้อ่านหนังสืออย่างเดียว เพราะกลัวลูกจะอ่านหนังสือไม่รู้เรื่อง ซึ่งเดวิดเองก็เห็นด้วย เมื่อเดวิดลองไปคุยกับลูกชาย ลูกชายเขาก็ตอบว่า “ผม ก็สอบได้เกรดเอหมดทุกตัว พ่อจะเอาอะไรกับผมอีกล่ะ” ซึ่งมันก็ทาให้เราในฐานะนักการศึกษาฉุกคิดได้ว่า การ ทางานหรืออ่านหนังสือโดยที่มีเสียงอย่างอื่นเป็นbackgroundไปด้วย ก็ไม่ใช่ว่าจะไม่ดีเสมอไป สมองของคนเรามีความสามารถในการเลือกรับเฉพาะสิ่งกระตุ้นที่มีความสาคัญต่อเราเท่านั้น โดยสิ่งที่สาคัญนั้น อาจจะหมายถึงสิ่งที่มีความแปลกใหม่(เพราะความแปลกใหม่ถือเป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องรู้ในการดารงชีวิต อย่างน้อยก็ ต้องรู้ว่าสิ่งที่มาใหม่นี้จะเป็นอันตรายต่อความอยู่รอดของเราหรือเปล่า) หรืออาจจะเป็นสิ่งที่เราสนใจก็ได้ เมื่อเรา รับรู้สิ่งเหล่านั้นแล้ว เรารู้ว่าสิ่งนั้นไม่มีอันตราย หรือเราเคยชินต่อสิ่งนั้น เราก็จะไม่ค่อยรับรู้สิ่งเหล่านั้น เหมือน อย่างเช่น ถ้าเราเปิดทีวีเรื่องซ้าๆ สมองเราจะรู้ว่ามีสิ่งกระตุ้นนั้นๆอยู่ คือ ทีวีเปิดอยู่ แต่เราไม่ได้ให้ความสนใจกับ มันอย่างเต็มที่ การฟังเพลงหรือเปิดทีวีเวลาอ่านหนังสือไปด้วย จะคล้ายๆกับเป็น background noise คือ เราไม่ได้สนใจมันเต็มที่ แต่เราก็รู้ว่ามันมีอยู่ แล้วมันจะช่วยเวลาเราอ่านหนังสือได้อย่างไรล่ะ? เวลาอ่านหนังสือสอบ แน่นอนว่าต้องมีบางเรื่องที่เราไม่ได้สนใจนัก แต่เราก็ต้องอ่านต้องเรียน เลี่ยงไม่ได้ เมื่อเรา อ่านสิ่งที่เราไม่ค่อยสนใจ เราก็จะเบื่อ ทาให้เราคงสมาธิไว้ได้เพียงชั่วครู่ เราก็เบื่อ อยากหันไปหาอย่างอื่นที่สนุกกว่า น่าพึงพอใจกว่า การที่เราเปิดเพลงที่ชอบหรือหนังที่ชอบเป็นbackgroundไว้กลับทาให้เรานั่งอยู่ติดโต๊ะอ่าน หนังสือได้นานขึ้น แล้วก็อ่านได้นานขึ้นด้วย เพราะเรามีสิ่งที่น่าพึงพอใจทาให้เรารู้สึกไม่เบื่อ
  • 6. 6 อีกอย่างหนึ่งก็คือ คนเราจะมีสมาธิอยู่สองประเภทคือ แบบที่จดจ่อแน่วแน่ อันนี้เป็นแบบที่เราเอาไว้ใช้ทางาน อีก แบบหนึ่งก็คือแบบที่คอยระแวดระวังเรื่องรอบตัว ซึ่งเป็นสิ่งที่จาเป็นต่อการอยู่รอด คิดดูซะคะว่า สมัยก่อนตอนคน ยังอยู่ป่าอยู่ถ้า ถ้ามัวแต่สนใจอะไรอย่างเดียว ไม่สนใจสิ่งรอบข้างเลย มีหวังโดนเสือจับไปกินแน่ ลองสังเกตตัวเอง ดูก็ได้ค่ะ เวลาเราอ่านหนังสืออยู่ ถ้าไม่ได้สนุกมากๆจริงๆ เวลามีใครเดินไปเดินมา เราก็ยังเห็นอยู่ด้วยชายตา อันนี้ แหละคะที่เป็นสมาธิแบบที่สองที่คอยช่วยให้เราระมัดระวัง ซึ่งการที่เราเปิด background noise ไปด้วยเวลาทางาน จะเป็นตัวดึงสมาธิแบบที่สองออกไปจากเรา ทาให้เราแยกสมาธิแบบที่หนึ่งมาใช้ได้ง่ายขึ้น ม่อนสังเกตตัวเองว่าพอ เพลงไปด้วยแล้ว จะไม่ค่อยวอกแวกเท่าไหร่ ม่อนเองเคยรู้สึกแย่เวลาที่ฟังเพลงไปด้วยอ่านหนังสือไปด้วย จะพยายามไม่ฟังอะไร พยายามอ่านแบบเงียบๆ แต่พอ ได้ฟังอาจารย์พูดให้ฉุกคิดก็ลองทาดู ลองคิดว่า ถ้าอะไรช่วยให้เราอ่านหนังสือได้นานขึ้นก็ไม่น่าจะผิด ปรากฏว่า ได้ผลดีมากๆเลยค่ะ ไม่น่าเชื่อว่าพอฟังเพลงไปด้วย อ่านหนังสือได้เป็นชั่วโมงๆ แถมอ่านรู้เรื่องดีด้วย หรือ แม้กระทั่งฟังเพลงไปด้วย เขียนรายงานไปด้วย ก็ยังทาให้สมองแล่นดี แต่มีข้อแม้อยู่บ้างนะคะ ในการใช้วิธีนี้ เพราะสมองคนเราจะให้ความสนใจกับสิ่งใหม่ๆ ฉะนั้นถ้าเราเอาเพลง ใหม่ๆหรือหนังใหม่ๆมาเปิดจะใช้ไม่ได้ผลค่ะ เราจะหันไปสนใจกับเพลงหรือหนังนั้นแทน ก็เราไม่เคยดูไม่เคยฟัง มันก็ต้องน่าสนใจกว่าหนังสือเรียนอยู่แล้วใช่ไหมคะ และสิ่งที่จะเอามาเป็นbackground noiseก็ไม่ควรเป็นสิ่ง กระตุ้นที่ไม่พึงปรารถนา เช่น เพลงอกหัก ก็ไม่ค่อยดีหรอกค่ะ เพราะเราจะนามันไปเชื่อมกับการอ่านหนังสือ ทาให้ รู้สึกว่าการอ่านหนังสือเป็นเรื่องเศร้าไปซะ ทั้งนี้ทั้งนั้น เรื่องนี้ก็แล้วแต่บุคคลด้วยนะคะ ม่อนแนะว่าอยากให้เอาตัวเองเป็นตัวทดลองว่า แบบไหนทาให้เราอ่าน หนังสือดีกว่ากัน สาหรับบางคนอาจจะต้องเงียบจริงๆถึงจะอ่านหนังสือได้(บางคนขนาดแอร์ดัง ก็อ่านไม่รู้เรื่องก็มี นะ) แต่บางคนพอใช้background noiseเข้าช่วยแล้วจะดีขึ้น ก็ลองดูคะว่าแบบไหนดีกว่ากัน ถ้าฟังเพลงไปด้วยแล้ว ดีกว่า ก็ลองดูว่าเพลงแบบไหนดีกับเราที่สุด สาหรับม่อนเองมีข้อสังเกต คือ -ถ้าเป็นเพลงภาษาต่างประเทศจะดีกว่าภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ เพราะเราฟังไม่ค่อยรู้เรื่องร้องตามไม่ได้ทาให้ ไม่เสียสมาธิในการร้องตาม หรือคิดตาม หลายๆครั้งก็เลยฟังเพลงจีนค่ะ (จะได้แอบฝึกการฟังสาเนียงจีนไปด้วยใน ตัว) อ่านหนังสือกับเพื่อน -ชอบเพลงเร็วค่ะ ถ้าเพลงช้าจะหลับได้ -ไม่ค่อยชอบเปิดหนังหรือทีวีตอนอ่านหนังสือค่ะ เพราะรู้สึกว่ามันน่าสนใจเราจะคิดตาม ถึงแม้ว่าจะดูแล้วหลาย รอบก็ตาม ม่อนเลยตัดเรื่องเปิดทีวีทิ้งไป แต่บางคนก็เปิดทีวีก็ช่วยได้นะ
  • 7. 7 -ม่อนใช้เพลงบรรเลงช่วยไม่ค่อยได้ผล อาจจะน่าเบื่อเกินไปสาหรับม่อน แต่ก็มีเพื่อนหลายคนใช้เพลงบรรเลง เพลง คลาสสิก ก็ช่วยได้เหมือนกันคะ -ม่อนจะเปิดเพลงเฉพาะเวลาที่อ่านหนังสืออะไรที่ไม่ต้องคิดมาก พอถึงเวลาที่ต้องคิดอะไรยากๆ เช่น conceptual structureของเรื่องที่อ่าน ก็จะปิดเพลงค่ะ ตัวเราจะรู้เองว่าเมื่อไหร่ที่เรารู้สึกว่าเพลงที่เปิดมันน่าราคาญก็คือ มัน กลายเป็นส่วนเกิน แทนที่จะเป็นตัวช่วยค่ะ ก็ให้ปิดเพลงซะ ก็ลองดูนะคะ จะได้ค้นพบตัวเองว่า นิสัยการอ่านหนังสือของเราเป็นแบบไหน วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.เลือกหัวข้อ 2.หาข้อมูล 3.รวบรวมข้อมูล 4.ตรวจสอบข้อมูล 5บันทึกผล 6.สรุปผล 7นาเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -คอมพิวเตอร์ -เพลง งบประมาณ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
  • 8. 8 ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) การทางานของสมองระหว่างฟังเพลง ได้ร็ว่าเพลงนั้นช่วยให้คนมีสมาธิขึ้นได้อย่างไร สถานที่ดาเนินการ บ้าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง ดนตรี คอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://www.sumrej.com/music-for-optimal-productivity/ http://www.unigang.com/Article/3337