SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
Gram-negative bacteria
Microbiology
Gram-negative bacteria
การที่จะมองเห็นตัวเชื้อแบคทีเรียได้ยังจาเป็นต้องย้อมสีแบคทีเรีย
เสียก่อน วิธีย้อมสีแบคทีเรียทางการแพทย์เรียกว่าการย้อมสีแกรม
(Gram stain) ซึ่งเชื้อแบคทีเรียแต่ละชนิดจะติดสีแกรมแตกต่างกัน
ไป แบคทีเรียติดสีแดง เรียกว่า ติดสีแกรมลบ (Gram negative)
Gram-negative
bacteria
Gram-negative bacteria oxidase positive
เชื้อแบคทีเรียแกรมลบ (Gram negative) ที่เป็น oxidase positive ได้แก่
• Neisseria
• Vibrionaceae
• Plesiomonas
• Aeromonas
Neisseria Neisseria เป็นแบคทีเรีย
ชนิด Gram negative cocci
เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคต่อมนุษย์
มี 2 ชนิด ได้แก่
1. Neisseria gonorrhoeae ก่อให้เกิดโรคหนองใน
2. Neisseria meningitidis ก่อให้เกิดโรคกาฬหลังแอ่น
Neisseria gonorrhoeae
Neisseria gonorrhoeae เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรค หนองใน หรือ โรคโกโนเรีย (Gonorrhea)
เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (กามโรค) ที่พบได้มากเป็นอันดับต้น ๆ ของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
อาการมักเป็นรุนแรงและชัดเจนจนผู้ป่วยต้องมาพบแพทย์ เพราะหากปล่อยทิ้งไว้ไม่รักษาอาการจะดีขึ้นได้
เองเพียงเล็กน้อย แต่ตัวโรคยังคงเป็นอยู่ และอาจทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาได้
Neisseria gonorrhoeae
สาเหตุของหนองใน
หนองในเกิดจากการติดเชื้อหนองในซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า “ไนซีเรีย โกโนเรียอี”
(Neisseria gonorrhoeae) หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า “โกโนค็อกคัส” (Gonococcus ) ซึ่งสามารถ
ตรวจพบได้ในน้าอสุจิและสารน้าในช่องคลอด จึงถ่ายทอดผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์เป็นหลัก เชื้อ
แบคทีเรียชนิดนี้สามารถเจริญได้ดีในที่ชื้นและที่อบอุ่นของระบบอวัยวะสืบพันธุ์ตั้งแต่ปากมดลูก
มดลูก ปีกมดลูก ท่อปัสสาวะ (ทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง) นอกจากนี้ยังสามารถเจริญในบริเวณอื่น
ๆ ได้ด้วย เช่น ทวารหนัก เยื่อบุตา ช่องปากคอ เป็นต้น
Neisseria gonorrhoeae
เพศหญิง ในระยะแรก ๆ มักจะไม่มีอาการแสดงออกมา แต่ในระยะต่อมาจะมีอาการตกขาว
ผิดปกติ เช่น มีปริมาณมากขึ้น เป็นหนองสีเหลืองหรือสีเขียว มีกลิ่นเหม็น ไม่คัน มีอาการขัดเบา
และแสบร้อนเมื่อปัสสาวะ ปัสสาวะขุ่น ปวดท้องน้อย เลือดออกกะปริดกะปรอยในระหว่างรอบ
เดือน (พบได้น้อย) เป็นต้น ถ้ามีการอักเสบของปีกมดลูก จะทาให้มีไข้สูง หนาวสั่น ปวด และกด
เจ็บตรงท้องน้อยแบบปีกมดลูกอักเสบ (ประมาณ 50% ของฝ่ายหญิงที่ติดเชื้อหนองในอาจไม่มี
อาการเหล่านี้แสดงออกมาเลยก็ได้ แต่ยังสามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้อยู่)
Neisseria gonorrhoeae
อาการของหนองใน
อาการของหนองใน
เพศชาย หลังจากได้รับเชื้อประมาณ 2-10 วัน จะมีอาการแสบในลากล้องเวลาถ่ายปัสสาวะ หรือ
ถ่ายปัสสาวะขัด มีหนองไหลออกมาจากท่อปัสสาวะ ในระยะแรกอาจจะแค่ไหลซึมเป็นมูกใส ๆ
เล็กน้อยโดยไม่ใช่น้าปัสสาวะหรือน้าอสุจิ แต่ในอีก 12 ชั่วโมงต่อมาจะกลายเป็นหนองสีเหลืองข้น
และจะออกมากคล้ายเส้นก๋วยเตี๋ยว ในบางรายอาจมีอาการปวดและบวมของถุงอัณฑะ หรือมีการ
อักเสบที่หนังหุ้มปลายองคชาต (พบได้น้อย) ร่วมด้วย (ประมาณ 10% ของฝ่ายชายที่ติดเชื้อหนอง
ในอาจไม่มีอาการเหล่านี้แสดงออกมาเลยก็ได้ แต่ยังสามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้อยู่)
Neisseria gonorrhoeae
อาการของหนองใน
ทั้งสองเพศ หากติดเชื้อในลาคอ อาจทาให้เกิดอาการเจ็บคอ เป็นไข้ หากติดเชื้อในทวารหนัก
อาจทาให้เกิดอาการปวดหน่วง คัน หรืออาจมีน้าคล้ายหนองออกมา โดยเฉพาะในขณะขับถ่าย
และหากติดเชื้อที่เยื่อบุตา อาจทาให้มีอาการเจ็บปวด ระคายเคือง และมีหนองไหล อย่างไรก็ตาม
การติดเชื้อในตาแหน่งใด ๆ ก็ตาม อาจไม่มีอาการแสดงออกมาเลยก็ได้ นอกจากอาการที่กล่าว
มาแล้วยังอาจมีต่อมน้าเหลืองที่ขาหนีบ (ไข่ดัน) บวมและเจ็บด้วย
Neisseria gonorrhoeae
การวินิจฉัยโรคหนองในแท้
เราสามารถรู้ว่าเป็นโรคหนองในแท้หรือไม่โดยการตรวจ
• นาหนองหรือปัสสาวะมาตรวจ PCR
• นาหนองมาย้อมหาเชื้อ
• นาหนองไปเพาะเชื้อ
• ข้อสาคัญคือท่านอาจจะต้องตรวจหาโรคที่ติดต่อ
ทางเพศสัมพันธ์ชนิดอื่นร่วมด้วย
Neisseria gonorrhoeae
วิธีรักษาโรคหนองใน
• หากสงสัยว่าเป็นหนองใน ควรตรวจยืนยันด้วยการนาหนองไปย้อมสีและส่องดูด้วยกล้อง
จุลทรรศน์ หรือนาไปเพาะเชื้อ ถ้าพบว่าเป็นโรคหนองในจริง แพทย์จะให้ยาปฏิชีวนะขนาน
ใดขนานหนึ่ง
• ผู้ที่เป็นโรคหนองในแท้มักจะเป็นหนองในเทียมจากการติดเชื้อ (Chlamydia) ร่วมด้วย
ประมาณ 30% แพทย์จึงมักรักษาไปพร้อมกันทั้งสองโรคด้วยการให้ยาดอกซีไซคลีน
(Doxycycline) ไปกินครั้งละ 100 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 1-2 สัปดาห์
Neisseria gonorrhoeae
วิธีรักษาโรคหนองใน
• ผู้ที่เป็นหนองในควรได้รับการเจาะเลือดตรวจวีดีอาร์แอล (VDRL – Venereal Disease
Research Laboratory) เพื่อให้แน่ใจว่าตนไม่มีการติดเชื้อซิฟิลิสร่วมด้วย ถ้าผลตรวจวีดีอาร์
แอลเป็นผลบวกหรือที่เรียกว่า “เลือดบวก” ก็แสดงว่าเป็นซิฟิลิส โดยควรตรวจตั้งแต่ครั้ง
แรกก่อนให้การรักษาและตรวจซ้าอีกครั้งในอีก 3 เดือนถัดไป นอกจากนี้ควรตรวจหาเชื้อเอช
ไอวี (HIV) และโรคไวรัสตับอักเสบบีพร้อมกันไปด้วย
• ในผู้หญิงที่มีอาการหนองไหลออกจากท่อปัสสาวะร่วมกับมีไข้สูง ปวดท้องน้อย ขัดเบา ตก
ขาว อาจเป็นปีกมดลูกอักเสบเฉียบพลัน ควรรีบไปพบแพทย์ภายใน 24 ชั่วโมง
Neisseria gonorrhoeae
วิธีรักษาโรคหนองใน
• ในกรณีที่เกิดภาวะแทรกซ้อนแล้ว เช่น อุ้งเชิงกรานอักเสบ ปวดท้องน้อยเรื้อรัง เกิดภาวะมี
บุตรยาก ผู้ป่วยอาจต้องนอนรับการรักษาในโรงพยาบาลเพื่อรับ
• ในกรณีที่หญิงตั้งครรภ์เป็นหนองใน ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อรักษาโรคนี้ให้หายขาด มิฉะนั้น
ลูกอาจติดเชื้อในระหว่างคลอด ทาให้ตาอักเสบรุนแรงจนถึงขั้นตาบอดได้ หรืออาจเกิดการติด
เชื้อรุนแรงกับอวัยวะอื่น ๆ ที่เป็นอันตรายต่อชีวิตของลูกได้ (ด้วยเหตุนี้แพทย์จึงมีการหยอด
ตาทารกแรกเกิดด้วย 1% Silver Nitrate ทุกรายเพื่อลดโอกาสการติดเชื้อชนิดนี้) นอกจากนี้
โรคหนองในที่มีอาการรุนแรง ยังอาจกระตุ้นให้เกิดการคลอดก่อนกาหนดได้อีกด้วย
Neisseria gonorrhoeae
วิธีป้องกันโรคหนองใน
1. เลือกมีคู่นอนเพียงคนเดียว และจะแน่นอนยิ่งขึ้นหากคู่นอนได้รับการตรวจแล้วว่าไม่มีการติด
เชื้อใด ๆ
2. หลีกเลี่ยงการเที่ยวกลางคืนหรือการสาส่อนทางเพศ และถ้าจะหลับนอนกับคนอื่นหรือคนที่
สงสัยว่าจะเป็นหนองใน ควรใช้ถุงยางอนามัยเสมอ ซึ่งจะช่วยป้องกันโรคนี้ได้เกือบ 100%
(ส่วนโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดอื่น ๆ อาจจะได้ผลไม่เต็มที่ และยังมีโอกาสติดเชื้อได้บ้าง)
3. หลีกเลี่ยงการใช้ผ้าเช็ดหน้าและผ้าเช็ดตัวร่วมกับผู้ติดเชื้อ เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
Neisseria gonorrhoeae
วิธีป้องกันโรคหนองใน
4. ควรดื่มน้าก่อนร่วมเพศและถ่ายปัสสาวะทันทีหลังร่วมเพศ หรือฟอกล้างสบู่ทันทีหลังร่วมเพศ
อาจช่วยลดการติดเชื้อลงได้บ้าง แต่ไม่ใช่ว่าจะได้ผลทุกราย
5. กินยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันโรคภายหลังการร่วมเพศอาจได้ผลบ้าง แต่ต้องเป็นยาชนิดและขนาด
เดียวกันกับที่ใช้ในการรักษา (ซึ่งดูแล้วไม่ค่อยคุ้มเท่าใดนัก สู้รอให้มีอาการแสดงออกมาแล้ว
ค่อยรักษาไม่ได้ อีกทั้งยังไม่อาจป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดอื่น ๆ ได้)
6. การกินยาล้างลากล้อง ซึ่งเป็นยาระงับเชื้อ (Antiseptic) ไม่ใช่ยาทาลายเชื้อ จึงไม่ได้ผลในการ
ป้องกัน (ยานี้กินแล้วจะทาให้ปัสสาวะเป็นสีแปลก ๆ เช่น สีแดง สีเขียว)
Neisseria gonorrhoeae
Neisseria meningitidis
Neisseria meningitidis เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคไข้กาฬหลัง
แอ่น เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งเป็นสาเหตุทาให้เกิดการอักเสบ
ของเยื่อหุ้มสมองและไขสันหลัง โรคไข้กาฬหลังแอ่นเกิดในบุคคลทุกวัย
พบมากทั้งในช่วงอายุ 1 เดือน- 15 ปี(25-40%) และมากกว่า 15 ปี
(10-35%) โรคนี้เกิดทั่วโลกมีสาเหตุจากเชื้อ Neisseria meningitidis เชื้อ
นี้พบในลาคอของคนปกติ ประมาณร้อยละ 5 โดยไม่ทาให้เกิดโรค ผู้ติด
เชื้อส่วนน้อยเท่านั้นที่จะเกิดอาการโรค พบได้ประปรายตลอดทั้งปี และมี
การระบาดในบางพื้นที่เป็นครั้งคราว
Neisseria meningitidis
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อ Neisseria meningitidis ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรีย แกรมลบ รูปร่างกลมคล้ายเมล็ดถั่ว เรียง
ตัวกันอยู่เป็นคู่ๆ โดยหันด้านเรียบเข้าหากัน ไม่สร้างสปอร์ แบ่งเป็น 13 serogroup ได้แก่
A,B,C,D,E29,H,I,K,L,W135,X,Y และ Z
ระยะฟักตัว
ประมาณ 2-10 วัน โดยเฉลี่ย 3-4 วัน
Neisseria meningitidis
วิธีการติดต่อ เชื้อกระจายจากช่องปาก ช่องจมูกจากคนหนึ่งสู่อีกคนโดยตรง
ผ่านระบบทางเดินหายใจ เชื้อนี้ทาให้เกิดโรคได้ 3 แบบ
1. แบบไม่มีอาการหรืออาการน้อย เชื้อเจริญในเนโซฟาริ้งซ์ ทาให้เกิดการอักเสบเฉพาะที่เล็กน้อย มักไม่มี
อาการ ส่วนใหญ่พบกลุ่มนี้มาก และมักเป็นต้นตอของการแพร่เชื้อต่อไปได้อีก
2. แบบเชื้อแพร่เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ (meningococcemia) เชื้อเข้าในกระแสเลือด โดย
เลือดจะมาหล่อเลี้ยงที่ปลายหลอดเลือดเป็นจานวนมาก ผู้ป่วยจะมีผื่น เลือดออกตามผิวหนัง ในรายที่
รุนแรงจะมีเลือดออกในลาไส้และต่อมหมวกไต
3. แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitidis) เชื้อที่เข้าเยื่อหุ้มสมองทาให้เกิดอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
Neisseria meningitidis
Neisseria meningitidis
อาการ
ได้แก่ ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้าเลือด(pink macules)ขึ้นตามผิวหนัง
ร่วมด้วย และอาจเกิดภาวะช็อกอย่างรวดเร็ว ส่วนใหญ่มาด้วยอาการสาคัญ 2 อย่าง คือ
1. Meningococcemia
- Acute Meningococcemia อาการเกิดอย่างฉับพลัน มีอาการปวดศีรษะ เจ็บคอและไอ เป็น
อาการนามาก่อน ตามด้วยไข้สูง หนาวสั่น ปวดตามข้อและตามกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะที่ขาและหลัง
นอกจากนี้ อาจมาด้วยไข้และมีผื่นแดงจ้าขึ้นตามตัว ใน 2-3 วันต่อมา จะเปลี่ยนเป็นสีคล้าจนเป็น
สะเก็ดสีดา บางทีเป็นตุ่มน้ามีจุดแดงอยู่ตรงกลาง ส่วนใหญ่จะมีผื่นหลังไข้ขึ้น 24-48 ชั่วโมง
Neisseria meningitidis
อาการ
- Chronic Meningococcemia พบได้น้อย ส่วนใหญ่มักมีไข้ ผื่นตามผิวหนัง อาจเป็น ผื่น
แดงจ้า ปวดและเจ็บข้ออยู่เป็นเดือน ไข้จะเป็นๆ หายๆ
- Fulminant Meningococcemia เป็นอย่างรุนแรง ระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทางาน อาจ
ช็อคถึงเสียชีวิตได้ ในเวลาไม่นานหลังจากเริ่มมีอาการ ส่วนมากเริ่มมีอาการไข้สูงทันทีอ่อนเพลีย
มาก แล้วเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีหลอดเลือดตีบทั่วร่างกาย มักจะไม่มีอาการเยื่อหุ้ม
สมองอักเสบ เพราะเป็นระยะสั้นๆ แล้วเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว
Neisseria meningitidis
อาการ
2. Meningitis มีอาการไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึมและสับสน อาการจะแย่ลงอย่างรวด อาจพบอาการที่
แสดงถึงการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง ผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีจ้าเลือดออกตามผิวหนัง
Neisseria meningitidis
อาการวินิจฉัย
การวินิจฉัยในเบื้องต้นในผู้ป่วยที่มีอาการของภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดว่า น่าจะเกิดจากเชื้อไข้กาฬหลัง
แอ่นให้ได้รวดเร็วที่สุด และรีบให้การรักษาไปก่อนในระหว่างที่รอผลการยืนยันการวินิจฉัยจากการตรวจ
ทางห้องปฏิบัติ การ โดยในเบื้องต้นเมื่อตรวจพบว่าผู้ป่วยมีไข้และมีผื่นที่เป็นจุดเลือดออกตามผิวหนัง
จะต้องสงสัยว่าอาจป่วยเป็นโรคไข้กาฬหลังแอ่นไว้เป็นลาดับต้นๆ ซึ่งแพทย์อาจทาการเจาะน้าไขสันหลัง
แล้วนาไปย้อมสี (Gram stain) ตรวจดูว่ามีเชื้อแบคทีเรียหรือไม่ เพื่อเป็นการยืนยันการวินิจฉัยใน
เบื้องต้นได้
Neisseria meningitidis
การรักษา
แนวทางการรักษาโรคไข้กาฬหลังแอ่น คือ ผู้ป่วยจะถูกรับตัวไว้รักษาในโรงพยาบาล และแยกห้องเพื่อ
ป้องกันการแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่น การรักษาหลักคือการให้ยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อแบคทีเรีย โดยเบื้องต้น หากยัง
ไม่ได้รับการพิสูจน์ที่แน่นอนจากทางห้องปฏิบัติการว่าเกิดจากเชื้อไข้กาฬหลังแอ่น แพทย์จะให้ยา
ปฏิชีวนะชนิดที่ครอบคลุมการฆ่าเชื้อได้หลายชนิด (Broad-spectrum antibiotics) เนื่องจากการเป็น
โรคติดเชื้อชนิดอื่นๆบางโรค ผู้ป่วยจะมีไข้และผื่นที่เป็นจุดเลือดออกคล้ายกับผู้ป่วยไข้กาฬหลังแอ่นได้ ยา
ที่ใช้ เช่น ยาในกลุ่ม Cephalosporin รุ่นที่ 3 หรือใช้ยา Meropenem เป็นต้น ในกรณีที่ทราบผลการ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการว่าเกิดจากเชื้อไข้กาฬหลังแอ่น แพทย์จะเลือก ใช้ยาปฏิชีวนะที่ตรงกับเชื้อ เช่น
ยา Penicillin Gหรือยา Chloramphenicol เป็นต้น
Neisseria meningitidis
การป้องกัน
1. หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารคัดหลั่งจากปากหรือจมูกของผู้ป่วยหรือพาหะนาโรค
2. หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่แออัด เช่น โรงภาพยนต์ สถานบันเทิง เป็นต้น
การฉีดวัคซีนป้องกัน ไม่จาเป็น แต่ควรฉีดในภาวะต่อไปนี้
- มีการระบาดจาก serogroup ที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน(serogroupA,C,Y และW 135)
- ผู้ที่จะเดินทางไปประเทศที่มีโรคนี้เป็นโรคประจาถิ่น เช่น ประเทศในทวีปแอฟริกา หรือประเทศ
ในตะวันออกกลาง เป็นต้น
- บุคคลที่ปฏิบัติงานประจาในห้องปฏิบัติการที่อาจมีการฟุ้งกระจายของเชื้อ Neisseria
meningitidis ที่อยู่ในรูปของสารละลาย
Vibrionaceae
Vibrionaceae เป็นแบคทีเรีย ชนิด Gram
negative cocci พบในน้าจืดและน้าเค็ม เป็น
Oxidese+ เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรค
ต่อมนุษย์ เชื้อที่สาคัญ ได้แก่
1. V.cholerae : ก่อให้เกิดโรคอหิวาตกโรค
2. V.parahaemolyticus :
ก่อโรคอาหารเป็นพิษ (food poisoning)
ก่อโรคกระเพาะอาหารและลาไส้อักเสบ
(gastroenteritis)
Vibrio cholerae
Neisseria meningitidis คือแบคทีเรียที่ก่อให้เกิด อหิวาตกโรค หรือโรคอหิวาต์ หรือโบราณเรียกว่าโรค
ห่า หรือโรคลงราก (Cholera) เป็นโรคเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชื่อวิบริโอ โคเลอรี (Vibrio
cholerae) ซึ่งก่อให้เกิดการอักเสบของลาไส้เล็กและส่งผลให้เกิดอาการท้องเสียรุนแรง เป็นสาเหตุให้
เสียชีวิตได้ภายในระยะเวลาเป็นชั่วโมง อหิวาตกโรคพบเกิดได้ในทุกอายุตั้งแต่เด็กไปจนถึง
ผู้สูงอายุ ผู้หญิงและผู้ชายมีโอกาสเกิดโรคได้เท่ากัน เป็นโรคพบบ่อยในประเทศยังไม่พัฒนา ซึ่งเกิดขึ้น
ตลอดทั้งปีและมีการระบาดเป็นครั้งคราว
Vibrio cholerae
อาการ
อหิวาตกโรคจะมีอาการหลังได้รับเชื้อแล้ว 2 - 3 ชั่วโมงไปจนถึงประมาณ 5 วัน (ระยะฟักตัวของโรค)
ทั้งนี้ขึ้นกับปริมาณเชื้อที่ได้รับและความรุนแรงของเชื้อซึ่งมีชนิดย่อยที่มีความ รุนแรงโรคต่างกัน โดย
อาการสาคัญคือ ท้องเสียเฉียบพลัน ท้องเสียเป็นน้าโกรก มีเศษอุจจาระปนได้เล็กน้อย อุจจาระมีสีขาว
เหมือนน้าซาวข้าว และมีกลิ่นเหม็นเหมือนคาวปลา อาจร่วมกับมี คลื่นไส้อาเจียนหรือไม่ก็ได้ และมักไม่
มีไข้ อาการอื่นๆที่พบร่วมได้คือ
Vibrio cholerae
อาการ
• ปวดท้อง แบบปวดบิด
• อาการจากภาวะขาดน้าและเกลือแร่ที่ออกมาพร้อมกับอุจจาระ เนื่องจากอุจจาระเป็นน้าอย่างมาก
รวมทั้งเมื่อมีอาเจียนร่วมด้วย อาการจากการขาดน้าและเกลือแร่ ที่สาคัญคือ
- กระหายน้ามาก , ปากคอแห้ง ผิวหนังแห้ง จนจับตั้งได้
- รอบดวงตาคล้า ลึกโบ๋ ในเด็กอ่อนจะร้องไห้ไม่มีน้าตาและมีกระหม่อมบุ๋ม
ปัสสาวะน้อย สีเหลืองเข้มมาก หรือไม่ถ่ายปัสสาวะเลย
เหนื่อยอ่อน อ่อนเพลียมาก , ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่า และโคม่าในที่สุด
Vibrio cholerae
วินิจฉัยอหิวาตกโรค
วินิจฉัยอหิวาตกโรคได้จากประวัติอาการ ประวัติการสัมผัสโรค ลักษณะของอุจจาระ การตรวจอุจจาระ และการเพาะเชื้อจาก
อุจจาระ (การตรวจยืนยันด้วยการเพาะเชื้อจากอุจจาระจะได้ผลแน่นอนที่สุด ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 2-3 วัน แต่อาจเพียง
ช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรคได้เท่านั้น เพราะอาการของผู้ป่วยอาจหายก่อน) ในผู้ป่วยที่มีอาการถ่ายเป็นน้าพุ่งไหลไม่หยุดที่อยู่ใน
ถิ่นที่มีการระบาดแพทย์จะสงสัยว่าเป็นอหิวาตกโรคไว้ก่อน (เพื่อจะได้รักษาได้ทันท่วงที) และจะให้การรักษาโดยการให้ดื่ม
สารละลายน้าตาลเกลือแร่ (ORS) หรือให้น้าเกลือทางหลอดเลือดทันทีถ้าไม่ได้ผลหรือได้ผลเร็วไม่เพียงพอหรือผู้ป่วยดื่มไม่ได้
สาหรับการตรวจร่างกายจะพบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะไม่มีไข้ มีเพียงส่วนน้อยที่อาจมีไข้ต่า ไม่มีอาการปวดท้อง และมักตรวจ
พบภาวะขาดน้าตั้งแต่ขนาดเล็กน้อยถึงรุนแรง ส่วนในรายที่เป็นรุนแรงจะพบภาวะช็อก (เหงื่อออก ตัวเย็น ชีพจรเต้นเร็ว
ความดันโลหิตต่า) หายใจเร็วจากภาวะเลือดเป็นกรด ส่วนในผู้ป่วยเด็กอาจพบว่ามีไข้ ชัก ซึม หรือหมดสติ
Vibrio cholerae
การรักษา
การให้น้าและเกลือแร่อย่างเพียงพอเพื่อป้องกันภาวะขาดน้า (มักให้ทาง
หลอดเลือดดาและการดื่มเท่าที่จะดื่มได้) ซึ่งเมื่อรุนแรงจะส่งผลให้โคม่า
และเสียชีวิต ได้ภายในระยะเวลาเป็นชั่วโมง ซึ่งบ่อยครั้งการรักษาให้น้า
และเกลือแร่จาเป็นต้องให้ในโรงพยาบาลโดยเป็นผู้ป่วยใน และแพทย์จะ
พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะเพราะช่วยให้โรคหายเร็วขึ้นและที่สาคัญช่วยฆ่าเชื้อ
ในอุจจาระ จึงลดโอกาสโรคติดต่อไปสู่ผู้อื่นและโอกาสระบาดของโรค
Vibrio cholerae
Vibrio parahaemolyticus
Vibrio parahaemolyticus เป็นแบคทีเรียในสกุล Vibrio ซึ่งเป็นแบคทีเรียแกรมลบ (Gram negative
bacteria) อยู่ในวงศ์ รูปร่างเป็นแท่ง เป็นแบคทีเรียก่อโรค (pathogen) ทาให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษ ทาให้
กระเพาะอาหารและลาไส้อักเสบ เป็นอันตรายทางอาหาร ประเภทอันตรายทางชีวภาพ (biological hazard)
Vibrio parahaemolyticus พบระบาดครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น (ค.ศ. 1950 หรือ พ.ศ. 2493) Fujino และ
คณะ แยกเชื้อจากอุจจาระผู้ป่วยที่เมืองโอซากา สาเหตุที่อาหารเป็นพิษเกิดจากการรับประทาน
"ชิราสุ shirasu" เดิมเรียกเชื้อนี้ว่า Pasteurella parahaemolyticus ประเทศญี่ปุ่น จีน ไต้หวัน อินเดีย
และหลายๆ ประเทศทางเอเชียรวมทั้งอเมริกามีรายงานว่า มากกว่า 50% ของอาหารเป็นพิษมีสาเหตุจาก
เชื้อ V. parahaemolyticus สาหรับประเทศไทยเชื้อนี้เป็นสาเหตุอันดับ 1 ที่ทาให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษ
Vibrio parahaemolyticus
เป็นแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในน้าบริเวณชายฝั่งทะเลปิด การตรวจพบเชื้อนี้ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของน้าทะเล
คือ ถ้าอุณหภูมิของน้าทะเลต่ากว่า 15 องศาเซลเซียส มักจะตรวจไม่พบเชื้อนี้ แม้ว่าแบคทีเรียจะยังมี
ชีวิตอยู่ในดินตะกอนก้นทะเลไม่ลึกมากนักก็ตาม เพราะแบคทีเรียไม่ทนต่อสภาวะที่มีความกดดันของ
อากาศต่า ซึ่งเป็นสภาวะของก้นทะเล ณ ระดับที่มีความลึกมากๆ ในน้าทะเลจะพบว่าแบคทีเรียชอบที่จะ
อาศัยอยู่กับสัตว์น้าจาพวกครัสตาเชียน เช่น กุ้ง กั้ง ปู มากกว่าสัตว์ทะเลชนิดอื่นๆ
Vibrio parahaemolyticus
อาการของโรค
เมื่อเข้าสู่ร่างกายเชื้อจะทวีจานวนขึ้นในลาไส้ มีอาการปวดท้อง อาจปวดเกร็ง ท้องเดิน อุจจาระเป็นน้า
มีกลิ่นเหม็นเหมือนกุ้งเน่า บางรายคล้ายเป็นบิด อุจจาระมีมูกเลือด มีไข้ต่า ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
อาการที่เป็นอาจหายได้เองภายใน 2 ถึง 5 วัน อัตราการตายต่า โรคนี้มักพบในฤดูร้อน ไม่ค่อยพบในฤดู
หนาว
Vibrio parahaemolyticus
การวินิจฉัยโรค
แพทย์วินิจฉัยโรคอาหารเป็นพิษได้จาก ประวัติอาการ อาหาร/น้าดื่มที่บริโภค คนอื่นที่กินด้วยกันมีอาการ
ไหม การตรวจร่างกาย อาจมีการตรวจเลือด ตรวจเชื้อ หรือ สารพิษ หรือ เพาะเชื้อ จากอาหาร/น้าดื่ม
หรือจากอุจจาระ และการตรวจอื่นๆเพิ่มเติม ทั้งนี้ขึ้นกับอาการผู้ป่วย และดุลพินิจของแพทย์
Vibrio parahaemolyticus
การรักษา
โรคอาหารเป็นพิษ ที่สาคัญที่สุด คือ รักษาประคับ ประคองตามอาการ ได้แก่ ป้องกันภาวะขาดน้าและ
ขาดสมดุลของเกลือแร่ซึ่งการรักษาโดยให้น้าเกลือทางหลอดเลือดเมื่อท้องเสียมาก ยาแก้ปวด ยา
บรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน และยาลดไข้ นอกจากนั้น คือ การรักษาตามสาเหตุ เช่นพิจารณาให้ยา
ปฏิชีวนะ เมื่อเกิดจากติดเชื้อแบคทีเรีย หรือ ให้ยาต้านสารพิษถ้าเป็นชนิดมียาต้าน เป็นต้น
Vibrio parahaemolyticus
การป้องกัน
รับประทานอาหารทะเลที่ทาให้สุกและยังร้อนๆ อยู่ เพราะเชื้อมักพบได้ในอาหารทะเล ในบางรายแม้ว่า
ทาให้สุกแล้วอาจวางไว้ปะปนกับอาหารทะเลที่ยังไม่ได้ทาให้สุกทาให้เชื้อผ่านจากอาหารดิบไปยังอาหารสุก
จึงควรแยกอาหารสุกและดิบออกจากกัน รวมทั้งแยกอุปกรณ์ในการประกอบอาหารหรือทาความสะอาด
อุปกรณ์สาหรับอาหารทะเลก่อนนาไปใช้กับอาหารชนิดอื่น และหลีกเลี่ยงการสัมผัสของบาดแผลเปิดกับ
น้าทะเลหรือน้ากร่อย
Vibrio parahaemolyticus
Vibrio gastroenteritis
Vibrio gastroenteritis เป็นแบคทีเรียที่ก่อให้เกิด โรคกระเพาะและลาไส้อักเสบ เป็นการอักเสบของ
กระเพาะอาหารหรือลาไส้เนื่องจากการติดเชื้อ ซึ่งนาไปสู่อาการ เช่น ท้องเสีย รู้สึกป่วย อาเจียน
และปวดในช่องท้อง ถ้าเกิดกับทารกหรือเด็กเล็กก็จะเป็นอันตรายมากขึ้นเพราะล่อแหลมต่อภาวะขาด
น้า กระเพาะอาหารและลาไส้อักเสบเป็นการติดเชื้อของลาไส้ ซึ่งมาจากการดื่มหรือรับประทานอาหาร
ที่ ปนเปื้อนด้วย เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส หรือ ปรสิต หรือจาก คน ที่มีการติดเชื้อ
Vibrio gastroenteritis
Vibrio gastroenteritis
อาการของโรค
ถ่ายเหลวเป็นน้า อาจมีเลือดและเมือก หรือเป็นมันหรือเป็นฟอง อาเจียนปวดท้อง ท้องอืด ปวด
มวนท้อง ไม่อยากอาหาร และ เป็นไข้
การวินิจฉัยโรค
แพทย์จะทาการซักประวัติ ตรวจร่างกาย ส่งตรวจเลือด และ อุจจาระเพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุของการ
ติดเชื้อ
Vibrio gastroenteritis
การรักษา
การดูแลด้วยตัวเองหากมีอาการกระเพาะอาหารและลาไส้อักเสบ ควรพักเป็นเวลาอย่างน้อย 48
ชั่วโมง หรือจนกว่าอาการจะดีขึ้น ดื่มน้า หรือเกลือแร่เพื่อป้องกันภาวะขาดน้า การใช้ยา แพทย์จะ
ให้ยาตามอาการ เช่น ถ้ามีอาการปวดท้องจะให้ยาแก้ปวด ถ้ามีถ่ายอุจจาระบ่อยจะให้ยาหยุดถ่าย
ถ้ามีอาเจียนจะให้ยาป้องกันอาเจียน การให้ยาปฏิชีวนะขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อที่ตรวจพบ หากมีการ
สูญเสียน้ามากอาจจะต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เพื่อให้ สารละลายทางหลอดเลือดดา
Plesiomonas
Plesiomonas shigelloides เป็นเชื้อแบคทีเรียชนิด
Gram-Negative มีรูปร่างเป็นแท่ง ซึ่งปกติพบได้ในน้า
ธรรมชาติ ปลา สัตว์น้า (Shellfish) จาพวกปู หอย
และกุ้ง และสัตว์ จาพวกวัว ควาย แพะ หมู แมว
สุนัข ลิง นกแร้ง งู และคางคก คนมักจะได้รับเชื้อ
ชนิดนี้จากการดื่มน้าหรือรับประทานอาหารที่ปนเปื้อน
เชื้อนี้เข้าไป หลังจากเชื้อฟักตัวอยู่ในคนประมาณ 20 -
24 ชั่วโมง จะทาให้เกิดอาการไข้ หนาวสั่น ปวดท้อง
คลื่นไส้ ท้องเสีย และอาเจียน ซึ่งมักจะมีอาการไม่
รุนแรง บางรายติดเชื้อโดยไม่มีอาการป่วย
Aeromonas
เชื้อแบคทีเรีย Aeromonas มีหลายชนิด แต่ชนิดที่พบบ่อย
และก่อให้เกิดโรคในคนเป็น Aeromonas Hydrophila เป็น
แบคทีเรียแกรมลบที่พบได้ในแหล่งน้าทั่วไป แต่แหล่งน้านิ่ง
อย่างบึง บ่อน้า บ่อปลา จะพบได้บ่อยกว่า และแน่นอน
สัตว์ที่อาศัยในแหล่งเหล่าน้าก็จะมีเชื้อนี้อยู่ด้วย ปกติคนเรา
มักจะรับเชื้อนี้เข้าไปในร่างกายโดยทางการกิน คือกลืนเอา
น้าจากแหล่งน้าที่มีเชื้อเข้าไปโดยตรง ตัวเชื้อนี้จะก่อให้เกิด
โรคในทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย
ถ่ายเป็นน้าเยอะ ร่างกายขาดน้า ความดันต่า เสียชีวิตได้
หากไม่ได้รับการรักษาให้ทันท่วงที
จัดทำโดย
น.ส. ดำรำวรรณ ภูผิวโคก เลขที่ 11 รหัสนักศึกษำ 593045011
น.ส. ทิฆัมพร สิทธิวงศ์ เลขที่ 12 รหัสนักศึกษำ 593045012
น.ส. ธนำนันต์ ดีแก้ว เลขที่ 13 รหัสนักศึกษำ 593045013
นำย ธันยธรณ์ นำมหนอง เลขที่ 14 รหัสนักศึกษำ 593045014
นำย ปฏิภำณ นันตัง เลขที่ 15 รหัสนักศึกษำ 593045015
สำขำ โสตทัศนศึกษำทำงกำรแพทย์ ชั้นปีที่ 2
(หัวหน้า)

More Related Content

What's hot

Enterobacteriaceae
EnterobacteriaceaeEnterobacteriaceae
EnterobacteriaceaeMicrobiology
 
All_ConstructionLawRe.pdf
All_ConstructionLawRe.pdfAll_ConstructionLawRe.pdf
All_ConstructionLawRe.pdfpr ng
 
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัดการใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัดMiss.Yupawan Triratwitcha
 
Microbiology - Enterics ( Citrobacter, Edwardsiella, & Arizonae )
Microbiology - Enterics ( Citrobacter, Edwardsiella, & Arizonae )Microbiology - Enterics ( Citrobacter, Edwardsiella, & Arizonae )
Microbiology - Enterics ( Citrobacter, Edwardsiella, & Arizonae )Hanna Palmos
 
Nocardia, Actinomyces and Streptomyces
 Nocardia, Actinomyces and  Streptomyces  Nocardia, Actinomyces and  Streptomyces
Nocardia, Actinomyces and Streptomyces Sima Rugarabamu
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50Wichai Likitponrak
 
7 วิชาสามัญ คณิต 57 พร้อมเฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57 พร้อมเฉลย7 วิชาสามัญ คณิต 57 พร้อมเฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57 พร้อมเฉลยครู กรุณา
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติพัน พัน
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1narong2508
 
จำนวนจริง_9วิชาสามัญ(55-58)
จำนวนจริง_9วิชาสามัญ(55-58)จำนวนจริง_9วิชาสามัญ(55-58)
จำนวนจริง_9วิชาสามัญ(55-58)Thanuphong Ngoapm
 
ตำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์
ตำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์ตำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์
ตำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์sornblog2u
 
Артеріосклероз і тромбоз судин
Артеріосклероз і тромбоз судинАртеріосклероз і тромбоз судин
Артеріосклероз і тромбоз судинLidia Moskalenko
 

What's hot (20)

Enterobacteriaceae
EnterobacteriaceaeEnterobacteriaceae
Enterobacteriaceae
 
All_ConstructionLawRe.pdf
All_ConstructionLawRe.pdfAll_ConstructionLawRe.pdf
All_ConstructionLawRe.pdf
 
ฟุตบอล
ฟุตบอลฟุตบอล
ฟุตบอล
 
Pat2 เม.ย. 57
Pat2 เม.ย. 57Pat2 เม.ย. 57
Pat2 เม.ย. 57
 
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัดการใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
การใช้แมลงน้ำเป็นดัชนีชี้วัด
 
Mycetoma.ppt
Mycetoma.pptMycetoma.ppt
Mycetoma.ppt
 
แผนภาพต้นไม้11
แผนภาพต้นไม้11แผนภาพต้นไม้11
แผนภาพต้นไม้11
 
Microbiology - Enterics ( Citrobacter, Edwardsiella, & Arizonae )
Microbiology - Enterics ( Citrobacter, Edwardsiella, & Arizonae )Microbiology - Enterics ( Citrobacter, Edwardsiella, & Arizonae )
Microbiology - Enterics ( Citrobacter, Edwardsiella, & Arizonae )
 
Diff mediasv
Diff mediasvDiff mediasv
Diff mediasv
 
Nocardia, Actinomyces and Streptomyces
 Nocardia, Actinomyces and  Streptomyces  Nocardia, Actinomyces and  Streptomyces
Nocardia, Actinomyces and Streptomyces
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
7 วิชาสามัญ คณิต 57 พร้อมเฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57 พร้อมเฉลย7 วิชาสามัญ คณิต 57 พร้อมเฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57 พร้อมเฉลย
 
กสพท. เคมี 2556
กสพท. เคมี 2556กสพท. เคมี 2556
กสพท. เคมี 2556
 
แผนภาพต้นไม้8
แผนภาพต้นไม้8แผนภาพต้นไม้8
แผนภาพต้นไม้8
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
 
จำนวนจริง_9วิชาสามัญ(55-58)
จำนวนจริง_9วิชาสามัญ(55-58)จำนวนจริง_9วิชาสามัญ(55-58)
จำนวนจริง_9วิชาสามัญ(55-58)
 
ตำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์
ตำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์ตำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์
ตำราพรหมชาติ ฉบับสมบูรณ์
 
Артеріосклероз і тромбоз судин
Артеріосклероз і тромбоз судинАртеріосклероз і тромбоз судин
Артеріосклероз і тромбоз судин
 

Similar to Gram-negative bacteria / oxidase positive

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
Preventing cross contamination video
Preventing cross contamination videoPreventing cross contamination video
Preventing cross contamination videoFood Hygiene Asia
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาsportrnm
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 

Similar to Gram-negative bacteria / oxidase positive (9)

โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
Preventing cross contamination video
Preventing cross contamination videoPreventing cross contamination video
Preventing cross contamination video
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
1129
11291129
1129
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 

Gram-negative bacteria / oxidase positive

  • 2. Gram-negative bacteria การที่จะมองเห็นตัวเชื้อแบคทีเรียได้ยังจาเป็นต้องย้อมสีแบคทีเรีย เสียก่อน วิธีย้อมสีแบคทีเรียทางการแพทย์เรียกว่าการย้อมสีแกรม (Gram stain) ซึ่งเชื้อแบคทีเรียแต่ละชนิดจะติดสีแกรมแตกต่างกัน ไป แบคทีเรียติดสีแดง เรียกว่า ติดสีแกรมลบ (Gram negative)
  • 4. Gram-negative bacteria oxidase positive เชื้อแบคทีเรียแกรมลบ (Gram negative) ที่เป็น oxidase positive ได้แก่ • Neisseria • Vibrionaceae • Plesiomonas • Aeromonas
  • 5. Neisseria Neisseria เป็นแบคทีเรีย ชนิด Gram negative cocci เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคต่อมนุษย์ มี 2 ชนิด ได้แก่ 1. Neisseria gonorrhoeae ก่อให้เกิดโรคหนองใน 2. Neisseria meningitidis ก่อให้เกิดโรคกาฬหลังแอ่น
  • 7. Neisseria gonorrhoeae เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรค หนองใน หรือ โรคโกโนเรีย (Gonorrhea) เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (กามโรค) ที่พบได้มากเป็นอันดับต้น ๆ ของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ อาการมักเป็นรุนแรงและชัดเจนจนผู้ป่วยต้องมาพบแพทย์ เพราะหากปล่อยทิ้งไว้ไม่รักษาอาการจะดีขึ้นได้ เองเพียงเล็กน้อย แต่ตัวโรคยังคงเป็นอยู่ และอาจทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาได้ Neisseria gonorrhoeae
  • 8. สาเหตุของหนองใน หนองในเกิดจากการติดเชื้อหนองในซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า “ไนซีเรีย โกโนเรียอี” (Neisseria gonorrhoeae) หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า “โกโนค็อกคัส” (Gonococcus ) ซึ่งสามารถ ตรวจพบได้ในน้าอสุจิและสารน้าในช่องคลอด จึงถ่ายทอดผ่านทางการมีเพศสัมพันธ์เป็นหลัก เชื้อ แบคทีเรียชนิดนี้สามารถเจริญได้ดีในที่ชื้นและที่อบอุ่นของระบบอวัยวะสืบพันธุ์ตั้งแต่ปากมดลูก มดลูก ปีกมดลูก ท่อปัสสาวะ (ทั้งฝ่ายชายและฝ่ายหญิง) นอกจากนี้ยังสามารถเจริญในบริเวณอื่น ๆ ได้ด้วย เช่น ทวารหนัก เยื่อบุตา ช่องปากคอ เป็นต้น Neisseria gonorrhoeae
  • 9. เพศหญิง ในระยะแรก ๆ มักจะไม่มีอาการแสดงออกมา แต่ในระยะต่อมาจะมีอาการตกขาว ผิดปกติ เช่น มีปริมาณมากขึ้น เป็นหนองสีเหลืองหรือสีเขียว มีกลิ่นเหม็น ไม่คัน มีอาการขัดเบา และแสบร้อนเมื่อปัสสาวะ ปัสสาวะขุ่น ปวดท้องน้อย เลือดออกกะปริดกะปรอยในระหว่างรอบ เดือน (พบได้น้อย) เป็นต้น ถ้ามีการอักเสบของปีกมดลูก จะทาให้มีไข้สูง หนาวสั่น ปวด และกด เจ็บตรงท้องน้อยแบบปีกมดลูกอักเสบ (ประมาณ 50% ของฝ่ายหญิงที่ติดเชื้อหนองในอาจไม่มี อาการเหล่านี้แสดงออกมาเลยก็ได้ แต่ยังสามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้อยู่) Neisseria gonorrhoeae อาการของหนองใน
  • 10. อาการของหนองใน เพศชาย หลังจากได้รับเชื้อประมาณ 2-10 วัน จะมีอาการแสบในลากล้องเวลาถ่ายปัสสาวะ หรือ ถ่ายปัสสาวะขัด มีหนองไหลออกมาจากท่อปัสสาวะ ในระยะแรกอาจจะแค่ไหลซึมเป็นมูกใส ๆ เล็กน้อยโดยไม่ใช่น้าปัสสาวะหรือน้าอสุจิ แต่ในอีก 12 ชั่วโมงต่อมาจะกลายเป็นหนองสีเหลืองข้น และจะออกมากคล้ายเส้นก๋วยเตี๋ยว ในบางรายอาจมีอาการปวดและบวมของถุงอัณฑะ หรือมีการ อักเสบที่หนังหุ้มปลายองคชาต (พบได้น้อย) ร่วมด้วย (ประมาณ 10% ของฝ่ายชายที่ติดเชื้อหนอง ในอาจไม่มีอาการเหล่านี้แสดงออกมาเลยก็ได้ แต่ยังสามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้อยู่) Neisseria gonorrhoeae
  • 11. อาการของหนองใน ทั้งสองเพศ หากติดเชื้อในลาคอ อาจทาให้เกิดอาการเจ็บคอ เป็นไข้ หากติดเชื้อในทวารหนัก อาจทาให้เกิดอาการปวดหน่วง คัน หรืออาจมีน้าคล้ายหนองออกมา โดยเฉพาะในขณะขับถ่าย และหากติดเชื้อที่เยื่อบุตา อาจทาให้มีอาการเจ็บปวด ระคายเคือง และมีหนองไหล อย่างไรก็ตาม การติดเชื้อในตาแหน่งใด ๆ ก็ตาม อาจไม่มีอาการแสดงออกมาเลยก็ได้ นอกจากอาการที่กล่าว มาแล้วยังอาจมีต่อมน้าเหลืองที่ขาหนีบ (ไข่ดัน) บวมและเจ็บด้วย Neisseria gonorrhoeae
  • 12. การวินิจฉัยโรคหนองในแท้ เราสามารถรู้ว่าเป็นโรคหนองในแท้หรือไม่โดยการตรวจ • นาหนองหรือปัสสาวะมาตรวจ PCR • นาหนองมาย้อมหาเชื้อ • นาหนองไปเพาะเชื้อ • ข้อสาคัญคือท่านอาจจะต้องตรวจหาโรคที่ติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ชนิดอื่นร่วมด้วย Neisseria gonorrhoeae
  • 13. วิธีรักษาโรคหนองใน • หากสงสัยว่าเป็นหนองใน ควรตรวจยืนยันด้วยการนาหนองไปย้อมสีและส่องดูด้วยกล้อง จุลทรรศน์ หรือนาไปเพาะเชื้อ ถ้าพบว่าเป็นโรคหนองในจริง แพทย์จะให้ยาปฏิชีวนะขนาน ใดขนานหนึ่ง • ผู้ที่เป็นโรคหนองในแท้มักจะเป็นหนองในเทียมจากการติดเชื้อ (Chlamydia) ร่วมด้วย ประมาณ 30% แพทย์จึงมักรักษาไปพร้อมกันทั้งสองโรคด้วยการให้ยาดอกซีไซคลีน (Doxycycline) ไปกินครั้งละ 100 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง เป็นเวลา 1-2 สัปดาห์ Neisseria gonorrhoeae
  • 14. วิธีรักษาโรคหนองใน • ผู้ที่เป็นหนองในควรได้รับการเจาะเลือดตรวจวีดีอาร์แอล (VDRL – Venereal Disease Research Laboratory) เพื่อให้แน่ใจว่าตนไม่มีการติดเชื้อซิฟิลิสร่วมด้วย ถ้าผลตรวจวีดีอาร์ แอลเป็นผลบวกหรือที่เรียกว่า “เลือดบวก” ก็แสดงว่าเป็นซิฟิลิส โดยควรตรวจตั้งแต่ครั้ง แรกก่อนให้การรักษาและตรวจซ้าอีกครั้งในอีก 3 เดือนถัดไป นอกจากนี้ควรตรวจหาเชื้อเอช ไอวี (HIV) และโรคไวรัสตับอักเสบบีพร้อมกันไปด้วย • ในผู้หญิงที่มีอาการหนองไหลออกจากท่อปัสสาวะร่วมกับมีไข้สูง ปวดท้องน้อย ขัดเบา ตก ขาว อาจเป็นปีกมดลูกอักเสบเฉียบพลัน ควรรีบไปพบแพทย์ภายใน 24 ชั่วโมง Neisseria gonorrhoeae
  • 15. วิธีรักษาโรคหนองใน • ในกรณีที่เกิดภาวะแทรกซ้อนแล้ว เช่น อุ้งเชิงกรานอักเสบ ปวดท้องน้อยเรื้อรัง เกิดภาวะมี บุตรยาก ผู้ป่วยอาจต้องนอนรับการรักษาในโรงพยาบาลเพื่อรับ • ในกรณีที่หญิงตั้งครรภ์เป็นหนองใน ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อรักษาโรคนี้ให้หายขาด มิฉะนั้น ลูกอาจติดเชื้อในระหว่างคลอด ทาให้ตาอักเสบรุนแรงจนถึงขั้นตาบอดได้ หรืออาจเกิดการติด เชื้อรุนแรงกับอวัยวะอื่น ๆ ที่เป็นอันตรายต่อชีวิตของลูกได้ (ด้วยเหตุนี้แพทย์จึงมีการหยอด ตาทารกแรกเกิดด้วย 1% Silver Nitrate ทุกรายเพื่อลดโอกาสการติดเชื้อชนิดนี้) นอกจากนี้ โรคหนองในที่มีอาการรุนแรง ยังอาจกระตุ้นให้เกิดการคลอดก่อนกาหนดได้อีกด้วย Neisseria gonorrhoeae
  • 16. วิธีป้องกันโรคหนองใน 1. เลือกมีคู่นอนเพียงคนเดียว และจะแน่นอนยิ่งขึ้นหากคู่นอนได้รับการตรวจแล้วว่าไม่มีการติด เชื้อใด ๆ 2. หลีกเลี่ยงการเที่ยวกลางคืนหรือการสาส่อนทางเพศ และถ้าจะหลับนอนกับคนอื่นหรือคนที่ สงสัยว่าจะเป็นหนองใน ควรใช้ถุงยางอนามัยเสมอ ซึ่งจะช่วยป้องกันโรคนี้ได้เกือบ 100% (ส่วนโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดอื่น ๆ อาจจะได้ผลไม่เต็มที่ และยังมีโอกาสติดเชื้อได้บ้าง) 3. หลีกเลี่ยงการใช้ผ้าเช็ดหน้าและผ้าเช็ดตัวร่วมกับผู้ติดเชื้อ เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ Neisseria gonorrhoeae
  • 17. วิธีป้องกันโรคหนองใน 4. ควรดื่มน้าก่อนร่วมเพศและถ่ายปัสสาวะทันทีหลังร่วมเพศ หรือฟอกล้างสบู่ทันทีหลังร่วมเพศ อาจช่วยลดการติดเชื้อลงได้บ้าง แต่ไม่ใช่ว่าจะได้ผลทุกราย 5. กินยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันโรคภายหลังการร่วมเพศอาจได้ผลบ้าง แต่ต้องเป็นยาชนิดและขนาด เดียวกันกับที่ใช้ในการรักษา (ซึ่งดูแล้วไม่ค่อยคุ้มเท่าใดนัก สู้รอให้มีอาการแสดงออกมาแล้ว ค่อยรักษาไม่ได้ อีกทั้งยังไม่อาจป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ชนิดอื่น ๆ ได้) 6. การกินยาล้างลากล้อง ซึ่งเป็นยาระงับเชื้อ (Antiseptic) ไม่ใช่ยาทาลายเชื้อ จึงไม่ได้ผลในการ ป้องกัน (ยานี้กินแล้วจะทาให้ปัสสาวะเป็นสีแปลก ๆ เช่น สีแดง สีเขียว) Neisseria gonorrhoeae
  • 19. Neisseria meningitidis เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคไข้กาฬหลัง แอ่น เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งเป็นสาเหตุทาให้เกิดการอักเสบ ของเยื่อหุ้มสมองและไขสันหลัง โรคไข้กาฬหลังแอ่นเกิดในบุคคลทุกวัย พบมากทั้งในช่วงอายุ 1 เดือน- 15 ปี(25-40%) และมากกว่า 15 ปี (10-35%) โรคนี้เกิดทั่วโลกมีสาเหตุจากเชื้อ Neisseria meningitidis เชื้อ นี้พบในลาคอของคนปกติ ประมาณร้อยละ 5 โดยไม่ทาให้เกิดโรค ผู้ติด เชื้อส่วนน้อยเท่านั้นที่จะเกิดอาการโรค พบได้ประปรายตลอดทั้งปี และมี การระบาดในบางพื้นที่เป็นครั้งคราว Neisseria meningitidis
  • 20. สาเหตุ เกิดจากเชื้อ Neisseria meningitidis ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรีย แกรมลบ รูปร่างกลมคล้ายเมล็ดถั่ว เรียง ตัวกันอยู่เป็นคู่ๆ โดยหันด้านเรียบเข้าหากัน ไม่สร้างสปอร์ แบ่งเป็น 13 serogroup ได้แก่ A,B,C,D,E29,H,I,K,L,W135,X,Y และ Z ระยะฟักตัว ประมาณ 2-10 วัน โดยเฉลี่ย 3-4 วัน Neisseria meningitidis
  • 21. วิธีการติดต่อ เชื้อกระจายจากช่องปาก ช่องจมูกจากคนหนึ่งสู่อีกคนโดยตรง ผ่านระบบทางเดินหายใจ เชื้อนี้ทาให้เกิดโรคได้ 3 แบบ 1. แบบไม่มีอาการหรืออาการน้อย เชื้อเจริญในเนโซฟาริ้งซ์ ทาให้เกิดการอักเสบเฉพาะที่เล็กน้อย มักไม่มี อาการ ส่วนใหญ่พบกลุ่มนี้มาก และมักเป็นต้นตอของการแพร่เชื้อต่อไปได้อีก 2. แบบเชื้อแพร่เข้ากระแสเลือดหรือเลือดเป็นพิษ (meningococcemia) เชื้อเข้าในกระแสเลือด โดย เลือดจะมาหล่อเลี้ยงที่ปลายหลอดเลือดเป็นจานวนมาก ผู้ป่วยจะมีผื่น เลือดออกตามผิวหนัง ในรายที่ รุนแรงจะมีเลือดออกในลาไส้และต่อมหมวกไต 3. แบบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (meningitidis) เชื้อที่เข้าเยื่อหุ้มสมองทาให้เกิดอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ Neisseria meningitidis
  • 22. Neisseria meningitidis อาการ ได้แก่ ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้าเลือด(pink macules)ขึ้นตามผิวหนัง ร่วมด้วย และอาจเกิดภาวะช็อกอย่างรวดเร็ว ส่วนใหญ่มาด้วยอาการสาคัญ 2 อย่าง คือ 1. Meningococcemia - Acute Meningococcemia อาการเกิดอย่างฉับพลัน มีอาการปวดศีรษะ เจ็บคอและไอ เป็น อาการนามาก่อน ตามด้วยไข้สูง หนาวสั่น ปวดตามข้อและตามกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะที่ขาและหลัง นอกจากนี้ อาจมาด้วยไข้และมีผื่นแดงจ้าขึ้นตามตัว ใน 2-3 วันต่อมา จะเปลี่ยนเป็นสีคล้าจนเป็น สะเก็ดสีดา บางทีเป็นตุ่มน้ามีจุดแดงอยู่ตรงกลาง ส่วนใหญ่จะมีผื่นหลังไข้ขึ้น 24-48 ชั่วโมง
  • 23. Neisseria meningitidis อาการ - Chronic Meningococcemia พบได้น้อย ส่วนใหญ่มักมีไข้ ผื่นตามผิวหนัง อาจเป็น ผื่น แดงจ้า ปวดและเจ็บข้ออยู่เป็นเดือน ไข้จะเป็นๆ หายๆ - Fulminant Meningococcemia เป็นอย่างรุนแรง ระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทางาน อาจ ช็อคถึงเสียชีวิตได้ ในเวลาไม่นานหลังจากเริ่มมีอาการ ส่วนมากเริ่มมีอาการไข้สูงทันทีอ่อนเพลีย มาก แล้วเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีหลอดเลือดตีบทั่วร่างกาย มักจะไม่มีอาการเยื่อหุ้ม สมองอักเสบ เพราะเป็นระยะสั้นๆ แล้วเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว
  • 24. Neisseria meningitidis อาการ 2. Meningitis มีอาการไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึมและสับสน อาการจะแย่ลงอย่างรวด อาจพบอาการที่ แสดงถึงการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง ผู้ป่วยส่วนหนึ่งจะมีจ้าเลือดออกตามผิวหนัง
  • 25. Neisseria meningitidis อาการวินิจฉัย การวินิจฉัยในเบื้องต้นในผู้ป่วยที่มีอาการของภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดว่า น่าจะเกิดจากเชื้อไข้กาฬหลัง แอ่นให้ได้รวดเร็วที่สุด และรีบให้การรักษาไปก่อนในระหว่างที่รอผลการยืนยันการวินิจฉัยจากการตรวจ ทางห้องปฏิบัติ การ โดยในเบื้องต้นเมื่อตรวจพบว่าผู้ป่วยมีไข้และมีผื่นที่เป็นจุดเลือดออกตามผิวหนัง จะต้องสงสัยว่าอาจป่วยเป็นโรคไข้กาฬหลังแอ่นไว้เป็นลาดับต้นๆ ซึ่งแพทย์อาจทาการเจาะน้าไขสันหลัง แล้วนาไปย้อมสี (Gram stain) ตรวจดูว่ามีเชื้อแบคทีเรียหรือไม่ เพื่อเป็นการยืนยันการวินิจฉัยใน เบื้องต้นได้
  • 26. Neisseria meningitidis การรักษา แนวทางการรักษาโรคไข้กาฬหลังแอ่น คือ ผู้ป่วยจะถูกรับตัวไว้รักษาในโรงพยาบาล และแยกห้องเพื่อ ป้องกันการแพร่เชื้อไปสู่ผู้อื่น การรักษาหลักคือการให้ยาปฏิชีวนะฆ่าเชื้อแบคทีเรีย โดยเบื้องต้น หากยัง ไม่ได้รับการพิสูจน์ที่แน่นอนจากทางห้องปฏิบัติการว่าเกิดจากเชื้อไข้กาฬหลังแอ่น แพทย์จะให้ยา ปฏิชีวนะชนิดที่ครอบคลุมการฆ่าเชื้อได้หลายชนิด (Broad-spectrum antibiotics) เนื่องจากการเป็น โรคติดเชื้อชนิดอื่นๆบางโรค ผู้ป่วยจะมีไข้และผื่นที่เป็นจุดเลือดออกคล้ายกับผู้ป่วยไข้กาฬหลังแอ่นได้ ยา ที่ใช้ เช่น ยาในกลุ่ม Cephalosporin รุ่นที่ 3 หรือใช้ยา Meropenem เป็นต้น ในกรณีที่ทราบผลการ ตรวจทางห้องปฏิบัติการว่าเกิดจากเชื้อไข้กาฬหลังแอ่น แพทย์จะเลือก ใช้ยาปฏิชีวนะที่ตรงกับเชื้อ เช่น ยา Penicillin Gหรือยา Chloramphenicol เป็นต้น
  • 27. Neisseria meningitidis การป้องกัน 1. หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับสารคัดหลั่งจากปากหรือจมูกของผู้ป่วยหรือพาหะนาโรค 2. หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่แออัด เช่น โรงภาพยนต์ สถานบันเทิง เป็นต้น การฉีดวัคซีนป้องกัน ไม่จาเป็น แต่ควรฉีดในภาวะต่อไปนี้ - มีการระบาดจาก serogroup ที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน(serogroupA,C,Y และW 135) - ผู้ที่จะเดินทางไปประเทศที่มีโรคนี้เป็นโรคประจาถิ่น เช่น ประเทศในทวีปแอฟริกา หรือประเทศ ในตะวันออกกลาง เป็นต้น - บุคคลที่ปฏิบัติงานประจาในห้องปฏิบัติการที่อาจมีการฟุ้งกระจายของเชื้อ Neisseria meningitidis ที่อยู่ในรูปของสารละลาย
  • 28. Vibrionaceae Vibrionaceae เป็นแบคทีเรีย ชนิด Gram negative cocci พบในน้าจืดและน้าเค็ม เป็น Oxidese+ เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรค ต่อมนุษย์ เชื้อที่สาคัญ ได้แก่ 1. V.cholerae : ก่อให้เกิดโรคอหิวาตกโรค 2. V.parahaemolyticus : ก่อโรคอาหารเป็นพิษ (food poisoning) ก่อโรคกระเพาะอาหารและลาไส้อักเสบ (gastroenteritis)
  • 30. Neisseria meningitidis คือแบคทีเรียที่ก่อให้เกิด อหิวาตกโรค หรือโรคอหิวาต์ หรือโบราณเรียกว่าโรค ห่า หรือโรคลงราก (Cholera) เป็นโรคเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชื่อวิบริโอ โคเลอรี (Vibrio cholerae) ซึ่งก่อให้เกิดการอักเสบของลาไส้เล็กและส่งผลให้เกิดอาการท้องเสียรุนแรง เป็นสาเหตุให้ เสียชีวิตได้ภายในระยะเวลาเป็นชั่วโมง อหิวาตกโรคพบเกิดได้ในทุกอายุตั้งแต่เด็กไปจนถึง ผู้สูงอายุ ผู้หญิงและผู้ชายมีโอกาสเกิดโรคได้เท่ากัน เป็นโรคพบบ่อยในประเทศยังไม่พัฒนา ซึ่งเกิดขึ้น ตลอดทั้งปีและมีการระบาดเป็นครั้งคราว Vibrio cholerae
  • 31. อาการ อหิวาตกโรคจะมีอาการหลังได้รับเชื้อแล้ว 2 - 3 ชั่วโมงไปจนถึงประมาณ 5 วัน (ระยะฟักตัวของโรค) ทั้งนี้ขึ้นกับปริมาณเชื้อที่ได้รับและความรุนแรงของเชื้อซึ่งมีชนิดย่อยที่มีความ รุนแรงโรคต่างกัน โดย อาการสาคัญคือ ท้องเสียเฉียบพลัน ท้องเสียเป็นน้าโกรก มีเศษอุจจาระปนได้เล็กน้อย อุจจาระมีสีขาว เหมือนน้าซาวข้าว และมีกลิ่นเหม็นเหมือนคาวปลา อาจร่วมกับมี คลื่นไส้อาเจียนหรือไม่ก็ได้ และมักไม่ มีไข้ อาการอื่นๆที่พบร่วมได้คือ Vibrio cholerae
  • 32. อาการ • ปวดท้อง แบบปวดบิด • อาการจากภาวะขาดน้าและเกลือแร่ที่ออกมาพร้อมกับอุจจาระ เนื่องจากอุจจาระเป็นน้าอย่างมาก รวมทั้งเมื่อมีอาเจียนร่วมด้วย อาการจากการขาดน้าและเกลือแร่ ที่สาคัญคือ - กระหายน้ามาก , ปากคอแห้ง ผิวหนังแห้ง จนจับตั้งได้ - รอบดวงตาคล้า ลึกโบ๋ ในเด็กอ่อนจะร้องไห้ไม่มีน้าตาและมีกระหม่อมบุ๋ม ปัสสาวะน้อย สีเหลืองเข้มมาก หรือไม่ถ่ายปัสสาวะเลย เหนื่อยอ่อน อ่อนเพลียมาก , ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่า และโคม่าในที่สุด Vibrio cholerae
  • 33. วินิจฉัยอหิวาตกโรค วินิจฉัยอหิวาตกโรคได้จากประวัติอาการ ประวัติการสัมผัสโรค ลักษณะของอุจจาระ การตรวจอุจจาระ และการเพาะเชื้อจาก อุจจาระ (การตรวจยืนยันด้วยการเพาะเชื้อจากอุจจาระจะได้ผลแน่นอนที่สุด ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 2-3 วัน แต่อาจเพียง ช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรคได้เท่านั้น เพราะอาการของผู้ป่วยอาจหายก่อน) ในผู้ป่วยที่มีอาการถ่ายเป็นน้าพุ่งไหลไม่หยุดที่อยู่ใน ถิ่นที่มีการระบาดแพทย์จะสงสัยว่าเป็นอหิวาตกโรคไว้ก่อน (เพื่อจะได้รักษาได้ทันท่วงที) และจะให้การรักษาโดยการให้ดื่ม สารละลายน้าตาลเกลือแร่ (ORS) หรือให้น้าเกลือทางหลอดเลือดทันทีถ้าไม่ได้ผลหรือได้ผลเร็วไม่เพียงพอหรือผู้ป่วยดื่มไม่ได้ สาหรับการตรวจร่างกายจะพบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะไม่มีไข้ มีเพียงส่วนน้อยที่อาจมีไข้ต่า ไม่มีอาการปวดท้อง และมักตรวจ พบภาวะขาดน้าตั้งแต่ขนาดเล็กน้อยถึงรุนแรง ส่วนในรายที่เป็นรุนแรงจะพบภาวะช็อก (เหงื่อออก ตัวเย็น ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่า) หายใจเร็วจากภาวะเลือดเป็นกรด ส่วนในผู้ป่วยเด็กอาจพบว่ามีไข้ ชัก ซึม หรือหมดสติ Vibrio cholerae
  • 34. การรักษา การให้น้าและเกลือแร่อย่างเพียงพอเพื่อป้องกันภาวะขาดน้า (มักให้ทาง หลอดเลือดดาและการดื่มเท่าที่จะดื่มได้) ซึ่งเมื่อรุนแรงจะส่งผลให้โคม่า และเสียชีวิต ได้ภายในระยะเวลาเป็นชั่วโมง ซึ่งบ่อยครั้งการรักษาให้น้า และเกลือแร่จาเป็นต้องให้ในโรงพยาบาลโดยเป็นผู้ป่วยใน และแพทย์จะ พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะเพราะช่วยให้โรคหายเร็วขึ้นและที่สาคัญช่วยฆ่าเชื้อ ในอุจจาระ จึงลดโอกาสโรคติดต่อไปสู่ผู้อื่นและโอกาสระบาดของโรค Vibrio cholerae
  • 36. Vibrio parahaemolyticus เป็นแบคทีเรียในสกุล Vibrio ซึ่งเป็นแบคทีเรียแกรมลบ (Gram negative bacteria) อยู่ในวงศ์ รูปร่างเป็นแท่ง เป็นแบคทีเรียก่อโรค (pathogen) ทาให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษ ทาให้ กระเพาะอาหารและลาไส้อักเสบ เป็นอันตรายทางอาหาร ประเภทอันตรายทางชีวภาพ (biological hazard) Vibrio parahaemolyticus พบระบาดครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่น (ค.ศ. 1950 หรือ พ.ศ. 2493) Fujino และ คณะ แยกเชื้อจากอุจจาระผู้ป่วยที่เมืองโอซากา สาเหตุที่อาหารเป็นพิษเกิดจากการรับประทาน "ชิราสุ shirasu" เดิมเรียกเชื้อนี้ว่า Pasteurella parahaemolyticus ประเทศญี่ปุ่น จีน ไต้หวัน อินเดีย และหลายๆ ประเทศทางเอเชียรวมทั้งอเมริกามีรายงานว่า มากกว่า 50% ของอาหารเป็นพิษมีสาเหตุจาก เชื้อ V. parahaemolyticus สาหรับประเทศไทยเชื้อนี้เป็นสาเหตุอันดับ 1 ที่ทาให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษ Vibrio parahaemolyticus
  • 37. เป็นแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในน้าบริเวณชายฝั่งทะเลปิด การตรวจพบเชื้อนี้ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของน้าทะเล คือ ถ้าอุณหภูมิของน้าทะเลต่ากว่า 15 องศาเซลเซียส มักจะตรวจไม่พบเชื้อนี้ แม้ว่าแบคทีเรียจะยังมี ชีวิตอยู่ในดินตะกอนก้นทะเลไม่ลึกมากนักก็ตาม เพราะแบคทีเรียไม่ทนต่อสภาวะที่มีความกดดันของ อากาศต่า ซึ่งเป็นสภาวะของก้นทะเล ณ ระดับที่มีความลึกมากๆ ในน้าทะเลจะพบว่าแบคทีเรียชอบที่จะ อาศัยอยู่กับสัตว์น้าจาพวกครัสตาเชียน เช่น กุ้ง กั้ง ปู มากกว่าสัตว์ทะเลชนิดอื่นๆ Vibrio parahaemolyticus
  • 38. อาการของโรค เมื่อเข้าสู่ร่างกายเชื้อจะทวีจานวนขึ้นในลาไส้ มีอาการปวดท้อง อาจปวดเกร็ง ท้องเดิน อุจจาระเป็นน้า มีกลิ่นเหม็นเหมือนกุ้งเน่า บางรายคล้ายเป็นบิด อุจจาระมีมูกเลือด มีไข้ต่า ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน อาการที่เป็นอาจหายได้เองภายใน 2 ถึง 5 วัน อัตราการตายต่า โรคนี้มักพบในฤดูร้อน ไม่ค่อยพบในฤดู หนาว Vibrio parahaemolyticus
  • 39. การวินิจฉัยโรค แพทย์วินิจฉัยโรคอาหารเป็นพิษได้จาก ประวัติอาการ อาหาร/น้าดื่มที่บริโภค คนอื่นที่กินด้วยกันมีอาการ ไหม การตรวจร่างกาย อาจมีการตรวจเลือด ตรวจเชื้อ หรือ สารพิษ หรือ เพาะเชื้อ จากอาหาร/น้าดื่ม หรือจากอุจจาระ และการตรวจอื่นๆเพิ่มเติม ทั้งนี้ขึ้นกับอาการผู้ป่วย และดุลพินิจของแพทย์ Vibrio parahaemolyticus
  • 40. การรักษา โรคอาหารเป็นพิษ ที่สาคัญที่สุด คือ รักษาประคับ ประคองตามอาการ ได้แก่ ป้องกันภาวะขาดน้าและ ขาดสมดุลของเกลือแร่ซึ่งการรักษาโดยให้น้าเกลือทางหลอดเลือดเมื่อท้องเสียมาก ยาแก้ปวด ยา บรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน และยาลดไข้ นอกจากนั้น คือ การรักษาตามสาเหตุ เช่นพิจารณาให้ยา ปฏิชีวนะ เมื่อเกิดจากติดเชื้อแบคทีเรีย หรือ ให้ยาต้านสารพิษถ้าเป็นชนิดมียาต้าน เป็นต้น Vibrio parahaemolyticus
  • 41. การป้องกัน รับประทานอาหารทะเลที่ทาให้สุกและยังร้อนๆ อยู่ เพราะเชื้อมักพบได้ในอาหารทะเล ในบางรายแม้ว่า ทาให้สุกแล้วอาจวางไว้ปะปนกับอาหารทะเลที่ยังไม่ได้ทาให้สุกทาให้เชื้อผ่านจากอาหารดิบไปยังอาหารสุก จึงควรแยกอาหารสุกและดิบออกจากกัน รวมทั้งแยกอุปกรณ์ในการประกอบอาหารหรือทาความสะอาด อุปกรณ์สาหรับอาหารทะเลก่อนนาไปใช้กับอาหารชนิดอื่น และหลีกเลี่ยงการสัมผัสของบาดแผลเปิดกับ น้าทะเลหรือน้ากร่อย Vibrio parahaemolyticus
  • 43. Vibrio gastroenteritis เป็นแบคทีเรียที่ก่อให้เกิด โรคกระเพาะและลาไส้อักเสบ เป็นการอักเสบของ กระเพาะอาหารหรือลาไส้เนื่องจากการติดเชื้อ ซึ่งนาไปสู่อาการ เช่น ท้องเสีย รู้สึกป่วย อาเจียน และปวดในช่องท้อง ถ้าเกิดกับทารกหรือเด็กเล็กก็จะเป็นอันตรายมากขึ้นเพราะล่อแหลมต่อภาวะขาด น้า กระเพาะอาหารและลาไส้อักเสบเป็นการติดเชื้อของลาไส้ ซึ่งมาจากการดื่มหรือรับประทานอาหาร ที่ ปนเปื้อนด้วย เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส หรือ ปรสิต หรือจาก คน ที่มีการติดเชื้อ Vibrio gastroenteritis
  • 44. Vibrio gastroenteritis อาการของโรค ถ่ายเหลวเป็นน้า อาจมีเลือดและเมือก หรือเป็นมันหรือเป็นฟอง อาเจียนปวดท้อง ท้องอืด ปวด มวนท้อง ไม่อยากอาหาร และ เป็นไข้ การวินิจฉัยโรค แพทย์จะทาการซักประวัติ ตรวจร่างกาย ส่งตรวจเลือด และ อุจจาระเพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุของการ ติดเชื้อ
  • 45. Vibrio gastroenteritis การรักษา การดูแลด้วยตัวเองหากมีอาการกระเพาะอาหารและลาไส้อักเสบ ควรพักเป็นเวลาอย่างน้อย 48 ชั่วโมง หรือจนกว่าอาการจะดีขึ้น ดื่มน้า หรือเกลือแร่เพื่อป้องกันภาวะขาดน้า การใช้ยา แพทย์จะ ให้ยาตามอาการ เช่น ถ้ามีอาการปวดท้องจะให้ยาแก้ปวด ถ้ามีถ่ายอุจจาระบ่อยจะให้ยาหยุดถ่าย ถ้ามีอาเจียนจะให้ยาป้องกันอาเจียน การให้ยาปฏิชีวนะขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อที่ตรวจพบ หากมีการ สูญเสียน้ามากอาจจะต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เพื่อให้ สารละลายทางหลอดเลือดดา
  • 46. Plesiomonas Plesiomonas shigelloides เป็นเชื้อแบคทีเรียชนิด Gram-Negative มีรูปร่างเป็นแท่ง ซึ่งปกติพบได้ในน้า ธรรมชาติ ปลา สัตว์น้า (Shellfish) จาพวกปู หอย และกุ้ง และสัตว์ จาพวกวัว ควาย แพะ หมู แมว สุนัข ลิง นกแร้ง งู และคางคก คนมักจะได้รับเชื้อ ชนิดนี้จากการดื่มน้าหรือรับประทานอาหารที่ปนเปื้อน เชื้อนี้เข้าไป หลังจากเชื้อฟักตัวอยู่ในคนประมาณ 20 - 24 ชั่วโมง จะทาให้เกิดอาการไข้ หนาวสั่น ปวดท้อง คลื่นไส้ ท้องเสีย และอาเจียน ซึ่งมักจะมีอาการไม่ รุนแรง บางรายติดเชื้อโดยไม่มีอาการป่วย
  • 47. Aeromonas เชื้อแบคทีเรีย Aeromonas มีหลายชนิด แต่ชนิดที่พบบ่อย และก่อให้เกิดโรคในคนเป็น Aeromonas Hydrophila เป็น แบคทีเรียแกรมลบที่พบได้ในแหล่งน้าทั่วไป แต่แหล่งน้านิ่ง อย่างบึง บ่อน้า บ่อปลา จะพบได้บ่อยกว่า และแน่นอน สัตว์ที่อาศัยในแหล่งเหล่าน้าก็จะมีเชื้อนี้อยู่ด้วย ปกติคนเรา มักจะรับเชื้อนี้เข้าไปในร่างกายโดยทางการกิน คือกลืนเอา น้าจากแหล่งน้าที่มีเชื้อเข้าไปโดยตรง ตัวเชื้อนี้จะก่อให้เกิด โรคในทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย ถ่ายเป็นน้าเยอะ ร่างกายขาดน้า ความดันต่า เสียชีวิตได้ หากไม่ได้รับการรักษาให้ทันท่วงที
  • 48. จัดทำโดย น.ส. ดำรำวรรณ ภูผิวโคก เลขที่ 11 รหัสนักศึกษำ 593045011 น.ส. ทิฆัมพร สิทธิวงศ์ เลขที่ 12 รหัสนักศึกษำ 593045012 น.ส. ธนำนันต์ ดีแก้ว เลขที่ 13 รหัสนักศึกษำ 593045013 นำย ธันยธรณ์ นำมหนอง เลขที่ 14 รหัสนักศึกษำ 593045014 นำย ปฏิภำณ นันตัง เลขที่ 15 รหัสนักศึกษำ 593045015 สำขำ โสตทัศนศึกษำทำงกำรแพทย์ ชั้นปีที่ 2 (หัวหน้า)